Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงานการตรวจราชการ (1)

คู่มือการปฏิบัติงานการตรวจราชการ (1)

Published by fahachara1270, 2021-02-14 02:29:06

Description: คู่มือการปฏิบัติงานการตรวจราชการ (1)

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานการตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก Department of Civil Service Inspection. Department of Land Transport.

คมู่ อื การปฏิบัตงิ าน (Work Manual) คำนำ คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก ฉบับน้ี จัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือผู้ตรวจราชการกรม และบุคลากรของหน่วยสนับสนุนงานตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เป็นระบบ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน และ บุคลากรของหน่วยสนับสนุนงานตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก ได้ทราบเข้าใจลาดับขั้นตอนการทางาน ท่ีชัดเจน (Flow of Step) ทางานทดแทนกันได้ และสามารถเร่ิมปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เม่ือมีการ โยกย้าย หรือสับเปลี่ยนตาแหน่งงาน อีกท้ังยังใช้เป็นเอกสารอ้างอิง เป็นคู่มือในการทางาน หรือเป็นส่ือในการ ประสานงาน เผยแพรใ่ หบ้ คุ คลภายนอกไดเ้ ขา้ ใจ และนาไปสกู่ ารพัฒนาการทางานอยา่ งมืออาชพี อนึ่ง ภารกิจการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก จะสามารถ ดาเนนิ การได้อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพจาเปน็ ต้องไดร้ ับการสนบั สนุนจากเจ้าหน้าทผ่ี ู้รับผิดชอบการดาเนนิ งานท่ีมี ประสิทธิภาพสูง การปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกรม จะต้องประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องเพ่ือ จัดเตรียมข้อมูลพ้ืนฐานในเบื้องต้น เช่น กรอบอัตรากาลัง งบประมาณที่ได้รับ โครงการเร่งด่วนของ กรมการขนส่งทางบก องค์ความรู้ในด้านต่างๆ ให้กับผู้ตรวจราชการกรมเพ่ือสามารถให้คาแนะนาจังหวัด ผู้รับการตรวจได้ ผู้จัดทาจึงได้รวบรวมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ กฎระเบียบต่างๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง เพือ่ เปน็ แนวทางให้เจ้าหน้าทส่ี นับสนนุ การตรวจราชการ กรมการขนสง่ ทางบก มีความพร้อมในการ ปฏิบตั ิงานตรวจราชการไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล ทั้งนี้ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก จะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานสาหรับผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่สนใจ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูล ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะต่างๆ ในการจัดทาคู่มือจนเสร็จ เรยี บรอ้ ยมา ณ โอกาสน้ี คณะผจู้ ดั ทา มกราคม 2562 งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หนา้ ก

คมู่ ือการปฏิบตั ิงาน (Work Manual) สำรบญั หนา้ คานา ก สารบัญ ข วสิ ยั ทัศน/์ พนั ธกจิ /ค่านยิ ม กรมการขนสง่ ทางบก ค แผนภูมิโครงสร้างกรมการขนส่งทางบก ง แผนภมู ิโครงสร้างงานตรวจราชการกรม จ แผนท่ีเขตตรวจราชการ ฉ 1. หลกั การและเหตุผล 1 2. วตั ถุประสงค์ 1 3. คาจากัดความ 2 4. พน้ื ทกี่ ารตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรม 2 5. อานาจหนา้ ที่ของผู้ตรวจราชการ 4 6. ขอบเขตการตรวจราชการ 4 7. วธิ กี ารตรวจราชการ และประเดน็ สาคญั ในการตรวจราชการ 6 8. การรายงานผลการตรวจราชการ 7 9. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 9 10.ข้นั ตอนการจดั ทาตวั ช้วี ดั (KPI) และแนวทางการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของผ้ตู รวจราชการ 14 11. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผชู้ ว่ ยผตู้ รวจราชการกรม 15 ภำคผนวก - ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ.2548 ลงวนั ที่ 11 สงิ หาคม พ.ศ.2548 - คาสง่ั สานกั นายกรฐั มนตรี ท่ี 221/2561 เรื่อง กาหนดพืน้ ที่การตรวจราชการของผูต้ รวจราชการ ลงวันที่ 10 กนั ยายน 2561 - คาสั่งกระทรวงคมนาคม ที่ 236/2561 เร่ืองมอบอานาจให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคม รับผิดชอบการตรวจราชการ และมอบอานาจให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคมส่ังและปฏิบัติราชการแทน ลงวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2561 - คาสั่งกรมการขนส่งทางบก ที่ 798/2561 เร่อื ง มอบหมายใหผ้ ตู้ รวจราชการกรมรับผดิ ชอบประจา เขตตรวจราชการ ลงวนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ.2561 - คาส่งั กรมการขนส่งทางบก ที่ 866/2561 เร่อื ง แผนการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการ กรมการ ขนสง่ ทางบก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 - คาสง่ั กรมการขนส่งทางบก ท่ี 151/2562 เรื่อง มอบหมายให้ผู้ตรวจราชการกรมรับผิดชอบประจา เขตตรวจราชการ - รายชอ่ื ท่ปี รึกษา - รายชอ่ื ผจู้ ดั ทา งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หน้า ข

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน (Work Manual) วสิ ัยทศั น์ : (Vision) กรมกำรขนสง่ ทำงบก เป็นองค์กรแหง่ นวัตกรรมในกำรควบคมุ กำกับ ดแู ลระบบกำรขนส่งทำงถนน ให้มคี ณุ ภำพ และปลอดภัย พ.ศ.2559 - 2564 พันธกิจ : (Mission) 1. พัฒนำระบบควบคุม กำกบั ดแู ล ระบบกำรขนสง่ ทำงถนน ใหไ้ ดม้ ำตรฐำน และมีควำมปลอดภยั 2. พฒั นำนวตั กรรมกำรควบคมุ กำกบั ดูแล ระบบกำรขนสง่ ทำงถนน และบงั คับใช้กฎหมำย 3. พฒั นำและส่งเสริมกำรใหบ้ รกิ ำรระบบกำรขนส่งทำงถนน ให้มี คณุ ภำพ และมสี ำนึกรบั ผิดชอบ 4. บรหิ ำรจดั กำรองค์กรตำมหลักธรรมำภิบำล คำ่ นยิ ม : “ ONE DLT” O (Objective) เป้ำหมำยชัดเจน กำรทำงำนอย่ำงมเี ป้ำหมำยชดั เจนมำตรฐำน อย่ำงมืออำชีพ N (Network) มบี ูรณำกำร โดยบรู ณำกำรเป็นเครือข่ำยท้ังหน่วยงำนภำยใน และภำยนอก E (Eminence) งำนโดดเดน่ เพ่ือควำมมีช่ือเสียง ผลงำนโดดเดน่ และตรงกับ ควำมต้องกำรประชำชน D (Digital Economy) เนน้ นวตั กรรม ด้วยกำรใช้นวตั กรรมอย่ำงเหมำะสมและ ปรับเปลยี่ นให้ทนั สมัยรองรบั เศรษฐกจิ สรำ้ งสรรค์ L (Legitimacy) กำกบั ตำมกฎหมำย เพอื่ ให้เกดิ กำรควบคมุ กำกบั ดแู ล ตำมกฎหมำย ที่เข้มแข็ง T (Transparency) โปรง่ ใส เป็นธรรม รวมถึงกำรปฏบิ ตั ิงำนอยำ่ งโปร่งใส และเป็นธรรม เปำ้ ประสงค์ : 1. กำรขนสง่ สำธำรณะทม่ี ีคุณภำพ 2. รถปลอดภัยและเปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม 3. คนขบั ข่อี ยำ่ งปลอดภยั 4. กำรใหบ้ ริกำรท่เี ปน็ เลิศ 5. กำรเปน็ องค์กรสมรรถนะสงู และมีกำรบรหิ ำรจดั กำรที่ดี งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หนา้ ค

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ าน (Work Manual) แผนภูมโิ ครงสร้ำงกรมกำรขนส่งทำงบก อธบิ ดี กลุ่มตรวจสอบภำยใน ผตู้ รวจรำชกำรกรม กลุ่มพัฒนำระบบบรหิ ำร รองอธบิ ดี ฝำ่ ยบรหิ ำร รองอธิบดี ฝ่ำยปฏบิ ตั กิ ำร รองอธิบดี ฝำ่ ยวชิ ำกำร สานกั งานเลขานุการกรม กองตรวจการขนสง่ ทางบก กองแผนงาน กองการเจา้ หนา้ ท่ี สานกั กฎหมาย สานกั มาตรฐานงานทะเบยี น สานักการขนส่งสนิ คา้ สานักการขนสง่ ผู้โดยสาร และภาษรี ถ สานกั วิศวกรรมยานยนต์ สานกั บรหิ ารการคลงั และรายได้ สานักสวสั ดภิ าพการขนส่งทางบก สานักงานขนส่งกรุงเทพมหานคร ศนู ย์โทคโนโลยีสารสนเทศ พ้นื ที่ 1 - 5 สานกั งานขนส่งจงั หวดั สานักงานขนส่งสาขาอาเภอ สถานขี นสง่ ผ้โู ดยสาร หมำยเหตุ : สำนกั งำนขนสง่ จังหวัด รองอธบิ ดฝี ่ายบรหิ าร รองอธบิ ดีฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร รองอธบิ ดีฝา่ ยวชิ าการ สานกั งานขนสง่ จังหวดั ในส่วนงานสนับสนนุ สานกั งานขนส่งจังหวัดในสว่ นงานบริการ สานกั งานขนสง่ จังหวัดในสว่ นงาน วิชาการ งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หนา้ ง

คูม่ อื การปฏบิ ัติงาน (Work Manual) แผนภมู ิโครงสร้ำงงำนตรวจรำชกำรกรม งำนตรวจรำชกำรกรม ข้ำรำชกำร จำนวน 9 อตั รำ ( หน.ตรข. 1 ตรข. 8) ชอ่ื สายงาน ตรวจรำชกำรกรม ช่ือตาแหนง่ ผตู้ รวจรำชกำรกรม ตาแหน่งประเภท อำนวยกำรระดบั ตาแหน่ง สูง หนำ้ ทีค่ วำมรับผดิ ชอบ งำนท่ีดำเนนิ กำร 1. ชแ้ี จง แนะนา หรอื ทาความเขา้ ใจกบั หน่วยงานของรัฐและ 1. พจิ ารณาจัดทาแผนตรวจราชการประจาปี เจา้ หนา้ ที่ของรฐั เกี่ยวกบั แนวทางและการปฏิบตั ิงานหรือการจัดทา 2. ตรวจราชการกรณปี กติ ภารกิจตามนโยบายของรัฐบาล และแผนงานต่างๆของชาติและ หน่วยงานของรฐั 2.1 ตรวจติดตามการปฏิบัติงานตามคารับรองการปฏิบัติ 2. ตรวจติดตามวา่ หนว่ ยงานของรฐั ไดป้ ฏบิ ัตถิ ูกตอ้ งตามกฎหมาย กฎ ราชการของกรมการขนสง่ ทางบก ประจาปงี บประมาณ ระเบียบ ขอ้ บังคับ ประกาศ มติของคณะรฐั มนตรี และคาสั่งของ นายกรฐั มนตรี และเปน็ ไปตามความมุ่งหมาย วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย 2.2 ตรวจติดตามการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ในด้านต่างๆ และผลสัมฤทธ์ติ ามนโยบายของรฐั บาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ของกรมการขนสง่ ทางบก สังคมแหง่ ชาติ แผนการบริการราชการแผ่นดิน แผนหรอื ยุทธศาสตร์ใดๆ ทก่ี าหนดยุทธศาสตร์ชาติ หรอื วาระแห่งชาติ 2.3 การตรวจติดตามงานนโยบายท่ีสอดคล้องกับแผนการ 3. ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ปญั หา และอปุ สรรค รวมท้งั ประเมิน ตรวจราชการของสานกั นายกรัฐมนตรี และกระทรวงคมนาคม ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล และความคมุ้ ค่าในการปฏิบัติงานหรือการ 3. ตรวจประเมินตามโครงการพัฒนายกระดับสานักงานขนส่ง จัดทาภารกิจของหนว่ ยงานของรฐั จงั หวดั 4. สดับตรบั ฟังทกุ ขส์ ขุ ความคดิ เห็น และความตอ้ งการของเจ้าหน้าท่ี 4. ตรวจความพร้อมในการรณรงค์ป้องกันลดอุบัติเหตุในช่วง ของรฐั และประชาชน เทศกาลตา่ งๆ 5. แสวงหาข้อเท็จจริง สอบข้อเท็จจริง สืบสวนสอบสวน หรือสดับ 5. นาเสนอรายงานผลการตรวจราชการ โดยสรุปให้เหน็ ถึงสภาพ ตรับฟังเหตุการณ์ เม่ือได้รับการร้องเรียน หรือมีเหตุอันสมควร โดย ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจราชการ ปัญหาอุปสรรค รวมท้ัง ประสานการดาเนนิ งานกับหน่วยงานตรวจสอบอืน่ ๆ เพื่อแกไ้ ขปญั หา ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข และเม่ือส้ินปีงบประมาณให้ ความเดือดร้อนของประชาชนหรือปัญหาอุปสรรคของหน่วยงานของ ผตู้ รวจราชการกรมรวบรวมรายงานผลการตรวจราชการประจาปี รฐั หรอื เจา้ หน้าทีข่ องรฐั โดยจัดทาเป็นภาพรวมของการตรวจราชการ เพ่ือกรมการขนส่ง 6. ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการตรวจและรายงาน ทางบกจะได้นาไปเป็นข้อมูลประกอบการกาหนดนโยบาย ผู้บงั คับบัญชาเพื่อทราบ แผนงาน โครงการ หรืองานในความรบั ผิดชอบ 7. เรยี กประชมุ เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐเพอื่ ชีแ้ จง แนะนา หรือปรกึ ษาหารอื 6. สืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง หรือสอบสวนทางวินัย ตามที่ ร่วมกนั ได้รับมอบหมาย และให้มีอานาจเรียกบุคคล เอกสาร พยานหลักฐานจากหน่วยงานมาตรวจสอบ สอบถามข้อเท็จจริง ความเหน็ และอ่นื ๆ 7. เข้าร่วมประชุมในหน่วยงานหรือหน่วยงานอื่น ตามท่ีอธิบดี มอบหมาย งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หนา้ จ

คู่มือการปฏิบัตงิ าน (Work Manual) แผนทีเ่ ขตตรวจรำชกำร งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หน้า ฉ

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) คู่มือการปฏิบตั งิ าน งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก 1. หลกั การและเหตุผล ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 เพ่ือให้ประเทศบรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งเป้าหมายไว้ คือประเทศชาติมีความม่ันคงประชาชน มีความสุข ซึ่งยุทธศาสตร์ของกระทรวงคมนาคมและกรมการขนส่งทางบกจะเป็นกลไกสนับสนุนในการดาเนนิ ยุทธศาสตร์ชาตใิ หส้ มั ฤทธผิ์ ล กรมการขนส่งทางบก มีภารกิจในด้านการจัดระเบียบ พัฒนาและส่งเสริมการขนส่งและการ สัญจรทางถนนให้มีความปลอดภัย สะดวกรวดเร็วเป็นธรรม คุ้มค่าทางเศรษฐกิจและเชื่อมโยงกับระบบการขนส่ง รูปแบบอ่ืน รวมทั้งประเทศเพื่อนบ้านด้านการศึกษาและกากับดูแลด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือให้ การขนส่งทางบก เกิดความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว ท่ัวถึง และปลอดภัย และด้านให้บริการประชาชน ดว้ ยความสะดวก รวดเร็ว เปน็ ธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ การตรวจราชการเป็นมาตรการสาคัญที่จะทาให้การปฏิบัติราชการ หรือภารกิจของกรมการ ขนส่งทางบก บรรลุเป้าหมาย แก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน นอกจากนี้ระบบการตรวจราชการแนวใหม่ จะเป็นการตรวจราชการแบบบูรณาการเชิงรุก โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ และมีส่วนรว่ ม มีเปา้ ประสงค์ทสี่ าคัญทีจ่ ะผลักดันให้เกดิ การบูรณาการและการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของการ กากับดูแล และการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ อันจะนาไปสู่การบรรลุผลตามเจตนารมณ์ตามหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองท่ีดี รวมทั้งเสริมสร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจต่อสาธารณชนต่อการดาเนินการตาม นโยบาย ยุทธศาสตร์ และผลงานของส่วนราชการว่าได้มีการตรวจสอบ กากับดูแล อย่างมีประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และความคุม้ ค่า ประกอบกับในยุค Thailand 4.0 ไดป้ รับเปลี่ยนเศรษฐกจิ จากเดิมไปส่เู ศรษฐกิจ ที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม การปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรงานตรวจราชการจึงต้องมีมาตรฐานในการปฏิบัติ หน้าท่ี และมีความเชี่ยวชาญเปน็ มอื อาชีพ ดงั น้ัน เพอื่ ให้การดาเนนิ การดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลสาเร็จในการปฏิบัติ ราชการ งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก จึงได้จดั ทาคมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน (Work Manual) ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ คู่มือการปฏิบตั ิงาน งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก จัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ผตู้ รวจราชการ และบุคลากรของหน่วยสนบั สนนุ งานตรวจราชการ กรมการขนสง่ ทางบก ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านทชี่ ดั เจน เป็นระบบ และเปน็ มาตรฐานเดียวกัน 2. ผู้ตรวจราชการ และบุคลากรของหน่วยสนับสนุนงานตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก ไดท้ ราบเข้าใจลาดบั ขั้นตอนการทางานทชี่ ัดเจน (Flow of Step) 3. ให้บุคลากรของหน่วยสนับสนุนงานตรวจราชการ ทางานทดแทนกันได้ และสามารถ เร่ิมปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง รวดเรว็ เม่ือมกี ารโยกย้าย หรือสับเปลย่ี นตาแหน่งงาน 4. ใช้เป็นเอกสารอ้างอิง เป็นคู่มือในการทางาน หรือเป็นส่ือในการประสานงาน เผยแพร่ให้ บุคคลภายนอกได้เข้าใจ และนาไปสกู่ ารพัฒนาการทางานอย่างมืออาชีพ งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หนา้ 1

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) 3. คาจากัดความ การตรวจราชการ หมายถงึ การตรวจ ตดิ ตามผล เร่งรดั แนะนา สบื สวน สอบสวน สอบข้อเทจ็ จรงิ สดบั ตรับฟงั เหตุการณ์ เสนอแนะ ติดต่อประสานงานตรวจเย่ียมหรือดาเนินการอื่นใดเพื่อให้การปฏิบัติงานของ หน่วยงาน และเจา้ หน้าที่ของรัฐได้ผลสมประโยชนข์ องทางราชการ ผู้ตรวจราชการกรม หมายถึง ผู้ตรวจราชการกรมการขนส่งทางบก รับผิดชอบ และมีอานาจ หน้าที่ในการตรวจราชการเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เฉพาะใน ขอบเขตและอานาจหน้าท่ีของกรมการขนส่งทางบก ในฐานะผู้สอดส่องดูแลแทนอธิบดีกรมการขนส่งทางบก ผู้ตรวจราชการกระทรวง หมายถึง ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคม รับผิดชอบและมี อานาจหน้าที่ในการตรวจราชการเก่ียวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของกระทรวงคมนาคม เฉพาะในขอบเขตอานาจหน้าที่ของกระทรวงคมนาคม ในฐานะผู้สอดส่องดูแลแทนรัฐมนตรวี า่ การกระทรวง รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง และปลดั กระทรวง หน่วยรับตรวจ หมายถึง หน่วยงานในสังกัดกรมการขนส่งทางบก ที่อยู่ในเขตตรวจราชการ สว่ นกลางกรุงเทพมหานคร และสว่ นภูมภิ าคท้ัง 18 เขต ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกรม หมายถึง ข้าราชการผู้ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นผ้ชู ่วยในการตรวจราชการ หรอื เลขานกุ ารของผู้ตรวจราชการกรม 4. พนื้ ที่การตรวจราชการของผตู้ รวจราชการ คาสง่ั สานักนายกรัฐมนตรี ท่ี 221/2561 ลงวันที่ 10 กันยายน 2561 กาหนดพ้ืนทก่ี าร ตรวจราชการของผตู้ รวจราชการ ดงั นี้ เขตตรวจราชการสว่ นกลาง กรุงเทพมหานคร เขตตรวจราชการท่ี 1 กลมุ่ จังหวดั ภาคกลางตอนบน จงั หวดั ชัยนาท จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา จังหวัดลพบรุ ี จงั หวัดสระบรุ ี จังหวดั สิงห์บุรี จงั หวัดอา่ งทอง เขตตรวจราชการท่ี 2 กลุม่ จงั หวดั ภาคกลางปริมณฑล จงั หวดั นนทบุรี จังหวดั ปทุมธานี จงั หวัดนครปฐม จงั หวดั สมุทรปราการ เขตตรวจราชการท่ี 3 กลมุ่ จังหวัดภาคกลางตอนลา่ ง 1 จงั หวดั กาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี จงั หวัดสพุ รรณบุรี เขตตรวจราชการท่ี 4 กลมุ่ จังหวดั ภาคกลางตอนลา่ ง 2 เขตตรวจราชการท่ี 5 จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ จงั หวัดเพชรบรุ ี จงั หวดั สมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสาคร กล่มุ จงั หวดั ภาคใต้ฝ่งั อา่ วไทย จงั หวดั ชุมพร จังหวดั นครศรีธรรมราช จงั หวัดพัทลงุ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั สงขลา งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หน้า 2

คมู่ อื การปฏิบตั งิ าน (Work Manual) เขตตรวจราชการที่ 6 กลมุ่ จงั หวัดภาคใตฝ้ ง่ั อนั ดามัน จังหวดั กระบี่ จังหวดั ตรงั จงั หวัดพังงา จงั หวดั ภเู ก็ต เขตตรวจราชการท่ี 7 จังหวดั ระนอง จงั หวัดสตลู เขตตรวจราชการที่ 8 เขตตรวจราชการที่ 9 กล่มุ จังหวัดภาคใต้ชายแดน เขตตรวจราชการที่ 10 จังหวดั นราธวิ าส จังหวดั ปัตตานี จงั หวดั ยะลา เขตตรวจราชการท่ี 11 เขตตรวจราชการที่ 12 กลมุ่ จงั หวัดภาคตะวนั ออก 1 เขตตรวจราชการที่ 13 จังหวัดฉะเชิงเทรา จงั หวัดชลบุรี จังหวัดระยอง เขตตรวจราชการที่ 14 กลมุ่ จังหวัดภาคตะวันออก 2 เขตตรวจราชการท่ี 15 จงั หวดั จนั ทบุรี จงั หวดั ตราด จงั หวดั นครนายก เขตตรวจราชการที่ 16 จงั หวดั ปราจีนบุรี จงั หวัดสระแก้ว เขตตรวจราชการที่ 17 กลุ่มจงั หวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน 1 เขตตรวจราชการท่ี 18 จังหวดั บึงกาฬ จังหวดั เลย จังหวัดหนองคาย จงั หวัดหนองบวั ลาพู จังหวัดอุดรธานี งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก กลุ่มจังหวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน 2 จงั หวัดนครพนม จงั หวดั มุกดาหาร จังหวดั สกลนคร กลุ่มจังหวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนกลาง จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ จังหวดั ขอนแก่น จังหวดั มหาสารคาม จังหวัดรอ้ ยเอด็ กลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 จงั หวดั ชัยภูมิ จงั หวดั นครราชสมี า จงั หวดั บุรรี มั ย์ จงั หวัดสุรนิ ทร์ กลุ่มจงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 จงั หวดั ยโสธร จังหวัดศรสี ะเกษ จังหวัดอานาจเจริญ จงั หวัดอบุ ลราชธานี กลุ่มจงั หวัดภาคเหนอื ตอนบน 1 จงั หวัดเชยี งใหม่ จังหวดั แม่ฮ่องสอน จังหวดั ลาปาง จงั หวดั ลาพนู กลมุ่ จังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 จังหวัดเชียงราย จังหวดั น่าน จังหวดั พะเยา จังหวัดแพร่ กลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 1 จงั หวดั ตาก จังหวดั พษิ ณโุ ลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จงั หวัดสุโขทัย จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ กล่มุ จังหวัดภาคเหนือตอนลา่ ง 2 จังหวัดกาแพงเพชร จงั หวดั นครสวรรค์ จงั หวัดพจิ ิตร จงั หวดั อทุ ัยธานี หน้า 3

คูม่ อื การปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) 5. อานาจหน้าท่ีของผู้ตรวจราชการ ผู้ตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก มอี านาจหน้าท่ีดงั ตอ่ ไปนี้ 1. สัง่ เปน็ ลายลกั ษณ์อักษรให้ผรู้ ับการตรวจปฏิบตั ิในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั ประกาศ มตขิ องคณะรฐั มนตรี หรอื คาสง่ั ของนายกรัฐมนตรี 2. ส่ังเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้รับการตรวจปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติในเรื่องใดๆ ในระหว่าง การตรวจราชการไว้ก่อน หากเห็นว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการหรือประโยชน์ของประชาชน อย่างร้ายแรง และเมื่อไดส้ ง่ั การดังกลา่ วแล้ว ใหร้ ายงานผบู้ ังคบั บัญชาเพ่อื ทราบหรอื เพื่อพจิ ารณาโดยด่วน 3. ส่ังให้หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ชี้แจงให้ถ้อยคาหรือส่งเอกสารและหลักฐานเกี่ยวกับการ ปฏิบตั งิ านเพือ่ ประกอบการพิจารณา 4. สืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง หรือรับฟังเหตุการณ์ เม่ือได้รับการร้องเรียนหรือเมื่อมีเหตุ อันสมควรโดยประสานการดาเนินงานกับหน่วยงานตรวจสอบอ่ืนๆ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน หรอื ปญั หาอปุ สรรคของหนว่ ยงานหรอื เจ้าหนา้ ที่ 5. ประเมินผลการปฏิบัตริ าชการของผรู้ ับการตรวจ และรายงานผู้บงั คบั บญั ชาเพอ่ื ทราบ 6. เรียกประชุมเจ้าหนา้ ทีเ่ พื่อช้ีแจง แนะนา หรือปรกึ ษาหารือร่วมกัน 7. ในกรณีท่ีผู้ตรวจราชการกรมส่ังตามข้อ 2 ให้ผู้รับการตรวจปฏิบัติตามคาส่ังนั้นโดยพลัน ในกรณีที่ผู้รับการตรวจไม่สามารถปฏิบัติตามคาส่ังดังกลา่ วได้ ให้ผู้รับการตรวจช้ีแจงขอ้ ขัดข้องพร้อมเหตุผลให้ ผู้ตรวจราชการกรมทราบ และใหผ้ ู้ตรวจราชการกรมรายงานผบู้ งั คับบัญชาเพอื่ พิจารณาสัง่ การต่อไป 8. ในการตรวจราชการให้ผู้ตรวจราชการกรมถือปฏิบัติตามระเบียบและธรรมเนียมของทาง ราชการ และมาตรฐานในการปฏิบัติหน้าที่จริยธรรมของผู้ตรวจราชการตามหมวด 4 ของระเบียบสานัก นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการตรวจราชการ พ.ศ.2548 ด้วยจิตสานกึ ในความมีคณุ ธรรมจริยธรรม 6. ขอบเขตการตรวจราชการ 1. ช้ีแจง แนะนา หรือทาความเข้าใจกับหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติงาน หรือการจดั ทาภารกจิ ตามนโยบายของรัฐบาล กระทรวง และกรมการขนส่งทางบก 2. ตรวจติดตามให้หน่วยงานได้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ มติคณะรัฐมนตรี และคาส่ังของนายกรัฐมนตรี และเป็นไปตามความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์เป้าหมายและ ผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนหรือยทุ ธศาสตร์ใดๆ ท่ีกาหนดเปน็ ยทุ ธศาสตรช์ าติหรอื วาระแห่งชาติ 3. ติดตามความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพใหบ้ ริการ และการพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน 4. รบั ฟังทุกข์ สุข ความคดิ เหน็ และความตอ้ งการของเจ้าหนา้ ท่ีและประชาชน 5. แสวงหาขอ้ เท็จจริง หรอื สบื สวน สอบสวนเกีย่ วกับเหตกุ ารณ์หรือสถานการณใ์ นพนื้ ท่ี 6. ตรวจราชการเก่ียวกับการปฏิบัติราชการของหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีในขอบเขตอานาจ หน้าท่ีของสานัก/กอง ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวมท้ังแผนงาน/โครงการในพื้นท่ีในฐานะผู้สอดส่อง ดูแล แทนอธบิ ดี งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หนา้ 4

ค่มู ือการปฏิบัตงิ าน (Work Manual) นโยบายของรัฐบาลได้กาหนดให้มีระบบการตรวจราชการท่ีเน้นการทางานเชิงรุกและ สร้างสรรค์เพ่ือพัฒนากระบวนงาน และผลสัมฤทธ์ิของการบริหารราชการแผ่นดิน ป้องกันและลดความเสี่ยง ของความเสียหายผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึน พยามยามกระตุ้นให้ผู้บริหารเกิดความสนใจในการปรับปรุงและ เปล่ียนแปลงการดาเนินงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง และโดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายได้เข้ามา มีส่วนร่วมใน กระบวนการตรวจราชการ งานตรวจราชการ จึงได้ปรับรูปแบบการตรวจราชการ โดยมุ่งเน้นไปท่ีการตรวจราชการแบบ บรู ณาการเพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายดังกล่าวคือ ร่วมคดิ โดยการวางแผนการตรวจราชการดว้ ยหลักคดิ เดยี วกนั รว่ มตรวจ โดยกาหนดประเด็นการตรวจราชการเดยี วกนั รว่ มให้ขอ้ เสนอแนะ โดยมุ่งเปา้ ไปที่การชะลอความเส่ยี งเชิงยทุ ธศาสตร์ รว่ มกันกาหนดให้มี การตรวจราชการ 3 กรณี 1. การตรวจราชการแบบบูรณการ เป็นการตรวจราชการร่วมกับผู้ตรวจราชการ กระทรวง คมนาคม โดยเนน้ การประสานงานระหวา่ งส่วนราชการ 2. การตรวจราชการกรณีปกติมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ เป็นการตรวจติดตามมุ่งเน้นผลสาเร็จของ ตัวช้ีวัดตามท่ีกาหนดในแผนการตรวจราชการประจาปี ซ่ึงเป็นผลงานเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยจะต้อง วิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงกลยุทธ์/ปัจจัยท่ีทาให้ผลงานสาเร็จหรือสาเหตุของปัญหา/ปัจจัยความเส่ียง ที่มี ผลกระทบต่อการดาเนินงานไม่เปน็ ไปตามเป้าหมายทีก่ าหนด นาเสนอสภาพปัญหาของแต่ละงาน พร้อมท้งั การ ดาเนินการแก้ไขปัญหาท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพปัญหาของพื้นที่นั้นๆ ตลอดจนติดตามผลการ ปฏิบัติงานของหน่วยรับการตรวจได้แก่ แผนงาน/โครงการ ดงั นี้ 2.1 แผนงาน/โครงการที่เป็นภารกิจหลกั ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 2.2 แผนงาน/โครงการท่ีเป็นภารกจิ สนบั สนนุ 2.3 แผนงานอืน่ ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมายและงานตามนโยบายเรง่ ด่วน 3. การตรวจราชการกรณีพิเศษ เป็นการตรวจติดตามเพ่ือให้ทราบข้อเท็จจริงในเรื่องที่ได้รับ การรอ้ งเรียนหรือได้รบั มอบหมาย 3.1 เร่ืองท่ีได้รับการร้องขอจากหน่วยงาน ให้ช่วยเหลือสนับสนุนหรือประสานการ ปฏิบัติงานตามนโยบาย แผนงาน งานและโครงการที่ดาเนินการอยู่ แต่มีปัญหาข้อขัดข้องซ่ึงไม่สามารถแก้ไข หรอื ดาเนินการให้แล้วเสร็จไดต้ ามขั้นตอนปกติ สมควรไดร้ บั การแก้ไขหรือสนับสนุนจากหน่วยงานบังคับบัญชา ทส่ี งู กว่า 3.2 เร่ืองทปี่ ระชาชนร้องเรยี นขอความเปน็ ธรรมหรือขอความช่วยเหลอื เพื่อคลี่คลาย หรอื แก้ไขความเดอื ดรอ้ น 3.3 เรื่องท่เี กีย่ วกับสภาพการณ์หรอื เหตุการณส์ าคญั จาเป็นทรี่ ฐั บาลหรอื หนว่ ยงานต้องเข้าไป ดาเนินการชว่ ยเหลือและแกไ้ ขให้ทนั เหตกุ ารณ์ 3.4 เรอ่ื งอื่นๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หนา้ 5

คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน (Work Manual) 7. วธิ กี ารตรวจราชการ และประเด็นสาคัญในการตรวจราชการ รอบการตรวจที่ 1 นานโยบายท่สี าคญั ระเบียบ คาส่งั ขอ้ ส่ังการตา่ งๆ ช้แี จงให้หนว่ ยรบั การ ตรวจทราบเพ่ือปฏิบัติ รับฟังการบรรยายสรุปแผนงาน/โครงการจากหน่วยรับการตรวจ เพื่อรับทราบ สถานการณ์ ปัญหาของการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการในพื้นท่ีและตรวจสอบทาน รวมท้ังวิเคราะห์ ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงาน และป้องกันความเสี่ยงโดยอธิบายเหตุผลประกอบ เพื่อเป็นการ ตรวจติดตาม พิสูจน์ สอบทานความเสี่ยงที่เป็นสาเหตุของปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานและให้ ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ งาน รอบการตรวจท่ี 2 ตรวจติดตามความก้าวหน้าของหน่วยรับการตรวจ ในเร่ืองการนา ข้อเสนอแนะไปสู่การปฏิบัติจริง ประเมินความเสี่ยงเพิ่ม(ถ้ามี) ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ วิเคราะห์ปัจจัยท่ีทาให้ผลงานที่สาเร็จหรือไม่สาเร็จ สรุปเหตุผล หลักฐานสนับสนุนโดยพิจารณาจากเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐและให้ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข เพื่อเพิ่มขดี สมรรถนะในการทางาน รอบการตรวจที่ 3 ตรวจประเมินผลสาเร็จ สรุปผลสัมฤทธ์ิตามตัวช้ีวัดในแผนการตรวจราชการ และแนวทางการดาเนินงานท่ีทาให้ผลงานสาเร็จตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ตลอดจนประเมินผลการปฏิบัติงานของ สานักงานขนส่งจังหวัด/สาขา ท้งั กระบวนการและผลลัพธ์ใน 4 ประเด็น ไดแ้ ก่ ด้านระบบงานบริการ ด้านบุคลากร ด้านอาคารสถานท่ีและด้านอื่น ๆ เชน่ การแสดงบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคม การบรหิ ารงบประมาณ ผู้ตรวจราชการกรม ตรวจติดตามการปฏิบัติงานในทุกจังหวัดตามพื้นท่ีเป้าหมายท่ีดาเนินการ ในปงี บประมาณ โดยตรวจติดตาม 3 รอบ/ปี ตามปีปฏทิ นิ รอบท่ี วิธีการตรวจ ระยะเวลา (ช่วงระหว่างเดอื น) ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. นานโยบายทส่ี าคญั ระเบยี บ คาสัง่ ขอ้ ส่งั การตา่ งๆ ชแ้ี จงให้ หนว่ ยรบั การตรวจทราบเพ่อื ปฏบิ ัติ 2. ตรวจตดิ ตามความก้าวหน้าของ หนว่ ยรับการตรวจในเรอ่ื งการนา ข้อเสนอแนะไปสู่การปฏิบตั จิ รงิ 3. ตรวจประเมนิ ผลสาเร็จสรปุ ผล สัมฤทธ์ติ ามตัวชว้ี ดั ในแผนการ ตรวจราชการ ตลอดจน ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของ สานักงานขนสง่ จังหวัด หมายเหตุ : ระยะเวลาเปล่ียนแปลงไดต้ ามความจาเปน็ และเหมาะสม งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หนา้ 6

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน (Work Manual) 8. การรายงานผลการตรวจราชการ เมื่อผู้ตรวจราชการกรมเสร็จส้ินการตรวจราชการในแต่ละคราวให้รายงานผลการตรวจ ราชการ ดังนี้ 1. จัดทารายงานผลการตรวจราชการตามแผนงาน/โครงการ รายงานต่ออธิบดีเพื่อทราบ หรือพิจารณาส่งั การ แล้วแต่กรณี 1.1 กรณีตรวจไม่พบปัญหาหรือพบ แต่เป็นปัญหาที่ไม่เร่งด่วน ให้ผู้ตรวจราชการกรม พิจารณาประมวลผล วเิ คราะห์ และรายงานผลการตรวจติดตามของแผนงาน/โครงการให้อธิบดีทราบเสร็จแล้ว ให้งานตรวจราชการกรมรวบรวมเพ่อื จัดทารายงานภาพรวมเสนออธิบดีเปน็ รายรอบต่อไป 1.2 กรณีตรวจพบปัญหาท่ีเร่งด่วน ซึ่งสมควรให้หน่วยงานที่รับผิดชอบหรือหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา ให้ผู้ตรวจราชการกรมสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ผู้รับการตรวจปฏิบัติหรือ งดเว้นการปฏบิ ัตงิ านใดๆ ในระหวา่ งการตรวจราชการไวก้ อ่ น เม่ือผตู้ รวจราชการกรมไดส้ งั่ การดงั กล่าวแลว้ ให้ รายงานอธบิ ดเี ปน็ การเฉพาะเรื่องได้ 1.3 ในการตรวจราชการ หากมีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องรายงานหรือขอคาวินิจฉัย สั่งการจากผู้มีอานาจ ให้ผู้ตรวจราชการกรมดาเนินการโดยพลันทางโทรศัพท์ หรือเคร่ืองมือส่ือสารอ่ืนและให้ บันทกึ การดาเนินการดงั กล่าวไว้ในรายงานผลการตรวจราชการด้วย 1.4 ในการรายงานผลการตรวจราชการ ให้จัดทาโดยสรุปให้เห็นถึงสภาพตามวัตถุประสงค์ ของการตรวจราชการ พร้อมท้งั ปญั หาหรืออุปสรรค โดยจะเสนอแนะแนวทางแกไ้ ขดว้ ยก็ได้ ในกรณีทไี่ ด้แนะนา หรือส่งั การดว้ ยวาจา ใหส้ รปุ คาแนะนาและการส่งั การน้ันไว้ในรายงานด้วย 1.5 กรณไี ปตรวจตดิ ตามแบบบรู ณาการรว่ มกับกระทรวง หรอื หนว่ ยงานของรฐั ให้ผู้ตรวจ ราชการกรมจดั ทารายงานผลการตรวจตดิ ตามเสนออธิบดีเพ่อื ทราบ 2. การรายงาน 2.1 ผู้ตรวจราชการกรมจะต้องรายงานผลการตรวจราชการตามที่กาหนดไว้ในระเบียบ สานกั นายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 หมวด 3 การรายงานและการดาเนนิ การตามผลการ ตรวจราชการ 2.2 งานตรวจราชการกรมจะประมวลผลรายงานผลการตรวจติดตามของผู้ตรวจราชการ กรมเสนอใหอ้ ธิบดที ราบเปน็ รายรอบ 2.3 เมื่อสิ้นปีงบประมาณ งานตรวจราชการกรมดาเนินการประมวลรายงานผลการตรวจ ติดตามของผู้ตรวจราชการกรม เพ่ือจัดทาเป็นภาพรวมของแต่ละแผนงาน/โครงการ ตามที่กาหนดไว้ ในแผนการตรวจราชการประจาปี โดยแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้า ความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรคในการ ดาเนินการตลอดจนผลกระทบที่มี รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาท่ีเหมาะสมและเป็นไปได้เพ่ือใช้ เปน็ แนวทางประกอบการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยส่งั การของผู้บริหาร งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หน้า 7

คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน (Work Manual) แผนภาพ ขั้นตอนการรายงานผลการตรวจราชการกรมของผู้ตรวจราชการกรมการขนส่งทางบก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. หน่วยรับตรวจ download แบบรายงานผลการ หนว่ ยรับตรวจเข้ารับ สมดุ ตรวจราชการ โดยระบุ รายงานการตรวจฯ ผา่ น ปฏิบัตงิ านตาม การประเมินการปฏบิ ัติ สาระสาคัญ ดงั น้ี แผนการตรวจราชการ 1. วนั เดือน ปี ที่ตรวจ ทางเวบ็ ไซต์กรมฯ ราชการ 2. กิจกรรมหรือวตั ถุประสงค์ทต่ี รวจ 3. ขอ้ เสนอแนะหรือการสงั่ การ (http:intranet.dlt.go.th) ตรข.ให้ข้อสัง่ การ/ 4. การดาเนินการของผู้ตรวจ ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกต หัวขอ้ หนงั สอื เวียนจาก ดาเนินการใหแ้ ล้วเสร็จ งานตรวจราชการ MRP 1 ภายใน 7 วนั MRP 1 กรณี หน่วยรับตรวจ จัดทารายงานผลการ ได้รับจดั สรรงบประมาณ ปฏบิ ตั ิงานตามแบบ โครงการกอ่ สรา้ ง จดั ส่ง รายงานความคืบหนา้ รายงานผลการ ปฏิบัติงานฯ ส่งรายงานฯ ทุกวันที่ 10 ของเดอื น หน่วยรับตรวจจัดส่งรายงานฯ ให้ ตรข. ผา่ นทาง E-mail : [email protected] ตรข. พจิ ารณารวบรวมรายงานผล การตรวจราชการ และขอ้ สงั่ การ/ ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกต (รอบ 6 เดือน กับ 12 เดอื น) นาเสนอรายงานฯ ต่อ อธบิ ดี กรมการขนสง่ ทางบก พิจารณา ใหค้ วามเห็นชอบ และลงนาม หมายเหตุ : นาเสนอผลรายงานฯ ต่อ กระทรวงคมนาคม เพอ่ื โปรดทราบต่อไป แทน สัญลักษณ์แสดงการบันทึกข้อมูลหรือลายลักษณ์อักษร งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หนา้ 8

คู่มอื การปฏิบัติงาน (Work Manual) 9. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 9.1 ข้ันตอนการจัดทาแผนการตรวจราชการ ของผ้ตู รวจราชการกรม ประจาปีงบประมาณ ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 ได้กาหนดให้ หัวหน้างานของรัฐและผู้ตรวจราชการร่วมกันจัดทาให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคมของปีงบประมาณน้ัน ซ่ึง มีข้ันตอนการดาเนินงาน ดังน้ี 1. งานตรวจราชการกรมดาเนินการจัดทาหนังสือเวียน เรื่อง การจัดทาแผนการตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. แจ้งให้ทุกหน่วยงานที่สังกัดกรมการขนส่งทางบก พิจารณาคัดเลือกและจัดส่งแผงงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่สาคัญซึ่งเกี่ยวข้องกับหน่วยงานในส่วนภูมิภาค และประสงค์จะให้ผู้ตรวจราชการกรมเร่งติดตามดาเนินงาน 2. ทุกหน่วยงานทาการจัดส่งรายละเอียดข้อมูล แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จานวน 1 ชุด พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลดังกล่าวลงในแผ่นดิสก์ ทั้งนี้ให้แนบหนังสือสั่งการให้หน่วยงานในส่วนภูมิภาค ดาเนินการ (ถ้ามี) และจัดส่งข้อมูลดังกล่าวให้งานตรวจราชการกรมภายในวันที่กาหนด 3. งานตรวจราชการกรมดาเนนิ การรวมรวบข้อมลู และทาการวเิ คราะห์ แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม เพื่อพิจารณากาหนดแนวทาง วิธีการ และข้ันตอนไว้ในร่างแผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 4. นาเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมต่อคณะผู้ตรวจราชการกรม เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบกาหนดบรรจใุ นแผนการตรวจราชการของผตู้ รวจราชการกรม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 5. นาเสนอแผนการตรวจราชการกรมการขนส่งทางบก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ต่ออธบิ ดีกรมการขนส่งทางบก เพ่อื พิจารณาให้ความเห็นชอบ และนาเรยี นปลัดกระทรวงคมนาคม เพ่อื โปรดทราบ 6. พิจารณากาหนดระยะเวลาการตรวจราชการ แบบรายงานผลการปฏิบัติราชการ และแนวทางการรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานตามแผนการตรวจราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 7. แจ้งเวียนแผนการตรวจราชการกรมการขนส่งทางบก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ให้หนว่ ยงานในส่วนกลางและสว่ นภมู ิภาคฯ (สานกั งานขนส่งจงั หวัด) ทุกแหง่ ไดร้ บั ทราบและถอื ปฏบิ ัติ งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หน้า 9

คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) แผนปฏิบัติงานตามแผนการตรวจราชการของกรมการขนส่งทางบก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ระยะเวลาดาเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. กิจกรรม พ.ศ. พ.ศ. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค . 1. จดั ทาแผนการตรวจราชการ และกาหนดแนวทางการตรวจ ราชการประเด็นการตรวจ ราชการในระดบั สว่ นกลางและ ส่วนภมู ิภาค 2. ประสานการตรวจราชการ กบั หนว่ ยงานสว่ นภมู ภิ าค (สขจ.) ทุกแห่ง 3. การตรวจตดิ ตามและเรง่ รัด การปฏบิ ตั ิของหน่วยงานในส่วน ภมู ภิ าคและเขตตรวจราชการใน ส่วนกลาง 4. การจดั ทารายงานผลการ ตรวจราชไปยงั ผ้บู รหิ ารระดับสูง และผู้บงั คบั บัญชาของ หนว่ ยงานรับตรวจเพอ่ื พิจารณา ดาเนนิ การ 5. รวบรวมรายงานผลการ ตรวจราชการฯและการ ตอบสนองตอ่ ข้อสั่งการ ข้อเสนอแนะ ขอ้ สงั เกตของ หน่วยงานรับตรวจ เพือ่ พจิ ารณา และนาเสนอต่อ ผตู้ รวจราชการกรมและ ผู้บริหารระดบั สูง งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หน้า 10

คมู่ ือการปฏบิ ัติงาน (Work Manual) แผนภาพ ขน้ั ตอนการจัดทาแผนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรมการขนส่งทางบก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. แจ้งใหท้ กุ หน่วยงานท่ี หนงั สอื ที่ ......... /.......... สงั กดั กรมฯ ทราบ เร่ือง ลงวนั ท.่ี ....................... การจัดทาแผนการตรวจฯ เรอื่ ง การจัดทาแผนการตรวจราชการ กรมการ ขนส่งทางบก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. MRP 1 หนว่ ยงานสว่ นกลางและ สว่ นภมู ิภาค (สขจ.) จดั สง่ ขอ้ มลู 1 ชดุ ลง CD พจิ ารณาคัดเลอื ก โครงการ/แผนงาน/ กจิ กรรม เพ่อื กาหนดใส่ ในรา่ งแผนการตรวจฯ กรณี ตรข. ไม่เห็นชอบ นาเสนอร่างแผนการตรวจฯ หนงั สอื ท่ี ......... /.......... ร่างแผนการตรวจฯ ให้ ตรข. พจิ ารณา ลงวนั ที่........................ เร่อื ง แผนการตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก ตรข. เห็นชอบ MRP 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. รา่ งแผนกาตรวจฯ นาเสนอแผนการตรวจฯ ให้ อขบ. หนังสอื ที่ ......... /.......... ลงนามและนาเรยี น ลงวนั ท่ี........................ เร่อื ง แผนการตรวจราชการ กรมการขนส่งทางบก ปลัดกระทรวงคมนาคม รับทราบ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ตอ่ ไป MRP 3 หมายเหตุ : แจ้งเวยี นแผนการตรวจฯ ให้ทุก หน่วยงาน รบั ทราบและถือปฏิบตั ิ แทน สัญลักษณ์แสดงการบันทึกข้อมูลหรือลายลักษณ์อักษร งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หน้า 11

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงาน (Work Manual) 9.2 ขัน้ ตอนการออกตรวจราชการ ในฐานะผชู้ ว่ ยผตู้ รวจราชการกรม ขั้นตอนการเตรียมการกอ่ นออกตรวจราชการ 1. จัดทากาหนดการออกตรวจราชการ 2. จัดทาบันทึกขออนุมัตเิ ดินทาง/ขอยมื เงินทดรองไปราชการ 3. แจง้ ประสานกบั หน่วยงานทร่ี บั การตรวจ เพอ่ื จดั เตรียมความพรอ้ มรอรบั การตรวจราชการ 4. จดั เตรยี มเอกสาร วสั ดุ อปุ กรณก์ ารเดนิ ทางไปตรวจราชการ เช่น 1) กฎ ระเบียบ ข้อบงั คับ นโยบายผบู้ รหิ ารกรมการขนส่งทางบกทส่ี าคัญ 2) แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ตามแผนการตรวจราชการประจาปี 3) กล้องถ่ายรูป เครื่องบันทึกขอ้ มลู ฯลฯ 5. จดั เตรยี มขอ้ มลู พืน้ ฐานของหนว่ ยงานทร่ี ับการตรวจ เชน่ โครงสร้างอตั รากาลัง งบประมาณที่ได้รับ โครงการเรง่ ด่วนของกรมฯ องคค์ วามรู้ในด้านต่างๆ ให้กับ ตรข.ในการไปตรวจราชการ เพอ่ื สามารถให้คาแนะนาจังหวัดผ้รู บั ตรวจได้ ขนั้ ตอนดาเนินการระหวา่ งการตรวจราชการ 1. ประสานตรวจเยีย่ ม สขจ. และ สขข. ทรี่ ับการตรวจ 2. ประสานจดั ประชุมเจา้ หน้าที่ เพื่อทราบผลการดาเนนิ การ สภาพปัญหาและอุปสรรค 3. บันทึกรายละเอียดการตรวจราชการ ตามข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ/ข้อส่ังการของ ผตู้ รวจราชการ พรอ้ มทงั้ รวบรวมขอ้ มูล ปัญหา อุปสรรค ขัน้ ตอนดาเนินการหลงั ออกตรวจราชการ 1. จดั ทารายงานผลการตรวจราชการ เสนออธบิ ดีกรมการขนสง่ ทางบก 2. จดั ทาบนั ทึกรายงานการคืนเงินยืมทดรองไปราชการ (ถ้ามี) 3. ตดิ ตามผลดาเนินการตามข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ/ข้อสั่งการ จากหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง ในรายงานการตรวจราชการ 4. จัดทารายงานสรุปผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนการตรวจราชการ รอบ 6 และ รอบ 12 เดอื น เพื่อสรุปให้เห็นถึงสภาพตามวัตถุประสงค์ของการตรวจราชการ ปัญหาอุปสรรค รวมท้ังข้อเสนอแนะแนวทาง ทางแก้ไข และเม่ือส้ินปีงบประมาณให้ผู้ตรวจราชการกรม รวบรวมรายงานผลการตรวจราชการประจาปี โดยจัดทาเป็น ภาพรวมของการตรวจราชการ เพื่อกรมการขนส่งทางบก จะได้นาไปเป็นข้อมูลประกอบการกาหนดนโยบาย แผนงานโครงการ ในความรบั ผดิ ชอบตอ่ ไป งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หน้า 12

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิงาน (Work Manual) ขน้ั ตอนการออกตรวจราชการ ในฐานะผู้ช่วยผูต้ รวจราชการกรม ขั้นตอนการเตรยี มการ ขน้ั ตอนระหว่างการตรวจราชการ ขัน้ ตอนหลังออกตรวจราชการ จดั ทากาหนดการ ประสานตรวจเยย่ี ม สขจ. และ สขข. จัดทารายงานผลการตรวจราชการ ขออนุมัตเิ ดนิ ทาง/ขอยมื เงนิ ประสานจัดประชุมเจา้ หน้าที่ จดั ทาบันทกึ รายงานการคืนเงนิ ยืมทดรอง แจ้งประสานกับหน่วยงานที่รบั การตรวจ บนั ทกึ รายละเอยี ดการตรวจราชการ ตดิ ตามผลดาเนินการ จดั เตรยี มเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ เตรียมข้อมูลพ้ืนฐานของหน่วยรบั การตรวจ 9.๓ ขัน้ ตอนการรายงานผลการตรวจราชการประจาปีของผู้ตรวจราชการกรม ตามข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ กระทรวงคมนาคม 1. รวบรวมรายงานผลการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรมทกุ เขต พรอ้ มทง้ั - ตรวจสอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการในส่วนที่ เกี่ยวข้องตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลราชการ ประจากระทรวงคมนาคม (คตป.คค.) - ปฏบิ ัติราชการ (ตรวจราชการ) ตามแนวทางท่ี คตป.คค. กาหนดและสง่ั การให้หน่วยงาน ท่รี ับการตรวจรายงานผลใหท้ ราบภายใน 30 วนั - รายงานผลการตรวจราชการให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูงทราบทุกคร้ังเมื่อเสร็จส้ิน ภารกิจตรวจราชการแต่ละคร้ัง ในส่วนของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ีมีการจ่ายเงินงบประมาณต้อง ดาเนินการตามรปู แบบและแนวทางท่ี คตป.คค. กาหนด 2. จัดทาบันทึกรายงานผลการตรวจราชการ ถึง คค. - กรณที ีเ่ ก่ียวข้องในรายงานการตรวจราชการตามข้อสงั เกต ข้อเสนอแนะ ข้อสง่ั การ ของผตู้ รวจราชการ ไม่รายงานผลดาเนนิ การให้ผ้ตู รวจราชการกรมทราบภายใน 30 วนั ให้ติดตามเรง่ รดั ให้ รายงานผลดาเนนิ การ (ตรข.ลงนาม) 3. นาเสนอผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดับช้นั (อขบ.ลงนาม) 4. จัดเกบ็ เรอ่ื งเดิม งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หนา้ 13

คูม่ อื การปฏิบตั ิงาน (Work Manual) ขัน้ ตอนการรายงานผลการตรวจราชการประจาปขี องผู้ตรวจราชการกรม ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ กระทรวงคมนาคม ข้นั ตอนการรายงานผลการตรวจราชการประจาปี รวบรวมรายงานผลการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการกรมทกุ เขต จัดทาบันทึกรายงานผลการตรวจราชการ ถึง คค. นาเสนอผู้บังคับบัญชาตามลาดบั ช้ัน จดั เก็บเรือ่ งเดิม 10. ขน้ั ตอนการจดั ทาตัวชี้วัด (KPI) และแนวทางประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการของผู้ตรวจ ราชการกรม งานตรวจราชการกรม ได้จดั ทาแบบประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ 2 รอบการประเมินครง้ั ที่ 1 (1 ตลุ าคม - 31 มนี าคม) ครง้ั ที่ 2 (1 เมษายน – 30 กนั ยายน) เพ่ือรายงานผลการปฏิบตั ริ าชการตาม ตัวชี้วัดทีร่ ับผิดชอบ ประกอบการพจิ ารณาประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการเพ่ือเลอื่ นเงนิ เดือน โดยมขี ัน้ ตอนดงั น้ี กาหนดตัวชี้วัด เปา้ หมาย ตรวจสอบความครบถว้ น ประชมุ หารอื ร่วมกับ และนา้ หนัก ของงาน และของ ผ้บู งั คับบญั ชา ตามแบบฟอร์มทก่ี าหนด หนว่ ยงานในภาพรวม เพ่อื ลงนามตัวช้ีวดั ประเมนิ ผลเมือ่ สน้ิ รอบการประเมนิ งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หนา้ 14

คมู่ อื การปฏบิ ตั งิ าน (Work Manual) 11. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผ้ชู ่วยผูต้ รวจราชการกรม ภารกจิ การตรวจราชการของผตู้ รวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก จะสามารถดาเนินการ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพจาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการดาเนินงานท่ีมี ประสิทธิภาพสูง การปฏิบัติหน้าท่ีผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกรม จะต้องประสานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยว ข้องเพื่อ จัดเตรียมข้อมูลพ้ืนฐานในเบื้องต้น เช่น กรอบอัตรากาลัง งบประมาณที่ได้รับ โครงการเร่งด่วนของกรมการ ขนส่งทางบก องค์ความรู้ในด้านต่างๆ ให้กับผู้ตรวจราชการเพื่อสามารถให้คาแนะนาจังหวัดผู้รับการตรวจได้ ผ้จู ัดทาจงึ ได้รวบรวมคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้ช่วยผตู้ รวจราชการ สรุปไดด้ ังน้ี แนวทางการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ 1. ปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ ขยันหมั่นเพียรมุ่งม่ัน มีความรอบรู้ ในกฎระเบียบ ข้ันตอนต่างๆ ของทุกงานเพื่อนาความรู้ไปแนะนาผู้อื่นได้ เป็นคลังสมองที่มีประสิทธิภาพให้กับ ผูต้ รวจราชการ 2. ปฏิบัติและพัฒนางานเพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของผลงาน ในการทางานควร ยดึ หลัก “เชื่อถือ เชือ่ ม่นั เช่ือใจ” 3. พัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และความชานาญ ในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อใหท้ ันตอ่ การเปลยี่ นแปลงท่ีเกิดขึ้นอยู่เสมอ 4. เป็นผปู้ ระสานงานที่ดเี ยย่ี ม สรา้ งเครือข่าย และกัลยาณมิตร 5. ตรงต่อเวลา และอุทิศเวลาใหก้ บั ทางราชการ ลักษณะนิสัย 1. ซอ่ื สัตย์สุจรติ ไมม่ ่งุ แสวงหาผลประโยชนจ์ ากการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี 2. มานะอดทน กระตอื รือรน้ ขยนั ทางาน พัฒนาตนเองอย่เู สมอ 3. รักษาความลบั และเป็นผู้ท่มี คี วามรับผิดชอบสูง 4. มีเหตผุ ล เคารพผู้อืน่ และสุภาพอ่อนโยน 5. มมี นุษย์สมั พนั ธ์ที่ดรี กั ษาอารมณ์ และสามารถควบคุมอารมณไ์ ด้ การพูดจา การพูดเป็นการส่ือสารที่สาคัญมากในชีวิตประจาวัน เพราะตรงประเด็นท่ีสุด รับรู้ได้เร็วที่สุด ถา่ ยทอดข้อมลู ได้มากทสี่ ุด ผูป้ ระสานงานท่ีดีจาเป็นต้องมี ปยิ วาจา หมายถงึ วาจาที่นา่ รัก นา่ ฟัง มคี วามสุภาพ พอเหมาะพอดี ไม่เกินความจริง ไม่เกินความเหมาะสม รวมถึงคาพูดที่เป็นประโยชน์ ซึ่งประกอบด้วยเหตุผล มหี ลักฐาน ทาให้ผู้อน่ื นิยมยอมรับและทาตามได้ เช่น 1. ไมพ่ ดู ส่อเสียด 2. ไมพ่ ดู นอกเร่อื ง 3. ไมร่ ะบายอารมณ์ 4. ไมพ่ ูดเรอ่ื งตัวเอง 5. พูดแต่สง่ิ ดีๆ มปี ระโยชน์ ฯลฯ งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หน้า 15

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) ภาพลกั ษณ์ 1. แตง่ กายสภุ าพสะอาดเรียบรอ้ ย 2. ยิม้ แยม้ แจม่ ใส มสี ขุ ภาพสมบูรณแ์ ข็งแรง 3. กิรยิ า ทา่ ทาง มารยาท การวางตัวทเี่ หมาะสมกบั สภาวการณ์ 4.. มคี วามพร้อมทางดา้ นจติ ใจ และสตปิ ัญญา 5.. มีความมั่นใจในตนเอง งานตรวจราชการกรม กรมการขนสง่ ทางบก หนา้ 16

คมู่ ือการปฏิบตั งิ าน (Work Manual) รายชอื่ ท่ปี รกึ ษา 1. นายธานี สืบฤกษ์ รองอธบิ ดีกรมการขนส่งทางบก 2. นางพรรณี พมุ่ พนั ธ์ ผ้ตู รวจราชการกรม 3. นายสทุ ธพิ งษ์ เตชะภูสทิ ธพิ งศ์ ผู้ตรวจราชการกรม 4. นางสุนิสา อนนั ตกูล ผตู้ รวจราชการกรม 5. นายอนวุ ัฒน์ วงศจ์ ารสั ผู้ตรวจราชการกรม 6. นางสาวหทัยธร เกษตรวเิ ศษ ผู้ตรวจราชการกรม 7. นางธนตั ถ์สรณ์ เทียมนอ้ ย ผอู้ านวยการกลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร รกั ษาการในตาแหนง่ ฝา่ ยชว่ ยอานวยการและประสานราชการ รายชอ่ื ผ้จู ดั ทา 1. นางพรทิพย์ กลน่ิ ผกา นักวิชาการขนส่งชานาญการ 2. นางสาวพรรณิการ์ สุวัฒนศ์ ริ คิ ณุ นกั จดั การงานทว่ั ไปปฏบิ ัตกิ าร งานตรวจราชการกรม กรมการขนส่งทางบก หนา้ 17























fl 1u ttelu rl :s n ourir u o-rur-ou:rBr r a o-rraiofl m m rfl ura v 6'r uio u v a r o.b YguumErJ:ssirairfinuluniguunE (uruqrfiu,f 6'rqa::suc) rirarJfrr-r-6.rru'[unr:rirfluuav6omunr:rJfrrj6:rtn1:ro{ro{uruniotunB (naion dn:r-a ariri'auv) ruerni?a:1tnr:fi o totdrrinuranioruni leirrri na'r6'rraionrnlfrtruuou r.J:vnoupiru 6'ru':-or u: rBr ra o-rut-ofl m nrfi ua vd'ruirr u va r o.e/ YguusrErJ:ssi'reirrinulunfguunE (u'runoufrnd nn:v4a) tirurJfrrifr.:rulunr:rirriuuravfrnrrrrrnr:rlflri6:rtn1:fl0{:o{uraniolumi (naornrnlon r.J:viu 6'umor) o-!{u o) tu er n : r o : r t n r :vt' o m t o { dr fi n u r u n Yltt u nE t d'u ri n d I 6'l ra r-pr nrnnviuoonrdururafionoueix o ti:vnouriru o'rur-ot-aqfr oir,tinur,rrlueul ,ir'.:rairrqiild ttav aua{aud ?oa:uvt:






















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook