Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เล่ม ๓

แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เล่ม ๓

Published by เมทินี มหิสยา, 2022-05-14 15:20:46

Description: ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ เล่ม ๓ นางเมทนิ ี มหิสยา ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรยี นประชาสามัคคี สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ค�ำ แนะน�ำ การใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรอู้ า่ นออก เขยี นได้ 2 หนังสืออ่านออก เขียนได้ ชุดน้ี ออกแบบข้ึนมา เพ่ือให้นักเรียนเรียนรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ไม่มี การขา้ มข้นั ตอน แต่ละเลม่ จะก้าวไปทลี ะข้นั (step) คุณครูทุกท่านท่ใี ชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้นี้ โปรด ท�ำ ความเข้าใจหลักการของแผนการจัดการเรยี นรชู้ ุดน้ี ดังน้ี ๑. กระบวนการสอน ๕ ขน้ั แบบ Brain-based Learning (BBL) กระบวนการสอนอา่ นออก เขยี นได้ ในแผนการจัดการเรยี นร้นู ี้ ยดึ การสอนท่ีแบง่ ออกเปน็ ๕ ขั้น ดังรายละเอียดขา้ งล่างนี้ เพอื่ ประกันผลส�ำ เร็จ ว่านกั เรียนจะอ่านออก เขียนได้แม่นยำ� คือ ๑.๑ อนุ่ เครอื่ ง (Warm-up) การอนุ่ เครอื่ ง (warm-up) เปน็ กจิ กรรมทที่ �ำ เพอื่ ใหส้ มองตน่ื ตวั เตรยี มพรอ้ มทจี่ ะเรยี นรวู้ ชิ า ตอ่ ไป หรือระหวา่ งช่ัวโมง ถ้าเนื้อหาทจี่ ะเรยี นรู้น้นั ค่อนขา้ งยาก คุณครูสงั เกตวา่ นักเรียน เรมิ่ หมดความสนใจหรอื อ่อนล้า ควรใหท้ ำ� Warm-up เพอ่ื กระตนุ้ สมอง การ Warm-up น้นั ทำ�ได้ ๓ วธิ ี คือ ๑) Brain Exercise ๒) การเคลื่อนไหวเปน็ จงั หวะ (Rhythm) อาจมี เสียงเพลงและค�ำ กลอนประกอบ และ ๓) ยืดเส้นยืดสาย (Stretching) ๑.๒ ข้นั นำ�เสนอความรู้ (Present) นักเรียนทุกคนมีความต่างกัน มีประสบการณ์ มีพ้ืนฐานเฉพาะตัว ดังนั้น การนำ�เสนอ ความรู้ (การสอน) จึงควรเปิดโอกาสให้เด็กทุกคนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย น�ำ เสนอความรู้ใหม่ ผ่านสอ่ื การเรียนรู้ทน่ี ่าสนใจ เช่น สื่อของจริง บตั รภาพ บัตรคำ� บัตร ตัวเลข ชาร์ตบทกลอน บทเพลง กระดานเคลอ่ื นท่ี เปน็ ต้น ๑.๓ ขนั้ ลงมอื เรียนร้-ู ฝึกทำ�-ฝกึ ฝน (Learn-Practice) เปิดโอกาสให้นักเรียนฝึกทำ� โดยลงมือทดลองใช้ความรู้ ด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น ฝึกทำ� โดยใช้ส่อื จากมมุ สื่อ BBL พานักเรียนไปดูของจรงิ สำ�รวจและบนั ทึกจากสงิ่ ที่พบเหน็ ท�ำ กิจกรรมจากใบงาน เชน่ กิจกรรมตัดปะ เล่นเกมบงิ โก ใช้อุปกรณเ์ คาะลงบนข้อความหรอื ค�ำ ศพั ท์ ใหเ้ ดก็ ได้เคล่อื นไหว เช่น ลุกขึน้ จากโต๊ะเพ่อื ไปทำ�กิจกรรม และควรมใี บงานท่ใี ห้ นักเรยี นได้ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ และคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยตวั เอง ๑.๔ ข ้นั สรุปความรู้ (Summary) แม้ว่าการเรียนรู้จะดำ�เนินมาตั้งแต่ข้ันเร่ิมเรียนรู้ความรู้ใหม่ (present) ขั้นที่นักเรียนได้ ทดลองน�ำ ความรใู้ หมน่ นั้ มาลงมอื ปฏบิ ตั ิ ฝกึ ลองท�ำ ดว้ ยตวั เอง (learn-practice) ลงมอื ท�ำ แบบฝกึ หัดแลว้ กต็ าม แตใ่ นทีส่ ดุ การน�ำ ประสบการณ์ทงั้ หมดมาสรุปรวบยอด เป็นความ รทู้ ชี่ ัดเจนอีกครั้งหน่งึ กม็ ีความจ�ำ เปน็ อยา่ งยิง่ โดยเฉพาะเรามักสังเกตได้ว่า นักเรยี นอาจ ทำ�การฝกึ ผดิ พลาด ทำ�แบบฝกึ หดั ไมถ่ กู สรา้ งความรจู้ าก concept ทผี่ ดิ เป็นตน้ ความ ผิดพลาดเหล่าน้ี แม้จะเกิดขึ้นเพียง ๑๐-๓๐% แต่ก็แสดงว่า มีส่ิงผิดพลาดเกิดขึ้นแล้ว การเขยี นกากบาทหรือ comment นกั เรยี นวา่ ยงั มสี งิ่ ผิดพลาด ก็ไมไ่ ด้ชว่ ยอะไรมากนกั ทางเดียวที่จะแก้ไขไดก้ ็คือ การใหฝ้ กึ ซํา้ ในส่วนผิดน้ัน และตอ้ งทำ�การสรปุ ความร้รู ว่ มกับ นักเรียน บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒

๑.๕ ประยุกต์ใช้ความรู้ (Apply) ถ ้าเป็นไปได้และมีเวลา กระบวนการเรียนรู้ควรทำ�ไปถึงขั้นให้นักเรียนประยุกต์ใช้ความรู้ ในสถานการณใ์ หม่ๆ ในขัน้ นี้ โดยมากนกั เรยี นจะเรมิ่ นำ�ความร้ไู ปสรา้ ง (make) หรอื ผลติ (produce) ชิน้ งานใหม่ๆ เชน่ แต่งนิทาน ท�ำ หนงั สือเล่มเล็ก แสดงละคร โตว้ าที จัดบอร์ด ผลงาน นทิ รรศการ เปน็ ตน้ แตง่ านขน้ั นี้ เปน็ ไปไดย้ ากทจี่ ะท�ำ ทกุ ชวั่ โมง ทกุ เนอื้ หาทเ่ี รยี น เพราะเวลาเรียนไม่พอ อีกท้ัง เนื้อหาท่ีเรียนมีมากเกินกว่าที่จะเน้นให้นักเรียนลงมือทำ� กจิ กรรมต่างๆ ได้หมดส้ิน ด้วยเหตุนี้ ขั้นประยุกต์ใชค้ วามรู้ จงึ อาจเลอื กท�ำ เฉพาะหัวข้อท่ี สำ�คญั หรอื หัวขอ้ ที่พอจะนำ�ไปประยุกต์ใชไ้ ดส้ ำ�หรบั เดก็ แตล่ ะวัย ในหวั ขอ้ ง่ายๆ เชน่ การ ประสมพยญั ชนะกบั สระ อาจจะยงั ไมม่ คี วามจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ เปน็ ตน้ แต่ ท้งั น้ี ก็ขนึ้ อย่กู บั ความรู้ ความสามารถ และความชำ�นาญของผสู้ อนเอง ๒. วธิ กี ารปรบั แผนการจดั การเรยี นรใู้ นชั่วโมงการสอนจริง แมว้ า่ ในแผนการจดั การเรยี นรชู้ ดุ น้ี ในทกุ บทจะเสนอแนะการสอนครบ ทกุ ขนั้ ตอน แตใ่ นชว่ั โมง การสอนจรงิ คุณครูอาจปรบั แผนบางข้ันการสอนใหก้ ระชับ รวดเร็ว ลดั ข้ันตอนไดต้ ามความเหมาะสม ไม่จ�ำ เป็นตอ้ งเดิน ๕ ขัน้ อยา่ งเคร่งครัด ส�ำ หรับอ่านออก เขียนได้ เล่ม ๑ นักเรยี นยงั ไมร่ ู้จกั พยัญชนะ และสระ คณุ ครอู าจต้องสอนละเอยี ด ใช้เวลายาวนาน และอดทน แตเ่ มือ่ นักเรียนเร่ิมแมน่ ยำ�แลว้ ก้าว สู่เล่มท่ี ๒ และ ๓ นักเรียนอาจจะอ่านได้มากขึ้น สะกดได้ดีข้ึน ทำ�ให้เรียนคำ�ที่มีวรรณยุกต์และคำ�ท่ี มีตัวสะกดได้รวดเร็ว เม่ือนักเรียนเรียนเร็วข้ึนมากแล้ว บางขั้นคุณครูก็ไม่ควรเสียเวลามากเกินไป เช่น จำ�นวนใบงานในขน้ั ลงมอื เรียนรู้ กบั ข้นั สรปุ ความรู้ อาจลดจ�ำ นวนลง หรือบรู ณาการสองขั้นนี้ รวบเป็น ขน้ั เดยี วกนั กไ็ ด้ สว่ นขนั้ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรนู้ นั้ เราเพม่ิ เขา้ มาเพอ่ื ใหแ้ ผนการสอนสมบรู ณ์ เสนอแนะครบ ถ้วน แตค่ ณุ ครอู าจไม่มีเวลาท�ำ ในชั่วโมงการสอนจริง เพราะจ�ำ นวนชั่วโมง ๒๐๐ ชัว่ โมงตอ่ ปที ีก่ �ำ หนดไว้ นั้นน่าจะไมพ่ อส�ำ หรบั กระบวนการสอนให้ครบทกุ ขน้ั ๓. ท่านสามารถสรา้ งแผนการจดั การเรยี นรู้ทีด่ ีกวา่ คณุ ครทู กุ คน โรงเรยี นทกุ โรงเรยี นลว้ นมคี วามแตกตา่ งกนั ไมม่ แี ผนการจดั การเรยี นรใู้ ดใชไ้ ดก้ บั ทกุ หอ้ งเรยี น ๑๐๐% คณุ ครทู ม่ี คี วามรคู้ วามสามารถ มปี ระสบการณส์ งู เอาใจใสน่ กั เรยี นมาก จะทราบดี วา่ แผนการจดั การเรยี นรแู้ ตล่ ะแผนจะตอ้ งเพม่ิ หรอื ลด แมก้ ระทง่ั ตอ้ งเปลยี่ นกระบวนการใดบา้ ง เพอ่ื ให้ เหมาะสมกบั นักเรียนในห้องเรยี นของตน ดงั น้ัน คุณครสู ามารถนำ�แผนการจดั การเรียนรู้ชดุ น้ี ไปพฒั นา ตอ่ ยอด สรา้ งเปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ใหมๆ่ เพ่ือให้เปน็ ประโยชนส์ ูงสุดตอ่ การเรียนรู้ของนกั เรียน ๔. ในกรณีท่ตี อ้ งการปรบั ใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้น้ีกับหนงั สอื เรียนชุดอ่นื ๆ ทไ่ี ม่ใช่ ชุดอา่ นออก เขียนได้ ชุดน้ี ในกรณีที่คุณครูใช้หนังสือเรียนชุดอ่ืนๆ ท่ีไม่ใช่ชุดอ่านออก เขียนได้ ของเรา ท่านสามารถนำ� แผนการจดั การเรยี นรชู้ ดุ นไี้ ปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ แมจ้ ะไมค่ รบขนั้ ตอน ท�ำ ไมไ่ ดท้ งั้ หมด และเนอ้ื หาของหนงั สอื ไมต่ รงกนั คณุ ครกู ส็ ามารถน�ำ เอาเทคนคิ การสอนในบางขน้ั ตอน เขา้ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชว่ั โมงการสอนของ ทา่ น โดยเลอื กขน้ั ตอนทจี่ ะชว่ ยใหน้ กั เรยี นมคี วามสขุ ในการเรยี นรู้ สนใจการเรยี นมากขนึ้ เรยี นไดเ้ รว็ ขน้ึ มสี ่อื และใบงานชว่ ยในการสอนตามความเหมาะสม บริษัทธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 3

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ อ่านออก เขียนได้ เลม่ ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ หนว่ ยที่ ชื่อหนว่ ย จำ�นวนช่วั โมง ๑ ปลาบึกในนา้ํ ลกึ ๑๐ ๒ เจา้ โตขุดดนิ ๑๐ ๑๔ ๓ เปด็ หาย ๒๒ ๑๒ ๔ จง้ิ จกหางขาด ๑๙ ๕ ตวั อะไรอยู่ใต้เตียง ๘๗ ๖ ชาลีปวดขา รวม หมายเหตุ จำ�นวนบทเรยี น กิจกรรมการเรยี นรู้ หรือเวลาในการสอน สามารถปรบั เปล่ยี นและ ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ขน้ึ อยกู่ ับดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน บริษทั ธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 4

แผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ หน่วยก�รเรียนรู้ อ�่ นออก เขียนได้ เล่ม ๓ กล่มุ ส�ระก�รเรยี นรภู้ �ษ�ไทย ชนั้ ประถมศกึ ษ�ปที ่ี ๑ บทท่ี ๑ ปล�บึกในนำ้�ลึก (๑) จำานวน ๓ ช่วั โมง ม�ตรฐ�นก�รเรยี นรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชีวติ และมีนสิ ัยรักการอา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสียงคาำ คำาคล้องจอง และขอ้ ความสน้ั ๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคำา และขอ้ ความทีอ่ ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขียนสะกดคาำ และบอกความหมายของคาำ ส�ระสำ�คญั การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทปี่ ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใช้ จงึ จะสามารถ นาำ คำาไปใช้ไดถ้ กู ต้องตามสถานการณ์ การอา่ นเรือ่ งสั้นๆ สามารถสรา้ งนิสัยรกั การอ่านของผ้เู รยี น จดุ ประสงค์ก�รเรยี นรู้ ๑. สามารถอา่ นคาำ ทปี่ ระสมสระมตี ัวสะกดได้ ๒. อ่านเรอ่ื งสั้นหรือนิทานได้ ๓. บอกความหมายของคาำ ได้ ส�ระก�รเรียนรู้แกนกล�ง ๑. พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๒. การสะกดคาำ การแจกลกู และการอ่านเปน็ คำา ๓. การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคาำ คาำ คลอ้ งจอง และขอ้ ความทป่ี ระกอบดว้ ย คาำ พ้ืนฐาน คอื คำา ท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจาำ วนั ไม่น้อยกวา่ ๖๐๐ คาำ กระบวนก�รจัดก�รเรียนรู้ ตบมือ ตบขวา ตบมอื ตบซา้ ย ๑. ขน้ั น�ำ เข�้ สบู่ ทเรียน ๑. นกั เรยี นรอ้ งบทคลอ้ งจอง “ระฆงั ดงั หงา่ งหงา่ ง” พรอ้ มกนั จนคลอ่ ง ๒. ให้นักเรยี นเคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบบทกลอน “ระฆงั ดงั หง่าง หง่าง” ในทา่ ทีม่ ีจงั หวะสนกุ สนาน เช่น ตบมอื มือขวาตบมอื ขวา เพื่อน ตบมอื มอื ซ้ายตบมือซา้ ยเพ่ือน ๓. คุณครูติดชาร์ตบทคล้องจอง “ระฆัง ดังหง่างหง่าง” และชี้พา นกั เรยี นอ่านไปทลี ะประโยค บริษัทธารปัญญา จาำ กดั สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 5

๒. ขัน้ น�ำ เสนอคว�มรู้ ๑. คุณครูแสดงชารต์ คำาทป่ี ระสมสระ -ึ มตี ัวสะกด บนกระดานเคลือ่ นที่ ๒. คุณครูอา่ นให้นกั เรียนฟัง ๑ รอบ ๓. คุณครูชี้ให้นักเรียนอ่านแจกลูกไปทีละคำาจนคล่อง ยกตัวอย่างคำาอื่นอีก เพ่ือให้ นกั เรยี นค้นุ กบั คำา ๔. คุณครตู ิดชาร์ตเรอ่ื ง ปลาบึก ในนาำ้ ลกึ หรอื เขียนบนกระดาน และสอนช้ีอ่าน ๕. ขน้ั ตอนการสอนอ่าน มดี ังนี้ ๕.๑ ให้นกั เรียนเขยี นหมายเลขกำากับย่อหนา้ เพ่อื ให้นกั เรียนทราบว่า คุณครกู าำ ลงั อ่านย่อหน้าใด ๕.๒ คณุ ครอู า่ นใหน้ กั เรยี นฟงั และใหน้ กั เรยี นอา่ นตามไปทลี ะยอ่ หนา้ จนจบเร่อื ง ๕.๓ คณุ ครลู องถามนักเรยี น เช่น ย่อหนา้ นีก้ ล่าวถงึ ใคร กาำ ลงั ทำาอะไร เป็นตน้ แล้วให้นักเรยี นตอบคำาถาม โดยไฮไลต์คำาตอบนนั้ คเณุขียคนรบตู ดินชการระต์ ดหานรือ เขียนหมายเลขกาำ กบั ยอ่ หน้า นักเรียนช้อี า่ นไปทลี ะยอ่ หน้า ไฮไลตต์ อบคาำ ถาม ๓. ขั้นลงมอื เรียนรู้ บึก มึน ตึง บ -ึ ก ม -ึ น ต -ึ ง ๑. คณุ ครูแสดงบตั รคาำ ทปี่ ระสมสระ -ึ มีตัวสะกดให้ นกั เรียนดู ๒. ชูบตั รคาำ ขน้ึ ทลี ะใบ ให้นกั เรียนอา่ นแจกลกู พรอ้ มกนั ๓. ตดิ บตั รคาำ เหล่าน้ันไว้บนกระดาน ๔. ส่มุ นักเรยี นออกมาเขียนแจกลูกใตบ้ ตั รคำาแตล่ ะใบ ๕. นกั เรียนทาำ แบบฝกึ หัดในหนังสือเรยี น ๔. ขัน้ สรปุ คว�มรู้ ๑. แจกใบงาน ดอกไม้สรุปคำาท่ีประสมสระ -ึ มีตัวสะกด ใหน้ ักเรยี น ๒. ตัดดอกไมต้ ามรอยประ ติดดอกไม้ซอ้ นกนั ติดดอกไม้ลงในสมดุ แลว้ เขียน แจกลกู ๓. คุณครูพานักเรียนอา่ นทบทวนคาำ ทอี่ ยูใ่ นดอกไม้ ๕. ขน้ั ประยุกตใ์ ชค้ ว�มรู้ ๑. แจกใบงาน คำาท่ปี ระสมสระ -ึ มตี ัวสะกด ใหน้ ักเรยี น ๒. คุณครูถ่ายเอกสารหน้าคำาศัพท์จากในหนังสือเรียน และให้นักเรียนตัด ภาพและคาำ ศัพทแ์ ยกกันไว้ (ตัวอย่างใบงานท่ี ๑) ๓. จากน้ันจับคู่ภาพกับคำาศัพท์ติดลงไปในช่องในใบงานตาราง ๖ ช่อง (ตวั อย่างใบงานที่ ๒) ๔. นาำ ใบงานท่ที ำาเสร็จแลว้ มาตดั แยกเป็นช้นิ แล้วเยบ็ รวมเป็นเล่ม ทาำ เป็น หนังสือคำาศัพทเ์ ล่มเล็ก เอาไวอ้ ่านทบทวน บรษิ ทั ธารปัญญา จาำ กัด สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 6

เครือ่ งมอื - ส่ือการเรยี นรู้ ๑. ชาร์ตคำ�คลอ้ งจอง ระฆัง ดังหงา่ งหง่าง ๒. ชาร์ตสอนค�ำ ท่ปี ระสมสระ -ึ มีตวั สะกด ๒. บตั รคำ� คำ�ท่ปี ระสมสระ -ึ มีตวั สะกด ๓. กระดานเคลอื่ นท่ี ๔. ใบงาน ดอกไม้สรุปคำ�ท่ีประสมสระ -ึ มีตวั สะกด ๕. ใบงาน คำ�ทีป่ ระสมสระ -ึ มีตัวสะกด (หนังสือเล่มเล็ก) การวดั และประเมินผล ๑. สงั เกตพฤติกรรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนกั เรียน ๒. ประเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝึกหดั ของนักเรยี น (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรียน - หลงั เรยี น การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ) บริษทั ธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 7

ใบง�นประกอบแผนก�รจัดก�รเรียนรู้ บทท่ี ๑ (๑) : ดอกไมส้ รปุ ค�ำ ทีป่ ระสมสระ -ึ มตี ัวสะกด  ตดั ตามรอยประ แล้วเขียนแจกลกู ลงใตค้ าำ ศัพท์ใหถ้ ูกต้อง ตดั ตามรอยประ ตดิ กาวดา นหลัง ดงึ ตกึ บงึ คำ�ท่ีประสม สระ -ึ มตี วั สะกด ทมึ ทบึ ลึก  บริษทั ธารปัญญา จำากัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 8

ใบง�นท่ี ๑ ประกอบแผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ บทท่ี ๑ (๑) : ตัดตามรอยประ คำ�ที่ประสมสระ -ึ มีตวั สะกด  หดั อา่ น คาำ ท่ปี ระสมสระ -ึ มตี วั สะกด บ ึ ก บกึ ปลาบึก ต ึ ก ตึก ตึกสูง ท ึ บ ทึบ ปา่ ทบึ ซ ึ ง ซงึ ดดี ซึง ค ึ ก คกึ คกึ คัก ศ ึ ก ศึก สู้ศกึ  บริษัทธารปัญญา จำากดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 9

ใบง�นที่ ๒ ประกอบแผนก�รจัดก�รเรยี นรู้ บทท่ี ๑ (๑) : ตัดตามรอยประ ค�ำ ทปี่ ระสมสระ -ึ มตี วั สะกด ๒  จับคู่คำาศัพท์และรูปภาพทีต่ ดั จากใบงานท่ี ๑ มาตดิ ลงในชอ่ งวา่ งแตล่ ะชอ่ ง ๑ ๓๔ ๕๖  บรษิ ทั ธารปัญญา จำากัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 10

แผนก�รจัดก�รเรียนรู้ หน่วยก�รเรียนรู้ อ่�นออก เขียนได้ เลม่ ๓ กลมุ่ ส�ระก�รเรียนรู้ภ�ษ�ไทย ช้ันประถมศกึ ษ�ปีที่ ๑ บทที่ ๑ ปล�บกึ ในนำ�้ ลกึ (๒) จาำ นวน ๓ ชวั่ โมง ม�ตรฐ�นก�รเรยี นรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชวี ิต และมีนสิ ัยรักการอา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณค่า และ นำามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ ๒. ตัวชี้วดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อ่านออกเสยี งคาำ คาำ คลอ้ งจอง และข้อความสั้นๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และข้อความทอี่ า่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขยี นสะกดคาำ และบอกความหมายของคำา มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๑/๒ ท่องบทอาขยานตามทกี่ าำ หนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ ส�ระส�ำ คญั การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทป่ี ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใช้ จงึ จะสามารถ นาำ คำาไปใช้ได้ถูกตอ้ งตามสถานการณ์ การอา่ นเรือ่ งสน้ั ๆ สามารถสรา้ งนสิ ยั รักการอ่านของผเู้ รยี น จดุ ประสงค์ก�รเรยี นรู้ ๑. สามารถอ่านคาำ ที่ประสมสระมตี วั สะกดได้ ๒. อา่ นเรื่องส้ันหรือนทิ านได้ ๓. บอกความหมายของคำาได้ ส�ระก�รเรยี นรู้แกนกล�ง ๑. พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ๒. การสะกดคาำ การแจกลกู และการอ่านเป็นคำา ๓. ทอ่ งบทอาขยานตามท่ีกาำ หนด ๔. การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำา คาำ คล้องจอง และขอ้ ความทป่ี ระกอบดว้ ย คำาพ้ืนฐาน คอื คำา ท่ีใช้ในชวี ิตประจำาวนั ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖๐๐ คำา กระบวนก�รจัดก�รเรียนรู้ ๑. ขัน้ น�ำ เข้�สบู่ ทเรียน ๑. คุณครใู ห้นักเรียน ร้องบทร้องเล่น “ตั้งไข่ลม้ ” พร้อมกนั ๒. เมื่อนักเรียนร้องคล่องแล้ว ให้เคลื่อนไหวประกอบจังหวะ เช่น สองมือตบโต๊ะ กาำ มือสองมือทุบโตะ๊ สลับไปเรอื่ ยๆ ตามจังหวะ จนจบ สองมอื ตบโตะ๊ กาำ สองมอื ทบุ โต๊ะ บรษิ ทั ธารปัญญา จำากัด สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 11

๒. ข้นั นำ�เสนอความรู้ ๑. คุณครแู สดงชารต์ ค�ำ ทปี่ ระสมสระ -ื มตี ัวสะกด บนกระดานเคลอื่ นที่ ๒. คณุ ครูอ่านให้นกั เรยี นฟัง ๑ รอบ ๓. คณุ ครูชี้ใหน้ กั เรยี นอ่านแจกลูกไปทลี ะค�ำ จนคลอ่ ง ยกตัวอย่างคำ�อ่ืนอกี เพอ่ื ให้นกั เรยี นคุ้นกบั ค�ำ ๓. ขั้นลงมือเรียนรู้ ๑. ใหน้ ักเรยี นจับคกู่ นั ๒. คุณครูแจกใบงาน ใครเจอกอ่ นวงกอ่ น ใหน้ กั เรยี นกลุ่มละ ๑ แผน่ ๓. คณุ ครอู ่านเฉพาะคำ�ทป่ี ระสมสระ -ื มตี วั สะกดทลี ะค�ำ จนครบทกุ คำ� ๔. น กั เรยี นวงกลมลอ้ มรอบค�ำ ทค่ี ณุ ครอู า่ น โดยนกั เรยี นจะตอ้ งใชป้ ากกาเมจกิ คนละสี ๕. นับจำ�นวนวงกลมแต่ละสี สีไหนมากที่สุดเป็นผู้ชนะ จากน้ันให้นักเรียนทุกคน เขยี นคำ�ท่ีประสมสระ -ื มตี วั สะกด ลงในสมุด ๖. นกั เรยี นทำ�แบบฝึกหัดในหนงั สือเรียน ๔. ข้นั สรุปความรู้ ๑. คุณครูทบทวนค�ำ ทปี่ ระสมสระ -ื มตี ัวสะกด ๒. แ จกใบงาน ลกู โปง่ คำ�คลอ้ งจองให้นกั เรียน ๓. ให้นกั เรยี นเขียนค�ำ คล้องจอง ตอ่ จากค�ำ ศัพทท์ ก่ี �ำ หนดให้ ๔. ต ดิ ใบงานลงในสมดุ ๕. ข้นั ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ๑. คณุ ครูให้นักเรยี นแตล่ ะคน คดิ คำ�ทปี่ ระสมสระ -ื มตี ัวสะกดไวใ้ นใจคนละ ๑ คำ� ๒. คณุ ครูส่มุ เลอื กนักเรียน ใหย้ นื ข้นึ ๑ คน แล้วให้บอกคำ�ที่คดิ ไว้ให้เพ่อื นฟัง ครจู บั เวลา ๑๐ วินาที ๓. ถ า้ คำ�ท่เี ราคดิ ไว้ เพ่อื นพดู ไปแล้ว ใหค้ ิดค�ำ ใหม่ การทำ�กิจกรรมนี้จะกระตุ้นใหเ้ ด็กคิดอยูต่ ลอดเวลา ๔. คุณครูส่มุ เลอื กนกั เรียนไปเรอ่ื ย ๆ จนครบทุกคน เครอื่ งมอื - ส่อื การเรยี นรู้ ๑. ชารต์ สอนคำ�ทปี่ ระสมสระ -ื มีตัวสะกด ๒. กระดานเคลอ่ื นที่ ๓. ใบงาน ใครเจอก่อนวงก่อน ๔. ใบงาน ลูกโปง่ ค�ำ คลอ้ งจอง การวดั และประเมนิ ผล ๑. ส งั เกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสียง / การสะกดคำ� ของนักเรยี น ๒. ประเมินผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หัดของนกั เรยี น (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ กอ่ นเรยี น - หลังเรียน การเขียนตามค�ำ บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ) บรษิ ัทธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 12

ใบง�นประกอบแผนก�รจัดก�รเรียนรู้ บทท่ี ๑ (๒) : ใครเจอก่อนวงก่อน  วงกลมล้อมรอบคาำ ทค่ี ุณครูอา่ น จืด พืด ตืด ยมื คืน มัน พัด มืด ปดั หดื ยืด ผืน ฟน คีบ รัก จดั ยืน จีน สืบ ลืม ฝน อดื ฝด คบื รบี ผืด งีบ บรษิ ัทธารปัญญา จาำ กดั สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 13

ใบง�นประกอบแผนก�รจัดก�รเรยี นรู้ บทท่ี ๑ (๒) : ลูกโปงค�ำ คล้องจอง  เขยี นคำาคลอ้ งจองต่อจากคาำ ทีก่ ำาหนดให้ ดงั ตวั อยา่ ง ๑ ๒ ผืน ยืนดู นกั สบื๒ ------------------------------------ ขดั ขนื๓ ข้ีลมื๔ ------------------------------------ ------------------------------------ น�ำ้ จืด๕ ผ�่ ฟน๖ ------------------------------------ ------------------------------------ ย�งยืด๗ คำ�่ มืด๘ ------------------------------------ ------------------------------------ บริษทั ธารปัญญา จำากดั สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 14

แผนก�รจัดก�รเรียนรู้ หนว่ ยก�รเรยี นรู้ อ่�นออก เขียนได้ เล่ม ๓ กล่มุ ส�ระก�รเรียนรูภ้ �ษ�ไทย ชน้ั ประถมศกึ ษ�ปีท่ี ๑ บทท่ี ๑ ปล�บกึ ในน�ำ้ ลกึ (๓) จำานวน ๔ ช่ัวโมง ม�ตรฐ�นก�รเรียนรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชีวิต และมนี ิสยั รกั การอา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสยี งคาำ คำาคล้องจอง และขอ้ ความส้ันๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคำา และข้อความทอ่ี า่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขยี นสะกดคำาและบอกความหมายของคาำ มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๓ เรียบเรยี งคาำ เป็นประโยคง่ายๆ ส�ระส�ำ คญั สูง ต่าำ บอกความหมายและหลักการใช้ จงึ จะสามารถนำาคาำ ไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง การเรยี นรกู้ ารผันสียงคำาอักษรกลาง ตามสถานการณ์ การอา่ นเร่ืองสั้นๆ สามารถสรา้ งนิสัยรักการอา่ นของผเู้ รียน จุดประสงค์ก�รเรยี นรู้ ๑. สามารถอา่ นคาำ ทป่ี ระสมสระมตี ัวสะกดได้ ๒. อ่านเรอื่ งส้ันหรือนทิ านได้ ๓. บอกความหมายของคาำ ได้ ส�ระก�รเรียนรู้แกนกล�ง ๑. พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๒. การสะกดคำา การแจกลูก และการอา่ นเปน็ คำา ๓. การผนั คาำ ๔. การแต่งประโยค ๕. การอ่านออกเสยี งและบอกความหมายของคำา คำาคล้องจอง และขอ้ ความท่ีประกอบด้วย คาำ พน้ื ฐาน คอื คาำ ทีใ่ ช้ในชีวติ ประจำาวัน ไมน่ อ้ ยกว่า ๖๐๐ คาำ กระบวนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ ๑. ข้นั นำ�เข�้ ส่บู ทเรียน ๑. คุณครทู ักทาย ใหน้ ักเรยี นเล่นเกม “ขน้ึ และ ลง” ๒. แบ่งนักเรยี นออกเป็นกลมุ่ กลุ่มละ ๓-๕ คน ๓. กำามือท้ังสองข้าง แล้ววางต่อกัน เม่ือคุณครูพูดว่า ขึ้น มือของคนที่อยู่ล่าง สดุ ต้องเอาขึน้ มาไวบ้ นสดุ ถ้าพดู ว่า ลง มือท่อี ยบู่ นสุด ต้องลงไปอยูล่ า่ งสดุ บริษทั ธารปญั ญา จาำ กัด สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 15

๒. ขน้ั นำ�เสนอความรู้ ๑. ค ุณครทู บทวนคำ�ท่ปี ระสมสระ -ึ และ ค�ำ ท่ปี ระสมสระ -ื มีตัวสะกด ๒. สแ สงู ดองกั ชษารรตต์ ่�ำผตันาเมสียลง�ำ ดคับ�ำ ทจ่ีปารกะหสนมังสสรอื ะเร-ยี ึ นและค�ำ ท่ปี ระสมสระ -ื มีตวั สะกด ทข่ี ้ึนต้นดว้ ยอกั ษรกลาง อักษร ๓. คณุ ครผู ันเสียงให้นกั เรียนฟัง ๑ รอบ จากนนั้ ชีค้ ำ� และให้นกั เรยี นผนั เสยี งค�ำ จนคลอ่ ง (ชี้ทลี ะชาร์ต) ๔. ขั้นตอนการสอนผนั เสยี งค�ำ จะเหมือนกนั แต่คณุ ครูจะต้องสอนไปทลี ะชารต์ ๕. ค ณุ ครใู ห้นกั เรียนอ่านเรอื่ ง “ม้าน้าํ ไม่ใชม่ ้า” โดยให้นักเรยี นเขยี นหมายเลขกำ�กบั ย่อหนา้ และให้นกั เรยี น ชอ้ี ่านไปทีละย่อหนา้ แล้วท�ำ แบบฝึกหดั (สอนอา่ นตามขั้นตอน) ๓. ขั้นลงมอื เรียนรู้ ๑. คุณครูใหน้ กั เรยี นท�ำ ใบงานในหนังสอื เรียนหลงั จากสอนผันเสยี ง ๒. เมอื่ นกั เรียนทำ�แบบฝกึ เสร็จแล้วในแต่ละหน้า ใหน้ กั เรียนช่วยกันเฉลยในหอ้ ง ๓. ค ณุ ครสู ุ่มนกั เรยี นให้เปน็ ผู้เฉลยคำ�ตอบ เวยี นกนั ให้นกั เรียนได้พูดทกุ คน ๔. ถ า้ มีนกั เรยี นท�ำ หนา้ ที่เฉลย นักเรยี นคนอืน่ ๆ แสดงความคิดเห็นวา่ ถกู หรือ ผิด ๕. คณุ ครอู าจจะไมใ่ ช้วธิ ีนใี้ นทกุ หนา้ แตค่ วรจะให้เดก็ ได้มสี ว่ นรว่ ม ไดพ้ ดู ไดแ้ สดงความคิดเห็น ๔. ข้ันสรุปความรู้ ๑. แจกใบงาน ตารางผนั เสยี ง ๒. เม่ือนักเรียนทำ�ใบงานเสร็จทุกคน ให้นักเรียนช่วยกันเฉลย เพื่อ เป็นการทบทวน ๓. ตดิ ใบงานลงในสมุด ๕. ข้ันประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ๑. คณุ ครแู จกใบงาน Flip แตง่ ประโยค 3D-GO (Windows 6 บาน) ๒. น ักเรยี นไม่จ�ำ เปน็ ต้องแต่งประโยคเหมือนกันทกุ คน ๓. ตดิ ใบงานลงในสมดุ เครือ่ งมอื - ส่อื การเรยี นรู้ ๑. ชารต์ ผันเสยี งคำ�ท่ีประสมสระ -ึ และ - ื มตี ัวสะกด ที่ขึน้ ต้นด้วยอักษรกลาง อกั ษรสูง อักษรต�ำ่ ๒. กระดานเคลือ่ นที่ ๓. ใบงานตารางผนั เสียง ๔. ใบงาน Flip แตง่ ประโยค (3D-GO : Windows 6 บาน) การวดั และประเมินผล ๑. สงั เกตพฤตกิ รรมการอา่ น / การออกเสียง / การสะกดค�ำ ของนกั เรยี น ๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝึกหดั ของนกั เรียน (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรียน - หลังเรียน การเขียนตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ) บริษทั ธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 16

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ บทที่ ๑ (๓) : ต�ร�งผันเสียง  ใหน้ ักเรยี นดตู ารางผันเสียงต่อไปนี้ แล้วเขียนคำาลงในตารางใหถ้ กู ต้อง ผันเสยี งคำ�อกั ษรกล�ง เสยี งส�มัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสยี งจตั ว� องึ ------------------------------ อง้ึ ------------------------------ อึ๋ง ------------------------------ บึง่ ------------------------------ บง๊ึ ------------------------------ ตืน่ ตนื ------------------------------ ------------------------------ ตืน๋ ------------------------------ ------------------------------ ดืม้ ด๊มื ------------------------------ ผนั เสยี งค�ำ อักษรสูง เสียงส�มัญ เสียงเอก เสียงโท เสยี งตรี เสยี งจัตว� - ------------------------------ ผึ้ง - ผงึ - - - ห่ึง ------------------------------ - ------------------------------ - ผ่นื ------------------------------ - ------------------------------ ------------------------------ ------------------------------ ขนื เสยี งส�มญั ผนั เสียงค�ำ อักษรตำ่� เสยี งจัตว� ------------------------------ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี - - ซึง - นึ่ง น้งึ - - ------------------------------ ------------------------------ - ------------------------------ - ยนี้ื------------------------------ - ลืม่ ------------------------------ ------------------------------ บริษัทธารปัญญา จาำ กดั สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 17

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรียนรู้ บทที่ ๑ (๓) : Flip แต่งประโยค (3D-GO : Windows 6 บ�น)  ตดั รูป ตดิ ลงในชอ่ งให้ตรงกบั คำาศพั ท์ จากน้นั แตง่ ประโยคลงใน 3D-GO (Window 6 บาน) อง่ึ อ�่ ง น�้ำ ผึง้ ดดี ซึง มผี น่ื ถูพนื้ ตน่ื เช้�  พับ ตดั ตามรอยประ บริษทั ธารปญั ญา จำากดั สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 18

แผนก�รจัดก�รเรยี นรู้ หน่วยก�รเรยี นรู้ อ่�นออก เขยี นได้ เลม่ ๓ กลมุ่ ส�ระก�รเรยี นรู้ภ�ษ�ไทย ชั้นประถมศกึ ษ�ปีที่ ๑ บทท่ี ๒ เจ้�โตขดุ ดิน (๑) จำานวน ๓ ช่วั โมง ม�ตรฐ�นก�รเรียนรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชีวติ และมีนิสัยรักการอา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ๒. ตวั ชว้ี ดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำา คาำ คลอ้ งจอง และข้อความส้นั ๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และขอ้ ความที่อา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขยี นสะกดคำาและบอกความหมายของคาำ ส�ระส�ำ คัญ การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทป่ี ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใช้ จงึ จะสามารถ นาำ คาำ ไปใช้ไดถ้ กู ตอ้ งตามสถานการณ์ การอ่านเรือ่ งส้นั ๆ สามารถสรา้ งนสิ ยั รกั การอ่านของผเู้ รยี น จุดประสงคก์ �รเรยี นรู้ ๑. สามารถอา่ นคำาท่ปี ระสมสระมีตัวสะกดได้ ๒. อ่านเรอื่ งส้นั หรือนิทานได้ ๓. บอกความหมายของคำาได้ ส�ระก�รเรียนรแู้ กนกล�ง ๑. พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๒. การสะกดคำา การแจกลูก และการอ่านเปน็ คาำ ๓. การอ่านออกเสยี งและบอกความหมายของคำา คำาคลอ้ งจอง และขอ้ ความที่ประกอบดว้ ย คำาพ้นื ฐาน คอื คาำ ทีใ่ ชใ้ นชีวติ ประจาำ วนั ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คำา กระบวนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ มตบือซบ้านยมหืองซาา้ยยมเพอื ือ่ขนวา มตบือซบา้นยมหอื งซาา้ยยมเพอื อื่ขนวา ๑. ขนั้ นำ�เข้�สู่บทเรยี น ๑. คุณครูให้นักเรียน อ่านบทคล้องจอง “มีปลาอยู่ในบึง” พรอ้ มกนั จนคล่อง ๒. ใตหบน้ บกั นเรมยี ือนซจา้ บัยคเพู่ หื่อนันหสนลา้ ับเขมา้ อื หขาวกานั หมงาอื ยซา้ มยือหซง้าายยคมวอื ำ่าขวตาบคบวนาำ่ มือขวาเพอื่ นทำาสลับกันไปมาตามจงั หวะจนจบ ๓. คณุ ครตู ดิ ชารต์ คาำ คลอ้ งจอง “มปี ลา อยใู่ นบงึ ” ชใี้ หน้ กั เรยี น อ่านทีละประโยค บรษิ ัทธารปัญญา จาำ กัด สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 19

๒. ขั้นน�ำ เสนอคว�มรู้ คเุณขียคนรบูติดนชการระ์ตดหานรือ ๑. คุณครูแนะนาำ คำาทป่ี ระสมสระ -ุ มตี วั สะกด โดยแสดงบตั รภาพ บัตรคำา เช่น ขุด อดุ หงุ ยุง เป็นตน้ ๒. รอบแรกคณุ ครูอา่ น และสะกดใหน้ กั เรียนฟงั ก่อน ๓. คณุ ครชู ค้ี าำ ศพั ท์ และใหน้ กั เรยี นอา่ นสะกดทลี ะคาำ ยกตวั อยา่ งคาำ อนื่ อกี เพอื่ ใหเ้ ดก็ หดั สะกดจนคล่อง ๔. คณุ ครตู ิดชาร์ตเรอ่ื ง เจา้ โต ขุดดนิ หรือเขยี นบนกระดาน และสอนชอี้ า่ น ๕. ข้นั ตอนการสอนอา่ น มีดังน้ี ๕.๑ ให้นักเรยี นเขยี นหมายเลขกำากับย่อหนา้ เพอ่ื ให้นักเรยี นทราบว่า คณุ ครูกาำ ลงั อ่านยอ่ หน้าใด ๕.๒ คณุ ครอู า่ นใหน้ กั เรยี นฟงั และใหน้ กั เรยี นอา่ นตามไปทลี ะยอ่ หนา้ จนจบเรอื่ ง ๕.๓ คุณครูลองถามนักเรียน เช่น ย่อหน้าน้ีกล่าวถึงใคร ลูลูทำาอะไร เปน็ ต้น แลว้ ใหน้ ักเรียนตอบคาำ ถาม โดยไฮไลตค์ ำาตอบน้นั เขียนหมายเลขกาำ กบั ยอ่ หน้า นักเรียนชีอ้ ่านไปทลี ะยอ่ หนา้ ไฮไลต์ตอบคาำ ถาม (ตวั อยา งการสอนอา นมาจากเรอื่ งปลาบึก ในนํ้าลกึ ) ๓. ขนั้ ลงมอื เรยี นรู้ ๑. คุณครูทบทวนคาำ ทป่ี ระสมสระ -ุ มีตัวสะกด ๒. แจกกระดาษขนาด เอห้า (เอสี่แบง่ ครึง่ ) ให้นักเรยี นคนละ ๑ แผน่ ๓. คณุ ครูให้นกั เรยี นทำาบตั รภาพ บัตรคาำ คาำ ท่ีประสมสระ -ุ มีตัวสะกดของนกั เรยี นเอง ๔. คาำ ท่ีอยู่ในบตั รภาพ บัตรคำา สามารถดไู ดใ้ นหนงั สอื เรยี น ไมจ่ ำาเป็นต้องใช้คำาเดยี วกนั ทุกคน ๕. เมอ่ื นกั เรียนทำาบตั รภาพ บตั รคาำ เสรจ็ แลว้ คุณครนู ำาไปตดิ ไวบ้ นกระดาน ๖. คณุ ครูชีใ้ ห้นักเรยี นอา่ นบัตรภาพ บัตรคาำ บนกระดาน (ถา้ ม่คี ำาซา้ำ ใหอ้ ่านรอบเดียว) ๔. ขนั้ สรปุ คว�มรู้ ๑. คุณครพู านกั เรยี นอา่ นคำาที่ประสมสระ -ุ มีตัวสะกด ในหนงั สอื เรยี น ๒. แจกใบงาน สระ -ุ ซอ่ นอยูต่ รงไหน ๓. เมอื่ นกั เรียนทาำ เสร็จแลว้ ใหน้ กั เรียนอา่ นคาำ ทป่ี ระสมสระ -ุ มตี ัวสะกด ๔. ติดใบงานลงในสมุด ๕. ข้นั ประยุกต์ใช้คว�มรู้ ๑. คณุ ครแู จกใบงาน จกิ ซอวต์ อ่ ภาพตอ่ คาำ โดยคณุ ครอู ธบิ ายวธิ กี ารทาำ ใหช้ ดั เจน ๒. เมอ่ื นักเรียนทาำ ใบงานเสรจ็ แล้ว ให้เฉลยพรอ้ มกนั ในห้อง ๓. ตดิ ใบงานลงในสมุด บริษัทธารปญั ญา จำากดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 20

เครือ่ งมอื - สอื่ การเรยี นรู้ ๑ ชาร์ตคำ�คลอ้ งจอง “มปี ลา อยูใ่ นบงึ ” ๒. บตั รค�ำ คำ�ที่ประสมสระ -ุ มตี ัวสะกด ๓. กระดานเคลอ่ื นท่ี ๔. ใบงาน สระ -ุ ซ่อนอยู่ตรงไหน ๕. ใบงาน จกิ ซอว์ตอ่ ภาพ ต่อค�ำ การวดั และประเมินผล ๑. สังเกตพฤตกิ รรมการอา่ น / การออกเสียง / การสะกดค�ำ ของนกั เรียน ๒. ประเมินผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หดั ของนกั เรียน (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรยี น - หลงั เรยี น การเขียนตามคำ�บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ) บรษิ ัทธารปัญญา จ�ำ กดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 21

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรียนรู้ บทที่ ๒ (๑) : สระ -ุ ซ่อนอย่ตู รงไหน  ใหร้ ะบายสีเฉพาะช่องที่มีคำาทป่ี ระสมสระ -ุ มีตัวสะกด ดดี หิน รีด วดิ ขมิ สิง ทมี ตดิ คุด ตีน บีบ อุด ขดุ จุด รมิ ปุก ยุง ชมุ พิง ผิง หุง มุก ปนี กิน สกุ ลิง ซีด ขิง งบี ดนิ บิน บรษิ ัทธารปญั ญา จาำ กดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 22

ใบง�นประกอบแผนก�รสอน บทท่ี ๒ (๑) : จิกซอว์ต่อภ�พ ต่อคำ�  ตัดจกิ ซอว์คาำ แต่ละช้ิน แลว้ นำามาติดลงไปใตภ้ าพให้มคี วามหมายตรงกัน จากน้ันเขียนคาำ ซ้ำาอีกครง้ั ๑ ---------------------------------------------------- ๒ ---------------------------------------------------- ๓ ---------------------------------------------------- ๔ ---------------------------------------------------- ๕ ---------------------------------------------------- ๖ ---------------------------------------------------- ตดั ตามรอยประ มัง คุด ยุง ลาย หงุ ข้าว ไข่ มุก ขุด ดิน อุด หู  บริษทั ธารปญั ญา จาำ กัด สงวนลิขสทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 23

แผนก�รจัดก�รเรียนรู้ หน่วยก�รเรียนรู้ อ�่ นออก เขยี นได้ เลม่ ๓ กลมุ่ ส�ระก�รเรียนรู้ภ�ษ�ไทย ชนั้ ประถมศึกษ�ปีที่ ๑ บทท่ี ๒ เจ้�โตขุดดนิ (๒) จาำ นวน ๓ ช่วั โมง ม�ตรฐ�นก�รเรยี นรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชวี ิต และมนี สิ ัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ๒. ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคาำ คำาคลอ้ งจอง และข้อความสัน้ ๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และขอ้ ความทีอ่ า่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๓ ตอบคาำ ถามเกย่ี วกบั เร่อื งที่อ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขยี นสะกดคำาและบอกความหมายของคาำ ส�ระส�ำ คัญ การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทป่ี ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใช้ จงึ จะสามารถ นาำ คำาไปใชไ้ ดถ้ กู ต้องตามสถานการณ์ การอ่านเรือ่ งส้ันๆ สามารถสร้างนิสัยรกั การอา่ นของผเู้ รียน จดุ ประสงค์ก�รเรยี นรู้ ๑. สามารถอ่านคาำ ทปี่ ระสมสระมตี วั สะกดได้ ๒. อา่ นเรอื่ งสนั้ หรอื นิทานได้ ๓. บอกความหมายของคำาได้ ส�ระก�รเรยี นรแู้ กนกล�ง ๑. พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ๒. การสะกดคาำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำา ๓. การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคำา คาำ คลอ้ งจอง และข้อความที่ประกอบด้วย คาำ พ้ืนฐาน คือ คาำ ทใี่ ช้ในชีวิตประจาำ วนั ไม่นอ้ ยกว่า ๖๐๐ คำา ๔. อ่านจบั ใจความจากสื่อต่างๆ เชน่ เรอ่ื งสัน้ กระบวนก�รจดั ก�รเรียนรู้ ถ้าพูดวา่ \"น่ัง\" ถา้ พูดว่า \"ยืน\" ให้ยืนขึ้น ใหน้ ่งั ลง ๑. ขัน้ น�ำ เข้�สู่บทเรียน ๑. คณุ ครูทกั ทายนักเรียนก่อนเริม่ เรยี นหัวข้อใหม่ ๒. คุณครใู หน้ กั เรยี นเลน่ เกม “ทาำ สลบั กนั ” ๓. คณุ ครบู อกวิธีการเล่น คอื ถา้ บอกว่านั่ง ให้นักเรียนยืน ถา้ บอกว่ายืน ใหน้ ักเรียนน่งั ๔. เร่ิมจากส่ังง่าย เช่น ยืน น่งั เพ่ิมความยากเปน็ นัง่ ยืน ยืน บริษัทธารปญั ญา จำากัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 24

๒. ขน้ั นำ�เสนอความรู้ ๑. ค ุณครูแนะนำ�ค�ำ ที่ประสมสระ -ู มีตัวสะกด โดยแสดงบตั รภาพ บัตรค�ำ เช่น สงู ลบู จงู ลกู เป็นต้น ๒. รอบแรกคุณครอู า่ น และสะกดให้นกั เรยี นฟังก่อน ๓. ค ุณครูชค้ี ำ� และให้นกั เรียนอ่านสะกดทีละคำ� ยกตัวอย่างค�ำ อน่ื อีก เพื่อให้เด็ก หดั สะกดจนคลอ่ ง ๓. ข้นั ลงมอื เรยี นรู้ ๑. คุณครูให้นกั เรียนอ่านทบทวน และท�ำ แบบฝกึ หดั ในหนังสอื เรยี น ๒. แบง่ นกั เรียนออกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๓ คน ๓. ค ุณครแู จกการ์ดภาพ การด์ ค�ำ ใหน้ กั เรียนกลุ่มละ ๑ ชุด ๔. คุณครูอ่านค�ำ ให้นกั เรียนตบการ์ดภาพ และการ์ดค�ำ ให้ไดม้ ากท่สี ุด ๕. เมื่อจบเกม คุณครูพดู ครบทกุ คำ�แลว้ นบั คะแนน ๖. ก าร์ดคำ� ๑ แผน่ เทา่ กับ ๑ คะแนน และการด์ ภาพ ๑ แผน่ เทา่ กับ ๒ คะแนน รวมผลคะแนน ๗. ในแต่ละกลุ่ม ใครได้คะแนนรวมมากท่สี ดุ เป็นผู้ชนะ ๔. ขน้ั สรปุ ความรู้ ๑. คุณครพู านกั เรียนอา่ นคำ�ทป่ี ระสมสระ -ู มตี วั สะกด ในหนงั สือเรยี น ๒. แ จกใบงาน ประกอบคำ�ท่ีประสมสระ -ู มีตัว สะกด ๓. ให้นักเรียนตัดใบงาน จากนั้น นำ�ไปประกอบ ใหเ้ ป็นคำ� ๔. ตดิ คำ�ท่ีประกอบได้ลงในสมดุ ๕. ข้นั ประยุกต์ใช้ความรู้ ๑. คุณครูให้นกั เรยี นอา่ น เรอื่ ง พะยูน ในหนังสือเรียน ๒. ค ุณครใู หน้ ักเรยี นสรปุ เรื่อง พะยูน ลงในสมดุ ในรูปแบบของแผนผังความคิด ๓. หวั ขอ้ ที่ใหน้ ักเรยี นสรุป เชน่ ชอ่ื ทอ่ี ยู่อาศยั ลักษณะ อาหาร เป็นตน้ ๔. ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หัดเร่ืองพะยนู ในหนังสือเรยี น เครอื่ งมือ - ส่อื การเรยี นรู้ ๑. บตั รค�ำ คำ�ทปี่ ระสมสระ -ู มตี วั สะกด ๒. กระดานเคลื่อนที่ ๓. ใบงานการ์ดภาพ-การ์ดคำ� ๔. ใบงาน ประกอบคำ�ทีป่ ระสมสระ -ู มีตัวสะกด การวดั และประเมินผล ๑. สังเกตพฤติกรรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดคำ� ของนกั เรยี น ๒. ป ระเมนิ ผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หดั ของนกั เรยี น (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรียน - หลังเรยี น การเขียนตามคำ�บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ) บรษิ ัทธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 25

ใบง�นประกอบแผนก�รสอน บทที่ ๒ (๒) : ตัดตามรอยประ ก�ร์ดภ�พ-ก�รด์ คำ�   ตัดตามรอยประ ฝงู พดู สูง ดูด สดู จูง ลกู ลบู ปูด สูบ ปูน บูด บริษทั ธารปญั ญา จำากัด สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 26

ใบง�นประกอบแผนก�รสอน บทท่ี ๒ (๒) : ประกอบคำ�ที่ประสมสระ -ู มีตวั สะกด  ระบายสี ตัดตามรอยประ แล้วนาำ มาต่อกันให้เปน็ คำา จากน้ันนาำ ไปตดิ ลงในสมุด ตดั ตามรอยประ  พะยนู จูงมา้ ฝงู กา ฝูงลิง ลูกไก่ เจา้ ตบู บริษัทธารปญั ญา จำากัด สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 27

แผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ หนว่ ยก�รเรียนรู้ อ�่ นออก เขยี นได้ เล่ม ๓ กลุ่มส�ระก�รเรยี นรู้ภ�ษ�ไทย ช้ันประถมศึกษ�ปที ่ี ๑ บทที่ ๒ เจ้�โตขดุ ดนิ (๓) จำานวน ๔ ช่วั โมง ม�ตรฐ�นก�รเรียนรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชีวติ และมนี ิสยั รักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ ๒. ตวั ชวี้ ดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสยี งคาำ คาำ คลอ้ งจอง และขอ้ ความสัน้ ๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และข้อความท่ีอา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขียนสะกดคาำ และบอกความหมายของคาำ ส�ระสำ�คัญ การเรียนรู้การผนั สียงคำาอกั ษรกลาง สงู ตำ่า บอกความหมายและหลกั การใช้ จึงจะสามารถนาำ คำาไปใชไ้ ด้ถกู ต้อง ตามสถานการณ์ การอ่านเร่ืองสนั้ ๆ สามารถสร้างนิสัยรักการอ่านของผเู้ รยี น จุดประสงคก์ �รเรียนรู้ ๑. สามารถอ่านคาำ ท่ปี ระสมสระมตี วั สะกดได้ ๒. อ่านเรอื่ งสัน้ หรอื นิทานได้ ๓. บอกความหมายของคาำ ได้ ส�ระก�รเรยี นรู้แกนกล�ง ๑. พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๒. การสะกดคำา การแจกลูก และการอา่ นเป็นคาำ ๓. การผันคำา ๔. การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคาำ คาำ คลอ้ งจอง และข้อความท่ีประกอบด้วย คาำ พื้นฐาน คอื คาำ ทใ่ี ช้ในชีวติ ประจาำ วัน ไมน่ ้อยกว่า ๖๐๐ คำา กระบวนก�รจดั ก�รเรียนรู้ แพะ แกะ กุ้ง ๑. ข้นั น�ำ เข้�สบู่ ทเรียน ๑. คณุ ครเู ตรียมความพร้อมกอ่ นเรียน ด้วยการใหท้ าำ เบรนยมิ ๒. คุณครูอธิบายวิธีเล่น คือ ถ้าพูดว่า “แพะ” ให้ตบมือ ถ้าพูดว่า “แกะ” ใหต้ บโต๊ะ และถา้ พูดวา่ “กุง้ ” ใหต้ บวดื ๓. ขั้นแรกให้คณุ ครพู ูดจงั หวะทงี่ ่ายก่อน เชน่ แพะ แกะ กุง้ จากนน้ั เรม่ิ คาำ สลบั เชน่ กงุ้ แกะ แพะ และเพมิ่ จาำ นวนคาำ สงั่ หรอื เรว็ ขน้ึ เชน่ กุง้ กุง้ แกะ ก้งุ แพะ เปน็ ต้น บรษิ ัทธารปัญญา จาำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 28

๒. ข้นั น�ำ เสนอคว�มรู้ 29 ๑. คณุ ครทู บทวนคาำ ทีป่ ระสมสระ -ุ และ คาำ ทีป่ ระสมสระ -ู มีตวั สะกด ๒. แทสข่ี ดน้ึ งตชน้ าดรต้ว์ ยผอนั ักเสษยี รงกคลาำาทงปี่ อรักะษสรมสสูงระอัก-ุษแรลตะา่ำ คตาำ าทมป่ี ลรำาะดสับมสระ -ู มตี วั สะกด ๓. คุณครูผันเสียงให้นักเรียนฟัง ๑ รอบ จากนั้นช้ีคำา และให้นักเรียนผัน เสียงคาำ จนคล่อง (ชี้ทีละชารต์ ) ๔. ขั้นตอนการสอนผันเสียงคำาจะเหมอื นกัน แต่คณุ ครจู ะต้องสอนไปทลี ะ ชาร์ต ๓. ข้นั ลงมือเรียนรู้ ๑. คสูงณุ อคกัรูพษารนต่ำาักเใรนียหนนอัง่าสนอื ทเป่ีรยีรนะสตมามสลระาำ ด-บัุ และคาำ ทีป่ ระสมสระ -ู มีตัวสะกด ทข่ี ้นึ ต้นดว้ ยอกั ษรกลาง อกั ษร ๒. เม่อื นักเรียนสามารถอา่ นไดค้ ล่องแลว้ ให้นักเรียนทำาแบบฝกึ หัดในหนังสือเรยี นตามหัวขอ้ ท่ีสอน ๓. คณุ ครูตรวจสอบความเขา้ ใจ ในหลกั การผันเสียงของนกั เรยี น โดยตดิ บัตรคาำ ศัพทๆ์ วบ้ นกระดาน ๔. ส่มุ ให้นักเรียนออกมาหนา้ หอ้ ง เลือกบตั รคำาศพั ท์ ๑ ใบ แลว้ พาเพ่อื นในห้องผนั เสยี งคาำ น้นั ๕. เพอ่ื นคนอื่นๆ ในหอ้ งผนั เสียงตาม แลว้ เขียนคำาศพั ทพ์ รอ้ มผนั เสียงลงในสมดุ ๔. ขั้นสรุปคว�มรู้ ๑. แจกใบงาน ผนั เสยี งให้ถูก ใหน้ กั เรยี น ๒. เมื่อนักเรียนทำาใบงานเสร็จทุกคน ให้นักเรียนช่วยกันเฉลย เพ่ือ เป็นการทบทวน ๓. ติดใบงานลงในสมุด ๕. ขั้นประยุกต์ใช้คว�มรู้ ๑. คุณครูทาำ บัตรคาำ ศพั ทค์ ำาทป่ี ระสมสระ -ุ และ คำาทป่ี ระสมสระ -ู มีตวั สะกด จากใบงานบตั รคาำ ศัพท์ใบค้ ำา ๒. เขียนคำาท่ีอยู่ในบัตรคำาศัพท์ ไว้บนกระดานให้ครบทุกคำา เพ่ือช่วยให้ นกั เรียนร้ขู อบเขตของคำา ๓. สมุ่ นกั เรยี นออกมาหนา้ หอ้ ง โดยใหด้ คู าำ ในบตั รคาำ ศพั ท์ แลว้ ใบค้ าำ ใหเ้ พอื่ น ในห้องทายว่าเป็นคำาใด เริ่มจากคาำ ท่ีงา่ ยๆ กอ่ น ๔. คณุ ครูจับเวลา คำาละ ๑ นาที ถ้าไม่มใี ครทายถกู จะตอ้ งข้ามคำานัน้ ไป แล้วให้นักเรยี นคนตอ่ ไปออกมาเปน็ คนใบค้ น ๕. เวยี นแบบนไ้ี ปเรอ่ื ยๆ จนกวา่ จะครบทกุ คาำ คาำ ทนี่ กั เรยี นตอบถกู แลว้ ใหค้ ณุ ครขู ดี คาำ ศพั ทค์ าำ นน้ั บนกระดาน เครอื่ งมือ - สอื่ ก�รเรยี นรู้ ๑. ชารต์ ผันเสียงคำาท่ปี ระสมสระ -ุ และ -ู มีตัวสะกด ที่ข้นึ ตน้ ด้วยอกั ษรกลาง อักษรสงู อักษรตาำ่ ๒. กระดานเคลือ่ นท่ี ๓. ใบงาน ผนั เสียงใหถ้ ูก ๔. ใบงาน บัตรคาำ ศพั ท์ใบ้คำา ก�รวัดและประเมนิ ผล ๑. สงั เกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสียง / การสะกดคาำ ของนักเรยี น ๒. ประเมนิ ผลจากคะแนนการทำาแบบฝกึ หัดของนักเรยี น (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรยี น - หลังเรยี น การเขียนตามคาำ บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ) บรษิ ทั ธารปญั ญา จำากดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒

ใบง�นประกอบแผนก�รจัดก�รเรียนรู้ บทที่ ๒ (๓) : ผันเสียงใหถ้ กู  ผันเสียงคำาทีก่ าำ หนดให้ตอ่ ไปนี้ ลงในตารางผนั เสยี งใหถ้ ูกตอ้ ง เสียงส�มญั เสียงเอก เสียงโท เสยี งตรี เสียงจัตว� กงุ กุ่ง ----------------------------------- ------------------------------ กุง ตุน ------------------------------ ตุ้น ตุ๊น ------------------------------ ------------------------------ ปุย่ ปยุ ปยุ ------------------------------ - สมุ้ - สมุ------------------------------ - หนุ้ - หุน------------------------------ ------------------------------ - ยงุ่ ------------------------------ - มงุ - ------------------------------- ------------------------------ บริษัทธารปัญญา จาำ กดั สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 30

ใบง�นประกอบแผนก�รจัดก�รเรียนรู้ บทท่ี ๒ (๓) : ตดั ตามรอยประ บัตรคำ�ศัพท์ใบ้คำ� หนุ่  ตดั ตามรอยประ ยุง กุง้ ฝุ่น อมุ้ แมงมุม กางมงุ้ คุ้ยเขีย่ ลูบหัว ดดู ฝุ่น องุ้ มอื มดุ โตะ๊ ขุดดิน ขนุ นาง ถือถุง ทบุ ดิน วุ่นวาย ผกั บุ้ง จุ่มนำ้า หงุ ขา้ ว มุงดู จูงวัว เจา้ ทยุ พดู คยุ อุดหู ตมุ้ หู ลกู ลงิ ดดู น้ำา  บริษัทธารปญั ญา จาำ กดั สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 31

แผนก�รจดั ก�รเรียนรู้ หนว่ ยก�รเรยี นรู้ อ�่ นออก เขยี นได้ เลม่ ๓ กลมุ่ ส�ระก�รเรยี นรู้ภ�ษ�ไทย ชน้ั ประถมศึกษ�ปีท่ี ๑ บทท่ี ๓ เปดห�ย (๑) จำานวน ๓ ชว่ั โมง ม�ตรฐ�นก�รเรยี นรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชวี ติ และมนี สิ ัยรกั การอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ ๒. ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสยี งคำา คำาคลอ้ งจอง และข้อความสน้ั ๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และขอ้ ความที่อา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขียนสะกดคำาและบอกความหมายของคาำ ส�ระสำ�คญั การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทปี่ ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใช้ จงึ จะสามารถ นาำ คำาไปใช้ไดถ้ ูกต้องตามสถานการณ์ การอ่านเร่ืองส้นั ๆ สามารถสรา้ งนิสัยรักการอา่ นของผเู้ รยี น จุดประสงคก์ �รเรยี นรู้ ๑. สามารถอ่านคำาท่ปี ระสมสระมีตัวสะกดได้ ๒. อา่ นเรอื่ งส้นั หรือนทิ านได้ ๓. บอกความหมายของคาำ ได้ ส�ระก�รเรยี นรแู้ กนกล�ง ๑. พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ๒. การสะกดคำา การแจกลูก และการอา่ นเป็นคำา ๓. การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคาำ คำาคล้องจอง และขอ้ ความทป่ี ระกอบด้วย คำาพน้ื ฐาน คือ คาำ ท่ใี ชใ้ นชีวติ ประจำาวนั ไม่นอ้ ยกว่า ๖๐๐ คาำ กระบวนก�รจัดก�รเรียนรู้ ตบมือ สองมือตบโต๊ะ ๑. ข้ันน�ำ เข�้ สูบ่ ทเรยี น ๑. คณุ ครใู หน้ กั เรยี นอา่ นบทคลอ้ งจอง “ลงุ บญุ ขายแตงโม” พรอ้ มกนั จนคลอ่ ง ๒. เม่ือทอ่ งจนคลอ่ งแล้ว ให้นกั เรยี นเคลื่อนไหวประกอบจงั หวะ ใชจ้ งั หวะท่ี สนุก เช่น ตบมอื สองมอื ตบโตะ๊ มอื ขวาตบโต๊ะ ตามจังหวะจนจบเพลง ๓. คุณครูติดชาร์ตคำาคล้องจอง “ลุงบุญ ขายแตงโม” บนกระดานเคลื่อนท่ี ชี้และใหน้ กั เรยี นอ่านทลี ะประโยค มอื ขวาตบโต๊ะ บริษัทธารปัญญา จำากัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 32

๒. ขน้ั นำ�เสนอคว�มรู้ คเุณขียคนรบูตดินชการระต์ ดหานรอื ๑. คณุ ครูแสดงบัตรคำา พยญั ชนะ + สระ เ-ะ + ตวั สะกด และตดิ เปน็ คาำ อ่าน เชน่ ป + เ-ะ + ด เป็ด บนกระดานเคลอ่ื นท่ี ๒. สอนใหน้ ักเรียนอา่ น และอธบิ ายว่า สระ เ-ะ เปล่ยี นรปู ไปเปน็ ไม้ไต่คู้ -็ ๓. ฝกึ หลายๆ คำา จนนักเรียนสามารถสะกดคาำ ได้คลอ่ ง ๔. คุณครูติดชาร์ตเรอื่ ง เปด็ หาย หรือเขยี นบนกระดาน และสอนชอ้ี ่าน ๕. ข้ันตอนการสอนอา่ น มดี ังน้ี ๕.๑ ให้นักเรยี นเขยี นหมายเลขกาำ กบั ยอ่ หนา้ เพ่อื ใหน้ ักเรียนทราบว่า คุณครูกำาลงั อา่ นยอ่ หนา้ ใด ๕.๒ คณุ ครอู า่ นใหน้ กั เรยี นฟงั และใหน้ กั เรยี นอา่ นตามไปทลี ะยอ่ หนา้ จนจบเร่ือง ๕.๓ คณุ ครูลองถามนกั เรยี น เชน่ ยอ่ หนา้ นก้ี ลา่ วถงึ ใคร กำาลงั ทำาอะไร เปน็ ตน้ แลว้ ให้นักเรียนตอบคำาถาม โดยไฮไลต์คาำ ตอบน้ัน เขียนหมายเลขกำากับยอ่ หนา้ นกั เรียนชีอ้ า่ นไปทลี ะย่อหนา้ ไฮไลตต์ อบคาำ ถาม (ตัวอยางการสอนอานมาจากเรอ่ื ง ปลาบกึ ในน้ําลึก) ๓. ข้นั ลงมอื เรียนรู้ เห็ด เยน็ ๑. คณุ ครตู ดิ บตั รภาพ และบตั รคาำ ทปี่ ระสมสระ เ-ะ มตี วั สะกด บนกระดาน เปด เด็ก ๒. ตดิ บัตรภาพไว้ฝังซา้ ย ตดิ บตั รคาำ ไวฝ้ งั ขวา ๓. คณุ ครูพานกั เรียนอา่ นบัตรคำา บนกระดานพรอ้ มกันทั้งหอ้ ง ๔. คุณครู ช้ไี ปท่บี ตั รภาพ พรอ้ มกับถามนักเรียนวา่ รปู นต้ี รงกับคำาใด ๕. นักเรียนในห้องช่วยกันตอบ จากน้ันคุณครูนำาบัตรภาพไปติดไว้ใต้บัตร คำา ตามทน่ี ักเรียนตอบ ๖. ทำากิจกรรมนี้จนครบทกุ คำา ๔. ข้ันสรปุ คว�มรู้ ๑. คณุ ครใู ห้นกั เรยี นอ่านเรอ่ื งสั้น เร่ือง ดาวลูกไก่ ในหนงั สอื เรยี น ๒. ให้นกั เรียนทำาแบบฝกึ หดั ในหนงั สือเรยี น ๓. คุณครแู จกใบงาน พยัญชนะ + สระ เ-ะ + ตัวสะกด เพ่ือสรุปความเขา้ ใจ ของนกั เรียน ๔. ตดิ ใบงานลงในสมดุ ๕. ขน้ั ประยุกต์ใช้คว�มรู้ ๑. คุณครแู จกใบงาน Flip คาำ ทีป่ ระสมสระ เ-ะ มตี วั สะกด ๒. ตดั พยญั ชนะตามรอยประ แลว้ นาำ ไปตดิ ลงในชอ่ งวา่ ง เรยี งลาำ ดบั ซอ้ น กันตามตัวเลขทก่ี าำ หนดให้ ๓. ติด Flip คาำ ท่ีประสมสระ เ-ะ- มตี ัวสะกด ลงในสมุด นกั เรียนอา่ นคาำ ทไ่ี ดพ้ ร้อมกันท้งั หอ้ ง บริษทั ธารปญั ญา จาำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 33

เครื่องมอื - ส่ือการเรียนรู้ ๑. บตั รค�ำ พยัญชนะ สระ เ-ะ ๒. กระดานเคลือ่ นท่ี ๓. บตั รภาพ บัตรคำ�ท่ปี ระสมสระ เ-ะ มีตวั สะกด ๔. ใบงาน พยญั ชนะ + สระ เ-ะ + ตัวสะกด (3D-GO : Windows 6 บาน) ๕. ใบงาน หัดอ่านค�ำ สระ เ-ะ มตี ัวสะกด (3D-GO : Flip) การวดั และประเมนิ ผล ๑. สังเกตพฤตกิ รรมการอา่ น / การออกเสียง / การสะกดค�ำ ของนักเรียน ๒. ป ระเมนิ ผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝกึ หัดของนกั เรียน (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรียน - หลงั เรียน การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ) บรษิ ทั ธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 34

ใบง�นประกอบแผนก�รจัดก�รเรียนรู้ บทที่ ๓ (๑) : พยญั ชนะ + สระ เ-ะ + ตัวสะกด (3D-GO : Windows 6 บ�น)  ตดั รปู แล้วติดลงในชอ่ งท่ีมคี วามหมายตรงกนั จากน้ันเขียนคาำ ไว้ด้านใน GO ตัดตามรอยประ พบั ด-เ ะ-ก ย-เ ะ-บ ค-เ ะ-ม ช-เ ะ-ด ห-เ ะ-ด ป-เ ะ-ด  บรษิ ทั ธารปัญญา จำากัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 35

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรียนรู้ บทท่ี ๓ (๑) : หัดอ�่ นคำ�สระ เ-ะ มตี ัวสะกด (3D-GO : Flip)  ตัดพยญั ชนะดา นลางตามรอยประ แลว นาํ มาตดิ ลงในชอ งวา ง เรียงซอ นกันตามลําดบั ตัวเลขทีก่ ําหนดให เ บ็ ด๗. ทากาว ตัดตามรอยประ  มจ๑. ดห๒. ทากาว ผช๓. ทากาว  ๔. ทากาว ๕. ทากาว ๖. ทากาว บรษิ ทั ธารปัญญา จาำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 36

แผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ หน่วยก�รเรียนรู้ อ�่ นออก เขยี นได้ เล่ม ๓ กล่มุ ส�ระก�รเรียนรู้ภ�ษ�ไทย ช้ันประถมศกึ ษ�ปที ่ี ๑ บทที่ ๓ เปด ห�ย (๒) จำานวน ๓ ชัว่ โมง ม�ตรฐ�นก�รเรยี นรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชีวิต และมีนิสยั รกั การอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ ๒. ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสียงคาำ คาำ คลอ้ งจอง และข้อความสั้นๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และขอ้ ความที่อา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขยี นสะกดคำาและบอกความหมายของคาำ ส�ระสำ�คญั การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทป่ี ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใชจ้ งึ จะสามารถ นำาคาำ ไปใช้ได้ถูกตอ้ งตามสถานการณ์ การอ่านเรือ่ งส้ันๆ สามารถสรา้ งนสิ ยั รักการอ่านของผเู้ รยี น จุดประสงค์ก�รเรยี นรู้ ๑. สามารถอ่านคาำ ที่ประสมสระมตี วั สะกดได้ ๒. อ่านเร่อื งสน้ั หรือนทิ านได้ ๓. บอกความหมายของคำาได้ ส�ระก�รเรียนร้แู กนกล�ง ๑. พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๒. การสะกดคาำ การแจกลกู และการอา่ นเป็นคาำ ๓. การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคำา คำาคล้องจอง และขอ้ ความท่ีประกอบดว้ ย คาำ พนื้ ฐาน คอื คาำ ทใ่ี ช้ในชีวิตประจาำ วัน ไมน่ ้อยกวา่ ๖๐๐ คาำ กระบวนก�รจัดก�รเรยี นรู้ ตบมอื ตบไหล่ ๑. ขนั้ น�ำ เข้�ส่บู ทเรยี น ๑. นักเรยี นร้องและเคลอื่ นไหวประกอบตามจงั หวะ เพลง“มือ มอื มือ” ๒. มอื มอื มือ ตบตกั ตบมือ ตบมอื ตบไหล่ (ซาำ้ ) แลว้ สลับ แล้วสลบั กันไป (ซาำ้ ) ตบตัก ตบไหล่ ตบมือ ตบมอื ตบตัก บรษิ ทั ธารปญั ญา จำากดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 37

๒. ขน้ั นำ�เสนอความรู้ ๑. ค ณุ ครูแนะน�ำ คำ�ทปี่ ระสมสระ เ- ที่มีตวั สะกด โดยแสดงบัตรพยัญชนะ บัตร สระ เ- บตั รตวั สะกด เช่น เขก เขน เวง เกง เอน เลน ๒. รอบแรกคุณครอู ่าน และสะกดให้นกั เรียนฟงั ก่อน ๓. ค ณุ ครชู คี้ �ำ และใหน้ กั เรยี นอา่ นสะกดทลี ะค�ำ ยกตวั อยา่ งค�ำ อน่ื อกี เพอ่ื ใหเ้ ดก็ หัดสะกดจนคลอ่ ง ๔. ค ุณครูเอาบัตรพยัญชนะ บัตรสระ เ- บัตรตัวสะกดออก ช้ีไปท่ีคำ�ศัพท์ให้ นกั เรียนสะกดเอง ๓. ขั้นลงมอื เรยี นรู้ ๑. ค ณุ ครพู านกั เรยี นหดั อา่ นค�ำ ทป่ี ระสม สระ เ- มตี วั สะกดในหนงั สอื เรยี น ๒. คุณครูแจกใบงาน ตารางเคาะคำ� ให้นักเรยี น ๓. ค ุณครพู านกั เรียนอ่านคำ�ในตารางเคาะจาก ๑-๙ ๔. ใหน้ ักเรยี นใชป้ ากไฮไลต์เคาะ ตามคำ�ท่ีคุณครูอา่ น โดยเรม่ิ จาก ๑-๙ ๕. คุณครูเริม่ อ่านสองคำ�พรอ้ มกนั เชน่ ๑ ๒ แล้วใหน้ ักเรียนเคาะ ๑ ๒ พร้อมกับอ่านออกเสยี งดงั ๆ ๖. เพิ่มความยากโดยการอ่านเพิ่มเปน็ สามคำ� และอ่านสลบั หมายเลข ๔. ขั้นสรปุ ความรู้ ๑. คณุ ครใู ห้นกั เรยี นทำ�ใบงาน ประสมค�ำ สระ เ- มีตวั สะกด ๒. ให้นักเรยี นตดั คำ�ศพั ทด์ ้านล่างมาตดิ ประสมใหเ้ ป็นค�ำ ท่ีตรงกับรูป ๓. ตดิ ใบงานลงในสมดุ ๕. ขนั้ ประยกุ ต์ใช้ความรู้ ๑. แ บ่งนักเรยี นออกเป็น ๕ กลมุ่ กลุม่ ละเท่าๆ กัน ๒. คุณครูคดิ ประโยคท่มี ีค�ำ ท่ปี ระสมสระ เ- มตี ัวสะกด อยใู่ นประโยคดว้ ย เขียนใสก่ ระดาษ ๓. ให้นักเรยี นต่อแถวกัน คนแรกของแตล่ ะกลุ่มจะได้อา่ นประโยคในกระดาษ จากนนั้ จ�ำ และไปกระซิบบอก เพ่อื นคนต่อไป ๔. กระซิบต่อกันไปเรื่อยๆ จนครบทุกคนในกลุ่ม คนสุดท้ายไปเขียนบนกระดานว่าประโยคท่ีได้ยิน เขียน อยา่ งไร เคร่อื งมอื - สือ่ การเรียนรู้ ๑. บัตรคำ� บัตรพยัญชนะ สระ เ- ๒. กระดานเคลอ่ื นที่ ๓. ใบงาน เคาะคำ�แสนสนุก ๔. ใบงาน ประสมคำ�สระ เ- มตี วั สะกด การวดั และประเมินผล ๑. ส งั เกตพฤตกิ รรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนกั เรยี น ๒. ประเมนิ ผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝึกหดั ของนกั เรยี น (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ กอ่ นเรียน - หลงั เรยี น การเขียนตามค�ำ บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ) บริษทั ธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 38

1เอก 2เขก 3เขน ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ บทท่ี ๓ (๒) : 4เวง 5เกง 6เอน 7เลน 8เอง 9เจนเค�ะค�ำ แสนสนุก บรษิ ัทธารปัญญา จาำ กดั สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 39

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรียนรู้ บทท่ี ๓ (๒) : ประสมคำ�สระ เ- มีตัวสะกด  ตดั คาำ ศพั ทด์ ้านลา่ ง แล้วนำามาตดิ ลงในชอ่ ง  ให้มีความหมายตรงกบั รปู ภาพ จากนั้น เขียนคาำ ศัพท์ลงในชอ่ งว่างอกี คร้งั ๑ ------------------------------------------------------ ๒ ------------------------------------------------------ ๓ ------------------------------------------------------ ๔ ------------------------------------------------------ ๕ ------------------------------------------------------ ตดั ตามรอยประ  ก�ง เอน ลกู เขน เสก ตัว ก�ง เกง เป� เกด บรษิ ทั ธารปญั ญา จาำ กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 40

แผนก�รจัดก�รเรยี นรู้ หน่วยก�รเรียนรู้ อ่�นออก เขยี นได้ เล่ม ๓ กลมุ่ ส�ระก�รเรียนรู้ภ�ษ�ไทย ชั้นประถมศกึ ษ�ปีท่ี ๑ บทท่ี ๓ เปด ห�ย (๓) จำานวน ๓ ช่วั โมง ม�ตรฐ�นก�รเรยี นรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชีวติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำา คำาคล้องจอง และข้อความสัน้ ๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และข้อความทอ่ี ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขียนสะกดคำาและบอกความหมายของคำา ส�ระสำ�คญั การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทปี่ ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใช้ จงึ จะสามารถ นำาคำาไปใช้ไดถ้ ูกต้องตามสถานการณ์ การอา่ นเรอ่ื งส้นั ๆ สามารถสร้างนสิ ยั รกั การอ่านของผูเ้ รยี น จุดประสงคก์ �รเรียนรู้ ๑. สามารถอา่ นคาำ ท่ีประสมสระมตี วั สะกดได้ ๒. อ่านเรอื่ งส้ันหรือนิทานได้ ๓. บอกความหมายของคาำ ได้ ส�ระก�รเรียนรูแ้ กนกล�ง ๑. พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๒. การสะกดคาำ การแจกลูก และการอ่านเปน็ คำา ๓. การอ่านออกเสยี งและบอกความหมายของคำา คาำ คล้องจอง และข้อความท่ีประกอบด้วย คำาพน้ื ฐาน คือ คาำ ที่ใชใ้ นชวี ิตประจาำ วนั ไมน่ อ้ ยกว่า ๖๐๐ คาำ กระบวนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ ๑. ขน้ั นำ�เข้�สู่บทเรยี น ๑. คณุ ครูใหน้ ักเรียนรอ้ งและเคลอ่ื นไหวประกอบตามจงั หวะเพลง “จับหัว จับหู จับไหล”่ ๒. จับหวั จบั หู จับไหล่ (ซำ้า) จบั ดใู หม่ จบั ไหล่ จบั หู จบั ใหม่ จบั ใหฉ้ ันดู (ซ้ำา) จบั หัว จับหู แล้วมาจบั ไหล่ จบั หวั จบั หู จบั ไหล่ บริษทั ธารปญั ญา จาำ กดั สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 41

๒. ขนั้ นำ�เสนอความรู้ ๑. ค ณุ ครูแนะน�ำ คำ�ทปี่ ระสมสระ แ- ท่มี ตี ัวสะกด โดยแสดงบัตรพยัญชนะ บัตร สระ แ- บตั รตวั สะกด เชน่ แยก แขน แบน แลบ แฝด ๒. รอบแรกคณุ ครูอา่ น และสะกดให้นกั เรียนฟงั ก่อน ๓. ค ณุ ครชู คี้ �ำ และใหน้ กั เรยี นอา่ นสะกดทลี ะค�ำ ยกตวั อยา่ งค�ำ อน่ื อกี เพอ่ื ใหเ้ ดก็ หดั สะกดจนคล่อง ๔. ค ุณครูเอาบัตรพยัญชนะ บัตรสระ แ- บัตรตัวสะกดออก ช้ีไปท่ีคำ�ศัพท์ให้ นกั เรียนสะกดเอง ๓. ขนั้ ลงมอื เรยี นรู้ ๑. คณุ ครพู านกั เรียนหัดอา่ นค�ำ ทป่ี ระสม สระ แ- มีตวั สะกด ในหนังสอื เรยี น ๒. แ บ่งนกั เรียนเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๓ คน ๓. ค ณุ ครูแจกการ์ดตบคำ�ที่ประสมสระ แ- มตี ัวสะกดใหน้ กั เรียน กล่มุ ละ ๑ ชุด (๑๒ ค�ำ ) ๔. วางการ์ดตบไว้บนโตะ๊ ใหเ้ หน็ คำ�ชัดเจน ๕. ค ณุ ครอู า่ นค�ำ ทอ่ี ยใู่ นการด์ ตบ ใหน้ กั เรยี นแยง่ กนั ตบการด์ ค�ำ ทค่ี ณุ ครอู า่ น แล้วน�ำ มาไว้หนา้ ตัวเอง ๖. ใครตบการ์ดไดม้ ากทส่ี ุดเปน็ ผู้ชนะ จากน้นั ใหน้ ักเรียน ท�ำ แบบฝกึ หัดในหนังสอื เรียน ๔. ขน้ั สรปุ ความรู้ ๑. คุณครูให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัดในหนังสือ เรียน ๒. สรปุ ความรู้ ดว้ ยการใหน้ กั เรยี นท�ำ ใบงาน ค�ำ ทีป่ ระสมสระ แ- มีตวั สะกด ๓. ตดิ ใบงานลงในสมุด ๕. ขน้ั ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ๑. ค ณุ ครูเตรียมบทกลอน นิทาน หรือเรื่องสนั้ ไม่เกนิ คร่ึงหนา้ กระดาษ (เลอื กอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ) ๒. ค ุณครแู จกคนละแผ่น ใหน้ กั เรียนไฮไลตค์ ำ�ที่ประสมสระ แ- มีตัวสะกด ๓. ติดเน้อื หาทไ่ี ฮไลต์ลงสมุด และเขียนคำ�ทไ่ี ฮไลต์ลงในสมดุ ทุกค�ำ เคร่ืองมอื - สือ่ การเรียนรู้ ๑. บัตรคำ� บตั รพยัญชนะ สระ เ- ๒. กระดานเคลอื่ นที่ ๓. ใบงาน การด์ ตบค�ำ ทป่ี ระสมสระ แ- มีตัวสะกด ๔. ใบงาน คำ�ทปี่ ระสมสระ แ- มตี วั สะกด (3D-GO : Window 1 บาน) การวัดและประเมินผล ๑. ส งั เกตพฤติกรรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนกั เรียน ๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หัดของนักเรยี น (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรยี น - หลงั เรยี น การเขียนตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ) บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 42

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรียนรู้ บทที่ ๓ (๓) : ตัดตามรอยประ  ก�รด์ ตบคำ�ทปี่ ระสมสระ แ- มีตัวสะกด  แจกการด์ ตบใหน้ กั เรียนกลุ่มละ ๑ ชดุ แขน แกง แดด แมว แยม แพง แอบ แยก แตน แบก แถว แรด บริษทั ธารปัญญา จำากดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 43

ใบง�นประกอบแผนก�รจัดก�รเรยี นรู้ บทท่ี ๓ (๓) : คำ�ท่ปี ระสมสระ แ- มีตัวสะกด (3D-GO : Window 1 บ�น)  ตดั ตามรอยประ แลว้ ติดบตั รภาพ บัตรคำา ลงใน 3D-GO สระ แ- ตดั ตามรอยประ พับ ำค� ่ทีประสม แดด แยม สระ ีม ัตวสะกด แกง แตน แตก แมว แฝด พับ แขน แรด   บริษัทธารปัญญา จาำ กัด สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 44

แผนก�รจัดก�รเรียนรู้ หนว่ ยก�รเรยี นรู้ อ่�นออก เขียนได้ เลม่ ๓ กลุม่ ส�ระก�รเรียนร้ภู �ษ�ไทย ชนั้ ประถมศกึ ษ�ปีท่ี ๑ บทที่ ๓ เปด ห�ย (๔) จาำ นวน ๔ ชวั่ โมง ม�ตรฐ�นก�รเรียนรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชวี ติ และมีนิสยั รักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ๒. ตวั ชวี้ ดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสียงคำา คำาคลอ้ งจอง และขอ้ ความสั้นๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และขอ้ ความท่อี า่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขียนสะกดคำาและบอกความหมายของคำา มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๓ เรียบเรยี งคาำ เปน็ ประโยคง่ายๆ ส�ระส�ำ คญั สูง ต่าำ บอกความหมายและหลกั การใช้ จึงจะสามารถนำาคำาไปใช้ไดถ้ ูกตอ้ ง การเรยี นรกู้ ารผันสียงคาำ อักษรกลาง ตามสถานการณ์ การอา่ นเรือ่ งส้นั ๆ สามารถสรา้ งนิสยั รกั การอา่ นของผเู้ รียน จุดประสงค์ก�รเรยี นรู้ ๑. สามารถอ่านคำาท่ปี ระสมสระมีตัวสะกดได้ ๒. อ่านเรื่องส้ันหรือนทิ านได้ ๓. บอกความหมายของคำาได้ ส�ระก�รเรยี นร้แู กนกล�ง ๑. พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๒. การสะกดคาำ การแจกลูก และการอ่านเปน็ คำา ๓. การผันคาำ ๔. การแต่งประโยค ๕. การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคาำ คำาคลอ้ งจอง และข้อความทป่ี ระกอบดว้ ย คาำ พ้นื ฐาน คอื คำา ท่ีใช้ในชีวิตประจำาวัน ไมน่ ้อยกว่า ๖๐๐ คาำ กระบวนก�รจัดก�รเรียนรู้ ๑. ข้ันนำ�เข้�ส่บู ทเรยี น ๑. ใหน้ กั เรยี นทอ่ งบทคลอ้ งจอง กรรไกร ไข่ ผา้ ไหม และ เคล่ือนไหวประกอบจังหวะ ๒. ให้นกั เรียนทาำ คนเดยี วก่อน แล้วจับคูเ่ ลน่ กบั เพือ่ น ๓. เริ่มจากสเตป็ ชา้ และเรว็ ข้นึ เรอื่ ยๆ กรรไกร ไข่ ผา้ ไหม ๑ ใบ บรษิ ัทธารปญั ญา จำากัด สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 45

๒. ขนั้ นำ�เสนอความรู้ 46 ๑. ค ณุ ครูทบทวนคำ�ทป่ี ระสมสระ เ- และ ค�ำ ที่ประสมสระ แ- มตี วั สะกด ๒. สแสะกดดงชทารีข่ ต์้ึนผตนั น้ เดสว้ียยงอคกั ำ�ษทร่ปีกรละาสงมอสกั รษะรสเ-งู แอลักะษครำ�ตท่�ำ ่ปี ตราะมสลมำ�สดรับะ เ- มตี ัว ๓. คุณครูผันเสียงให้นกั เรยี นฟงั ๑ รอบ จากนนั้ ช้คี �ำ และให้นักเรียนผัน เสียงค�ำ จนคลอ่ ง (ชท้ี ลี ะชาร์ต) ๔. ข ั้นตอนการสอนผนั เสียงคำ�จะเหมอื นกนั แต่คุณครจู ะต้องสอนไปทีละชารต์ ๕. ค ุณครใู หน้ ักเรยี นอา่ นเร่ือง “กา กับ นกยูง” โดยใหน้ ักเรยี นเขยี นหมายเลขก�ำ กับย่อหนา้ และให้นกั เรียน ชอี้ า่ นไปทีละยอ่ หน้า แลว้ ท�ำ แบบฝึกหัด (สอนอ่านตามข้ันตอน) ๓. ขั้นลงมอื เรียนรู้ ๑. อค ักณุ ษครรสูเตูงรอียักมษบรัตตร�่ำ ค�ำหมคว�ำ ดทลีป่ ะระ๑ส๐มสครำ�ะ เ- และค�ำ ทีป่ ระสมสระ แ- มีตวั สะกด ทีข่ น้ึ ตน้ ด้วยอักษรกลาง ๒. ค ุณครทู บทวนว่าอกั ษรแตล่ ะหมู่ผนั ไดก้ ี่เสยี ง ๓. ใหน้ กั เรียนเลน่ เกมผันเสียงให้เร็ว โดยคณุ ครรู ้องเพลงหรือเปิดเพลง ใหน้ กั เรียนส่งบตั รค�ำ ไปเร่ือยๆ อาจ จะส่งรอบละ ๕ คำ� เมอ่ื คุณครหู ยดุ รอ้ งเพลง หรอื ปิดเพลง บัตรคำ�อยู่ทใี่ คร นกั เรยี นคนนั้นจะตอ้ งลุกข้นึ แล้วผนั เสยี งค�ำ นนั้ ๔. เล่นเกมนวี้ นไปเรอ่ื ยๆ จนกว่าบตั รค�ำ จะหมด ๕. เมื่อเล่นเกมเสร็จแล้วให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัดในหนังสือเรียนเพื่อให้เข้าใจ มากย่ิงขน้ึ ๔. ข้ันสรุปความรู้ ๑. แ จกใบงาน \"ค�ำ แสนสนุก\" ให้นกั เรียน ๒. เมอ่ื นกั เรยี นท�ำ ใบงานเสรจ็ ทกุ คน ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั เฉลย เพอื่ เปน็ การทบทวน ๓. ติดใบงานลงในสมดุ ๕. ขน้ั ประยุกต์ใชค้ วามรู้ ๑. ฝ ึกกระบวนการคิดให้นกั เรียน โดยแจกใบงาน \"ก้างปลาประสมคำ�\" ให้ นกั เรียน ๒. นกั เรยี นเขยี นค�ำ ทขี่ น้ึ ตน้ ดว้ ยค�ำ ทกี่ �ำ หนดให้ คดิ ตา่ งกนั ได้ ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ ง เขยี นเหมือนกนั ทุกคน ๓. เฉลยใบงานในห้องเรียน เพ่ือให้นกั เรียนไดพ้ ูดคำ�ตอบของตนเอง เครอ่ื งมือ - สือ่ การเรียนรู้ ๑. ชาร์ตผันเสยี งค�ำ ทีป่ ระสมสระ -ุ และ -ู มีตวั สะกด ทขี่ น้ึ ต้นดว้ ยอักษรกลาง อกั ษรสงู อักษรต่ำ� ๒. กระดานเคลือ่ นท่ี ๓. ใบงาน ค�ำ แสนสนุก ๔. ใบงาน กา้ งปลาประสมคำ� ๕. บตั รคำ� คำ�ทีป่ ระสมสระ เ- และค�ำ ท่ีประสมสระ แ- มีตัวสะกด การวัดและประเมินผล ๑. สงั เกตพฤตกิ รรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดคำ� ของนกั เรียน ๒. ป ระเมนิ ผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝึกหัดของนกั เรียน (การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ ก่อนเรยี น - หลังเรียน การเขียนตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ) บรษิ ทั ธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ บทที่ ๓ (๔) : ค�ำ แสนสนุก  เขียนคาำ ท่ีประสมสระ เ- และ สระ แ- มีตวั สะกด ลงในหมวดหมู่ท่ีกำาหนดให้ ดงั ตวั อย่าง ค�ำ ท่ปี ระสมสระ เ- และ สระ แ- มีตัวสะกด ขึ้นต้นดว้ ย ขนึ้ ต้นดว้ ย ขอึน้ ักตษ้นรดตว้ ่�ำ ย อกั ษรกล�ง อักษรสูง เมน่---------------------------------------- แก้ม---------------------------------------- เส้น---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- ---------------------------------------- บรษิ ัทธารปญั ญา จำากัด สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 47

ใบง�นประกอบแผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ บทที่ ๓ (๔) : ก�้ งปล�ประสมคำ�  เขียนคำาใหม่ จากคาำ ท่ีกาำ หนดให้ ดังตวั อยา่ ง ๑ แกง แกง ืจด แกงเหด็ ๒ แสง ๓ เตน้ ๔ เปด บริษทั ธารปัญญา จาำ กดั สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 48

แผนก�รจดั ก�รเรยี นรู้ หนว่ ยก�รเรียนรู้ อ่�นออก เขยี นได้ เล่ม ๓ กลุม่ ส�ระก�รเรยี นรภู้ �ษ�ไทย ชน้ั ประถมศกึ ษ�ปที ่ี ๑ บทท่ี ๔ จง้ิ จกห�งข�ด (๑) จำานวน ๔ ชัว่ โมง ม�ตรฐ�นก�รเรียนรู้ ๑. ม�ตรฐ�น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาำ เนนิ ชีวติ และมีนิสัยรกั การอา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ๒. ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา่ นออกเสียงคาำ คำาคลอ้ งจอง และขอ้ ความสน้ั ๆ มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาำ และขอ้ ความที่อา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขียนสะกดคาำ และบอกความหมายของคำา ส�ระสำ�คัญ การเรยี นรกู้ ารเขยี นและการอา่ นสะกดคาำ ทปี่ ระสมสระมตี วั สะกด บอกความหมายและหลกั การใชจ้ งึ จะสามารถ นาำ คำาไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ งตามสถานการณ์ การอ่านเรื่องสนั้ ๆ สามารถสรา้ งนิสัยรักการอ่านของผเู้ รยี น จุดประสงคก์ �รเรียนรู้ ๑. สามารถอา่ นคาำ ที่ประสมสระมีตวั สะกดได้ ๒. อ่านเรอ่ื งส้นั หรือนิทานได้ ๓. บอกความหมายของคำาได้ ส�ระก�รเรียนรู้แกนกล�ง ๑. พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ๒. การสะกดคาำ การแจกลูก และการอา่ นเปน็ คาำ ๓. การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำา คาำ คลอ้ งจอง และขอ้ ความทป่ี ระกอบดว้ ย คาำ พ้ืนฐาน คอื คาำ ท่ีใชใ้ นชีวติ ประจำาวนั ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คำา กระบวนก�รจดั ก�รเรียนรู้ กาำ แบ กำา แบ สลับไปเร่ือยๆ ๑. ข้ันน�ำ เข้�สู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนท่องบทคล้องจอง “ไปเท่ียวป่า” จนคล่อง จากนั้นจับคู่กัน เคลื่อนไหวประกอบจงั หวะ ๒. คนหนง่ึ กาำ มอื ชขู นึ้ อกี คนแบมอื ชขู น้ึ แลว้ ตบกบั มอื เพอื่ นบนอากาศ ทาำ สลบั กนั ไปเรอื่ ยๆ กาำ แบ กาำ แบ เรมิ่ จากจงั หวะชา้ ๆ และเพมิ่ ความเรว็ ขน้ึ เรอื่ ยๆ บรษิ ทั ธารปญั ญา จำากดั สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 49

๒. ข้นั นำ�เสนอคว�มรู้ คเณุขยีคนรบตู ดินชการระ์ตดหานรอื ๑. คณุ ครแู สดงบตั รคาำ พยญั ชนะ + สระ + ตวั สะกด และคาำ อา่ น (ลดรปู ) เชน่ ก โ-ะ ก กก และคาำ อน่ื ๆ ดงั ตัวอย่าง ๒. สอนใหน้ ักเรยี นอา่ นจากกระดานเคลอื่ นท่ี และอธิบายว่า ก โ-ะ ก = กก สระ โ-ะ หายไปแล้ว เพราะว่า ลดรปู ไปแล้ว จงึ เหลือเพียงแค่ กก ๓. แม้จะอธิบายไปแล้วว่า สระ โ-ะ ลดรูป นักเรียนก็อาจยังไม่เข้าใจอย่าง แท้จริง จงึ ควรฝึกเพอื่ ให้นักเรียนคุ้นชินกับคำา ทป่ี ระสมสระ โ-ะ มีตัวสะกด ๔. คุณครูติดชาร์ตเร่ือง จง้ิ จก หางขาด หรือเขยี นบนกระดาน และสอนชอ้ี ่าน ๕. ขั้นตอนการสอนอา่ น มดี ังนี้ ๕.๑ ใหน้ ักเรยี นเขียนหมายเลขกำากับย่อหน้า เพื่อให้นกั เรยี นทราบวา่ คณุ ครูกาำ ลงั อา่ นยอ่ หน้าใด ๕.๒ คณุ ครอู า่ นใหน้ กั เรยี นฟงั และใหน้ กั เรยี นอา่ นตามไปทลี ะยอ่ หนา้ จนจบเรอ่ื ง ๕.๓ คุณครูลองถามนกั เรียน เช่น ยอ่ หนา้ น้กี ลา่ วถงึ ใคร กำาลังทำาอะไร เปน็ ต้น แล้วใหน้ กั เรียนตอบคาำ ถาม โดยไฮไลตค์ ำาตอบนั้น เขียนหมายเลขกำากบั ย่อหน้า นักเรียนชี้อา่ นไปทีละย่อหน้า ไฮไลต์ตอบคำาถาม (ตวั อยางการสอนอา นมาจากเร่ือง ปลาบึก ในน้ําลึก) ๓. ขัน้ ลงมอื เรียนรู้ ๑. คณุ ครแู จกช้อนพลาสตกิ ให้นกั เรยี นคนละ ๔ คนั ๒. แจกใบงาน หัดอ่านคำาทป่ี ระสมสระ โ-ะ มีตัวสะกด ๓. ใหน้ ักเรียนเขยี นพยญั ชนะลงในช้อนพลาสตกิ ๔ ตัว เช่น ก จ ล ค ๔. คุณครูอ่าน ให้นักเรียนนำาช้อนพยัญชนะวางลงบนช่อง  แล้วอ่านแจก ลกู เชน่ ก โ-ะ ก กก ๕. คณุ ครเู รมิ่ จากอา่ นเรยี งไปตามลาำ ดบั จนครบทกุ พยญั ชนะ จากนนั้ เรม่ิ อา่ น คำาที่ไมไ่ ดเ้ รยี งตามตาราง ๖. ฝึกใหน้ ักเรยี นอา่ นจนคลอ่ ง ๔. ขนั้ สรุปคว�มรู้ ๑. คุณครูให้นกั เรยี นอา่ นเรอื่ งสัน้ เรือ่ ง กนิ ไข่มดแดง ในหนังสอื เรียน ๒. ใหน้ ักเรยี นทำาแบบฝกึ หดั ในหนงั สอื เรียน ๓. คณุ ครแู จกใบงาน แจกลกู คาำ ทปี่ ระสมสระ โ-ะ มตี วั สะกด (3D-GO : Windows 6 บาน) เพือ่ สรุปความเข้าใจของนกั เรยี น ๔. ตดิ ใบงานลงในสมดุ บริษทั ธารปัญญา จำากัด สงวนลิขสทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook