Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาการเขียนโครงการ_พท 32017

วิชาการเขียนโครงการ_พท 32017

Published by Kanitta Chuawcharoen, 2020-01-23 16:32:13

Description: ศึกษาความหมายของโครงการ ลักษณะของโครงการ ส่วนประกอบในการเขียนโครงการ ตลอดจนความสำคัญของโครงการ ความแตกต่างของคำว่าโครงการ โครงงาน และกิจกรรม ฝึกให้ผู้เรียนเขียนโครงการในการพัฒนาองค์กร ชุมชน สังคมของตนเอง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาองค์กร ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม หรือเพื่อการอนุรักษ์สืบทอดศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น หรืออาจเป็นโครงการเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาขององค์กร ชุมชน และสังคม อันจะนำไปสู่ความสงบสุข คุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชน สังคมโดยส่วนรวมได้

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรยี นสาระความรู้พ้ืนฐาน (ภาษาไทย) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ าเลือก การเขยี นโครงการ รหสั พท ๓๒๐๑๗ หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สาํ หรับคนไทยในต่างประเทศ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ สํานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี ๒๔/๒๕๕๔

หนงั สอื เรยี นสาระความรู้พ้ืนฐาน (ภาษาไทย) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ าเลอื ก การเขยี นโครงการ รหสั พท ๓๒๐๑๗ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สาํ หรับคนไทยในตา่ งประเทศ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ สํานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี ๒๔/๒๕๕๔

ชือ่ หนงั สือ หนังสือเรียนสาระความรู้พ้นื ฐาน (ภาษาไทย) รายวิชาเลอื ก การเขียนโครงการ รหัส พท ๓๒๐๑๗ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาํ หรบั คนไทยในต่างประเทศ ISBN : พมิ พ์ครงั้ ท่ี : ๑/๒๕๕๔ ปีที่พิมพ์ : ๒๕๕๔ จาํ นวนพิมพ์ : ๑๐๐ เล่ม เอกสารทางวิชาการลําดบั ท่ี ๒๔/๒๕๕๔ จัดพมิ พแ์ ละเผยแพร่ : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ สาํ นกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ โทร. ๐ ๒๒๘๑ ๗๒๑๗ - ๘, ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๒๙, ๐ ๒๖๒๙ ๕๓๓๑ โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๓๐

คํานาํ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ได้ดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียนสาระความรู้พ้ืนฐาน (ภาษาไทย) รายวิชาเลือก การเขียนโครงการ รหัส พท ๓๒๐๑๗ ข้ึน เพ่ือใช้ ในการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สําหรับคนไทยในต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา และศักยภาพ สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข โดยผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และปฏิบัติ กิจกรรมเพ่ือทดสอบความรู้ ความเข้าใจในสาระเน้ือหานี้ รวมทั้งหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้หรือส่ืออ่ืน ๆ เพ่ิมเติมได้ ในการดําเนินการจดั ทาํ หนังสือเรียนเลม่ นี้ ได้รับความร่วมมือที่ดีจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกี่ยวข้อง ท่ีร่วมค้นคว้าและเรียบเรยี งเน้ือหาสาระจากส่อื ต่าง ๆ เพ่อื ใหไ้ ด้สอื่ ทีส่ อดคล้องกับหลักสตู ร และเปน็ ประโยชน์ ต่อผู้เรยี นทีอ่ ยูน่ อกระบบอย่างแทจ้ ริง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ ขอขอบคณุ คณะที่ปรึกษา คณะเรียบเรยี ง ตลอดจนผู้จดั ทาํ ทุกท่านทีใ่ หค้ วามร่วมมอื ด้วยดไี ว้ ณ โอกาสนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ หวังว่าหนังสือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและการจัดการเรียนการสอน หากมีข้อเสนอแนะประการใดจะขอน้อมรับไว้ด้วย ความขอบคณุ ยิ่ง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ ๒๕๕๔

สารบัญ หนา้ คาํ นาํ ๑ สารบัญ ๓ คาํ แนะนาํ การใช้หนงั สอื เรียน ๔ โครงสรา้ งรายวชิ า ๔ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๕ ๑๑ บทท่ี ๑ ความหมายของโครงการ โครงงาน และกจิ กรรม ๑๒ - เรื่องที่ ๑ ความหมายของโครงการ ๑๗ - เร่อื งที่ ๒ ความหมายของโครงงาน ๑๘ - เร่ืองท่ี ๓ ความหมายของกิจกรรม ๒๑ ๒๖ บทที่ ๒ ลกั ษณะและความสําคญั ของโครงการ ๒๗ - ลักษณะและความสาํ คัญของโครงการ ๕๐ ๕๒ บทท่ี ๓ ประเภทของโครงการ ๕๓ - เรื่องที่ ๑ ประเภทของโครงการ ๕๔ - เรือ่ งที่ ๒ สว่ นประกอบของโครงการ ๕๕ บทท่ี ๔ การเขยี นโครงการ - การเขยี นโครงการ แบบทดสอบหลังเรยี น เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น เฉลยแบบทดสอบ บรรณานุกรม คณะผจู้ ดั ทาํ

คาํ แนะนาํ การใช้หนงั สือเรียน หนงั สอื เรยี นสาระความร้พู น้ื ฐาน (ภาษาไทย) รายวชิ าเลือก การเขียนโครงการ รหัส พท ๓๒๐๑๗ (๑ หน่วยกิต) ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สําหรับ คนไทยในตา่ งประเทศ ประกอบดว้ ยสาระสาํ คัญ ดงั น้ี ส่วนท่ี ๑ คําชี้แจงก่อนเรยี นรรู้ ายวชิ า สว่ นที่ ๒ เนอื้ หาสาระและกจิ กรรมทา้ ยบท ส่วนท่ี ๓ แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยบท และหรือแบบทดสอบย่อยทา้ ยบท ส่วนที่ ๑ คาํ ชี้แจงก่อนเรยี นรู้รายวิชา ผู้เรียนต้องศึกษารายละเอียดในคํานําและคําแนะนําการใช้หนังสือเรียน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และเพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา ซึ่งการเรียนรู้เน้ือหาและการปฏิบัติกิจกรรมท้ายบท ควรปฏิบัตดิ ังน้ี ๑. หารอื ครูประจํากลุ่ม / ครผู ู้สอน เพ่ือรว่ มกนั วางแผนการเรยี น (ใชเ้ วลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง) ๒. ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียน หากมีข้อสงสัยเรื่องใดสามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้จาก ส่อื ตา่ ง ๆ หรอื หารือครูประจาํ กลุม่ / ครผู ูส้ อน เพ่ือขอคาํ อธิบายเพม่ิ เตมิ ๓. ทํากจิ กรรมท้ายบทเรยี นตามที่กาํ หนด ๔. เขา้ สอบวดั ผลการเรยี นรู้ปลายภาคเรียน ๕. สรา้ งความเข้าใจเก่ียวกับการประเมนิ ผลรายวชิ า ซึ่งมคี ะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยแบ่งสดั สว่ นคะแนนเปน็ ระหวา่ งภาคเรยี น ๖๐ คะแนน และปลายภาคเรยี น ๔๐ คะแนน ดังนี้ ๕.๑ คะแนนระหวา่ งภาคเรียน ๖๐ คะแนน แบ่งสว่ นคะแนนตามกิจกรรม ไดแ้ ก่ ๑) ทํากิจกรรมทา้ ยบทเรยี น ๒๐ คะแนน โดยทํากจิ กรรมทา้ ยบทใหค้ รบถว้ น ๒) ทาํ บนั ทกึ การเรยี นรู้ ๒๐ คะแนน โดยสรุปยอ่ เนื้อหาหรอื วิเคราะห์เนอื้ หาจาก การศกึ ษาหนังสือแบบเรียนรายวชิ าน้ี เพือ่ แสดงให้เหน็ กระบวนการเรยี นรู้ ประโยชน์ และการนําความรู้ไปใช้ โดยทําตามทีค่ รูกาํ หนด และจัดทาํ เป็นรปู แบบเอกสารความรู้ ดังนี้ - ปก (รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผู้เรียน: ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับ การศึกษา ศกร.กศน. ของผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมาย พเิ ศษ) - ส่วนบันทึกการเรียนรู้ (เน้ือหาประกอบด้วย : หัวข้อ/เร่ืองท่ีศึกษา และ จดุ ประสงคท์ ่ีศึกษา และขัน้ ตอนการศกึ ษาโดยระบุวา่ มวี ธิ ีรวบรวมข้อมูลอย่างไร นําขอ้ มูลมาใชอ้ ย่างไร) - สว่ นสรปุ เนอ้ื หา (สรุปสาระความรู้สาํ คัญตามเนอื้ หาที่ไดบ้ นั ทึกการเรียนรู้)

- ประโยชน์ท่ีเกิดกับตัวผู้เรียน (บอกความรู้ท่ีรับและนํามาพัฒนาตนเอง/การนําไป ประยกุ ต์ใช้ในรายวชิ าอนื่ ๆ หรอื ในชีวติ ประจําวนั ) ๓) ทํารายงานหรือโครงงาน ๒๐ คะแนน โดยจัดทําเนื้อหาเป็นรายงานหรือโครงงาน ตามท่ีครูกําหนดรูปแบบเอกสารรายงาน หรือโครงงาน ดงั น้ี ๓.๑)การทํารายงานหรือโครงงานตามท่ีครูมอบหมาย ให้ดําเนินการตามรูปแบบ กระบวนการทํารายงาน หรอื โครงงาน ตามรูปแบบเอกสาร ดังนี้ - ปก (เร่ืองที่รายงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัวผู้เรียน : ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ของผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยกล่มุ เป้าหมายพิเศษ) - คํานาํ - สารบัญ - ส่วนเนือ้ หา (หัวขอ้ หลัก หัวข้อย่อย) - สว่ นเอกสารอ้างองิ ๓.๒)การทําโครงงาน ตามท่ีครูมอบหมาย และดําเนินการตามกระบวนการ ทาํ รายงาน โดยจัดทาํ ตามรูปแบบเอกสารดงั นี้ - ปก (ชื่อโครงงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัวผู้เรียน : ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ขอผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ) - หลกั การและเหตุผล - วตั ถุประสงค์ - เปา้ หมาย - ขอบเขตของการศกึ ษา - วิธดี าํ เนนิ งานและรายละเอียดของแผน - ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน - งบประมาณ - ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ ๕.๒ คะแนนปลายภาคเรียน ๔๐ คะแนน ผู้เรียนต้องเข้าสอบวัดความรู้ปลายภาคเรียน โดยใช้เครอ่ื งมอื (ข้อสอบแบบปรนัย หรอื อัตนยั ) ของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัยกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ

สว่ นท่ี ๒ เนือ้ หาสาระและกจิ กรรมท้ายบท ผเู้ รียนตอ้ งวางแผนการเรียน ให้สอดคลอ้ งกับระยะเวลาของรายวิชา และตอ้ งศกึ ษาเน้อื หาสาระ ตามที่กําหนดในรายวิชาให้ละเอียดครบถ้วน เพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา ซึ่งใน รายวชิ าน้ไี ด้แบง่ เน้ือหาออกเป็น ๔ บท ดังนี้ บทท่ี ๑ เรื่องความหมายของโครงการ โครงงาน และกิจกรรม บทที่ ๒ เร่อื งลกั ษณะและความสําคัญของโครงการ บทท่ี ๓ เรื่องประเภทของโครงการ บทท่ี ๔ เรือ่ งการเขียนโครงการ ส่วนกิจกรรมท้ายบทเรียน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเน้ือหาแต่ละบท/ตอนแล้ว ต้องทํากิจกรรมท้าย บทเรยี นหรือแบบฝึกหัด ตามทก่ี าํ หนดให้ครบถ้วน เพอื่ สะสมเป็นคะแนนระหวา่ งภาคเรยี น (๒๐ คะแนน) สว่ นที่ ๓ แนวตอบกิจกรรมทา้ ยบทเรียนหรือแบบฝึกหัด และหรอื เฉลยแบบทดสอบยอ่ ย (ถ้ามี) แนวตอบกิจกรรมท้ายบทเรียนหรือแบบฝึกหัด และหรือเฉลยแบบทดสอบย่อย จัดทําแยกไว้เป็น บทเรียงลาํ ดับ

โครงสร้างรายวิชาการเขยี นโครงการ รหสั วิชา พท ๓๒๐๑๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สาระสาํ คญั ศึกษาความหมายของโครงการ ลักษณะของโครงการ ส่วนประกอบในการเขียนโครงการตลอดจน ความสาํ คัญของโครงการ ความแตกต่างของคําว่าโครงการ โครงงาน และกิจกรรม ฝึกให้ผู้เรียนเขียนโครงการ ในการพัฒนาองค์กร ชุมชนสังคมของตนเอง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาองค์กร ชุมชน สังคมส่ิงแวดล้อมหรือ เพ่ือการอนุรักษ์ สืบทอดศิลปวัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่นหรืออาจเป็นโครงการเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา ขององค์กร ชุมชน และสังคม อันจะนําไปสู่ความสงบสุข คุณภาพชีวิตท่ีดีของคนในชุมชน สังคมโดยส่วนรวม ได้ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ๑. อธิบายความหมายของโครงการและโครงงาน ๒. เปรยี บเทียบความแตกต่างระหวา่ งโครงการและโครงงาน ๓. อธบิ ายลักษณะความสาํ คัญของโครงการ ๔. จาํ แนกโครงการประเภทตา่ ง ๆ ๕. อธบิ ายส่วนประกอบของโครงการ ๖. เขยี นโครงการประเภทโครงการพฒั นา ๗. เขยี นโครงการประเภทโครงการเพ่ือการแกป้ ัญหา ขอบขา่ ยเนือ้ หา บทที่ ๑ ความหมายของโครงการ โครงงาน และกิจกรรม บทที่ ๒ ลักษณะและความสาํ คัญของโครงการ บทท่ี ๓ ประเภทของโครงการ บทที่ ๔ การเขยี นโครงการ



ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น คาํ ช้แี จง จงเลอื กคาํ ตอบท่ถี กู ตอ้ งท่ีสดุ ๑. ทาํ ไมต้องมกี ารทาํ โครงการ ก. มสี ่วนในการวางแผนการทาํ งานเพ่ือประโยชนข์ องหนว่ ยงาน ข. ทําให้หน่วยงานมีงบประมาณเพิม่ มากข้นึ ค. ทาํ ใหบ้ ุคลากรมีโอกาสพฒั นาผอู้ ่ืนได้ทุกคน ง. ทาํ ใหเ้ ป็นท่ีรู้จกั ของบคุ คลนอกวงการ ๒. กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนคือข้อใด ก. กิจกรรมแนะแนว ข. กจิ กรรมโทรศพั ท์ ค. กิจกรรมเลน่ เกม ง. กจิ กรรมท่องเท่ียว ๓. โครงการมคี วามสําคญั อย่างไรบา้ ง ก. เปน็ เครือ่ งมอื เจาะการตลาดเชิงลกึ ข. ลดการซ้ําซ้อนในการเบกิ งบประมาณ ค. ทํานายอนาคตของหน่วยงานได้ ง. ชว่ ยให้ผูบ้ ริหารเห็นสภาพปญั หาในการทํางานท่ีผ่านมา ๔. แผนงานและโครงการมีความสาํ เรจ็ ไดเ้ พราะอะไร ก. มีเจา้ หนา้ ทก่ี ารเงนิ ข. มีผรู้ บั ผดิ ชอบงาน ค. มอี าคารสถานท่ี ง. มีพัสดคุ รบถว้ น ๕. การระบรุ ะยะเวลาในโครงการ ควรเขียนอย่างไร ก. กาํ หนดตามคําส่งั ผ้บู รหิ ารหนว่ ยงานนนั้ ๆ ข. กําหนดตามระยะเวลาวา่ งของผรู้ ับผดิ ชอบ ค. เขยี นเป็นปีงบประมาณเพ่อื ความสะดวก ง. ระบเุ วลาตัง้ แต่เรม่ิ ต้นจนกระทัง้ สิน้ สุดโครงการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒ ๖. การเขยี นสถานท่ีดาํ เนนิ การควรเขยี นอย่างไร ก. ห้องประชุมโรงแรมทเ่ี คยจัดเม่ือปกี ่อน ข. ห้องประชุมสมาคมประเวศสงเคราะห์ ค. ห้องประชมุ รสพ. ง. จะกาํ หนดเมอื่ เรมิ่ งาน ๗. งบประมาณของหน่วยงานเอกชน ควรกําหนดอยา่ งไร ก. กําหนดตามแผนงาน/โครงการ ข. งบบริหารสาํ นกั งาน ค. เบกิ จา่ ยไดต้ ามที่จ่ายจรงิ ง. งบพัฒนาบริษัท ๘. “ทําแล้วไดป้ ระโยชนอ์ ะไร” คอื สว่ นใดของโครงการ ก. ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ ข. ประโยชนทคี่ วรจะไดร้ บั ค. ประโยชนจ์ ากการดาํ เนินงาน ง. ประโยชนข์ องโครงการท่ีควรจะได้รับ ๙. “การประเมินผลโครงการ” มปี ระโยชน์ตามข้อใด ก. เพ่อื ผู้บรหิ ารของบประมาณเพ่ิม ข. เพอื่ จะไดใ้ ช้งบประมาณใหห้ มด ค. เพือ่ ทราบความสําเร็จหรอื ลม้ เหลว ง. เพอ่ื จะดาํ เนนิ การอกี ครั้งในปหี น้า ๑๐. เครื่องมือในการประเมินโครงการ คือข้อใด ก. ดูงบประมาณพอหรือไม่ ข. โทรทัศน์วงจรปดิ ค. คอมพิวเตอร์ ง. แบบสอบถาม

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓ บทท่ี ๑ ความหมายของโครงการ โครงงาน และกิจกรรม สาระสําคญั โครงการ โครงงาน และกิจกรรม เป็นวิธีการแสวงหาความรู้ของผู้เรียน ให้มีความรู้ตามหลักสูตร การศึกษาหรือถ้าเป็นหน่วยงานอ่ืน ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน โครงการ โครงงาน และกิจกรรม เป็นวิธีการ พัฒนางาน พฒั นาในองค์กรน้ัน ๆ ใหม้ คี วามเจริญก้าวหนา้ ย่ิง ๆ ข้นึ ไป ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง ๑. อธิบายความหมายของโครงการ โครงงาน และกิจกรรม ๒. เปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหว่างโครงการและโครงงาน ขอบข่ายเนอ้ื หา เร่ืองท่ี ๑ ความหมายของโครงการ เรือ่ งท่ี ๒ ความหมายของโครงงาน เรอ่ื งที่ ๓ ความหมายของกจิ กรรม

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๔ ความหมายของโครงการ โครงงาน งานและกิจกรรม โครงการ โครงงาน งานและกิจกรรม เป็นวิธีการแสวงหาความรู้ของผู้เรียน ให้มีความรู้ตามหลักสูตร ของการศึกษาหรือถ้าเป็นหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน โครงการ โครงงาน งานและกิจกรรม เป็นวิธีการพัฒนาคนในองค์กรนั้นให้มีความเจริญก้าวหน้าย่ิง ๆ ขึ้นไป ดังนั้น จึงมีความจําเป็นสําหรับผู้เรียน หรือผปู้ ฏบิ ัตงิ านในหน่วยงานตา่ ง ๆ ดงั นี้ เร่อื งที่ ๑ ความหมายของโครงการ โครงการเป็นกิจกรรมประกอบการเรียนรู้ในสถานศึกษา หรือ เป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมในหน่วยงาน ต่าง ๆ การเขียนโครงการเป็นการเขียนเพ่ือประโยชน์ทางวิชาการประเภทหน่ึงเพราะมีส่วนช่วยให้เกิดการ วางแผนการทํางานการศึกษา และการริเริ่มปฏิบัติงานใหม่ ๆ ฯลฯ การเขียนโครงการจึงเป็นส่ิงจําเป็นสําหรับ การทาํ งาน เพอ่ื ประโยชน์ในอนาคตตอ่ ไป คําว่า “โครงการ” มีความหมายตรงกับคําว่า “Project” ซึ่งหมายถึงวิธีการวางแผนและจัดกิจกรรม อย่างเป็นระบบ เป็นกิจกรรมหรือกลุ่มกิจกรรมท่ีรวมกันอยู่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ไม่ว่าจะเป็นการ ดําเนินงานหรือดําเนินชีวิตท้ังของบุคคล หน่วยงานภาคเอกชนและภาครัฐ โดยมีการกําหนดจุดประสงค์ ระยะเวลาในการเรมิ่ ต้นและสนิ้ สดุ ทแ่ี นน่ อน ส่วนรายละเอยี ดของการเขยี นโครงการ มอี ยใู่ นบทท่ี ๒ เรอ่ื งท่ี ๒ ความหมายของโครงงาน โครงงานเป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหน่ึงหรือหลายสิ่งท่ีต้องการรู้คําตอบให้ลึกซึ้ง หรือ เรียนรู้ในเรื่องน้ัน ๆ ให้มากข้ึน โดยใช้กระบวนการ วิธีการศึกษาอย่างมีระบบเป็นขั้นตอนมีการวางแผน ในการศึกษาอยา่ งละเอียด ปฏบิ ัตติ ามแผนทวี่ างไวจ้ นไดข้ ้อสรุปหรือผลสรุปที่เปน็ คาํ ตอบในเรือ่ งนั้น ๆ การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือการจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียน เหมือนกับการทํางานในชีวิตจริง เพ่ือให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรง และจะได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหารู้จักการ ทํางานอย่างมีระบบ ฝึกการวางแผน คิดวิเคราะห์และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โครงงานจัดเป็นการเรียนรู้ รูปแบบหนึ่งท่ีทําให้ผู้เรียน เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้ให้คําปรึกษาช้ีแนะแนวทางในการจัดทํา โครงงาน จนกระท่ังโครงงานสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ ประเภทของโครงงาน มี ๔ ประเภท คือ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๕ ๑. โครงงานท่ีเปน็ การสํารวจ รวบรวมข้อมลู ๒. โครงงานทเ่ี ปน็ การค้นควา้ ทดลอง ๓. โครงงานที่เป็นการศกึ ษาทฤษฎี หลกั การหรือแนวคิดใหม่ ๆ ๔. โครงงานท่เี ป็นการประดิษฐ์คดิ คน้ ในส่วนของรายละเอียดของโครงงานทง้ั ๔ ประเภท มดี ังน้ี ๑. โครงงานที่เป็นการสํารวจ มีลักษณะเป็นการศึกษา เพื่อการเก็บและรวบรวมข้อมูล แล้วนําผล ดังกล่าวมาวิเคราะห์ จําแนกหมวดหมู่ แล้วนํามาเสนอผู้เก่ียวข้องนําไปพัฒนาเพื่อไปสู่การแก้ปัญหา หรือ แนวทางการพฒั นาหรอื ตามจดุ มงุ่ หมายของผสู้ าํ รวจ ๒. โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง มีลักษณะเป็นการศึกษาเพื่อการเปรียบเทียบและพิสูจน์ ข้อเท็จจริงตามทฤษฎีและหลักการทางวิชาการโดยต้ังอยู่บนพื้นฐานของสมมติฐานว่า ผลเกิดจากการทดลอง จะนําไปสู่การพัฒนา เพื่อเพ่ิมคุณค่าและประโยชน์ให้กับสิ่งน้ันหรือเกิดประโยชน์ด้านการตัดสินใจท่ีถูกต้อง โดยไม่ประสบกบั ภาวะเส่ียง ๓. โครงงานท่ีเป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดใหม่ ๆ มีลักษณะเป็นโครงงานศึกษาทฤษี หลกั การ และแนวคิดใหม่ ๆ ของวิชาน้ัน ๆ เช่น ศึกษาทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก โดยการสังเกตสิ่งของต่าง ๆ ตกลงมาท่ีพื้นโลก และเป็นการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยการศึกษาค้นคว้า ท้ังจากแหล่ง วิทยาการต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด ตํารา การค้นคว้าทางวิชาการ หรือ เอกสารทางวิชาการ หรือตัวบุคคล ได้แก่ ผู้ที่มีความรู้เร่ืองนั้นโดยตรง ผลจากการศึกษาค้นคว้า นํามาปรับปรุง แก้ไขการศึกษาค้นคว้า หาความรู้ใหม่ ดว้ ยตนเอง และนาํ ไปใชใ้ นชวี ติ จริงได้ ๔. โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้น ผู้เรียนท่ีจัดทําโครงการประเภทนี้ จะได้รับการส่งเสริมให้ สรา้ งสรรค์ส่ิงประดิษฐ์ หรือพัฒนาชิ้นงาน โดยสิ่งท่ีผู้จัดทําโครงงานจะได้รับคือการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ จากการสงั เกต วเิ คราะห์กลวิธใี นการจัดการต่าง ๆ และสร้างชนิ้ งานขึ้นใหม่ เรอ่ื งที่ ๓ ความหมายของกิจกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสังคมปัจจุบัน ผู้สอนจําเป็นต้องพัฒนาเทคนิคและกระบวนการ จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ใหส้ อดคล้องกับความกา้ วหน้าทางด้านสื่อและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ครูผู้สอนหรือ ครูประจํากลุ่มควรมุ่งเน้น ด้านกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะต่าง ๆ และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูมีบทบาทอํานวยความสะดวกและให้คําปรึกษาแก่ผู้เรียน กิจกรรมต่าง ๆ ที่ผู้เรียนควรได้รับการเรียนรู้ ในสถานศึกษามีมากมาย คือ กิจกรรม วันสําคัญต่าง ๆ เช่น วันวิสาขบูชา วันพ่อแห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ วันภาษาไทย วันรกั ต้นไม้ เปน็ ตน้ การเขียนโครงการในวิชาตา่ ง ๆ กเ็ ปน็ กจิ กรรมการเรียนรู้อย่างหน่ึง ซึ่งผู้สอน

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๖ สามารถนํามาประยุกต์ และบูรณาการใช้ได้กับทุกสาขาวิชา กิจกรรมดังกล่าวจะเอ้ือประโยชน์ ต่อผู้เรียน โดยตรงเพราะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต่าง ๆ มีส่วนสําคัญในการเสริมสร้างความคิด ความเข้าใจและ เกิดวิจารณญาณ ที่จะช่วยให้ผู้เรียน คิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาเป็น ซ่ึงเป็นความคาดหวังของหลักสูตรและ รายวิชาเรยี นดว้ ย กิจกรรม คือ สิ่งที่หน่วยงานหรือสถานศึกษาจัดข้ึน เพื่อให้สมาชิกในหน่วยงานหรือผู้เรียน ในสถานศกึ ษานั้น ๆ ได้ทํากจิ กรรมต่าง ๆ ใหส้ มาชกิ ในเชิงสร้างสรรค์และเป็นประโยชนแ์ ก่ตนเองและสงั คม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นระบบประกอบด้วยรูปแบบกระบวนการ วิธีการ หลากหลาย ให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง มีความหมายและมีคุณค่าในการพัฒนาผู้เรียน ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มุ่งสร้างเสริมเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝังคุณธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง สร้างจิตสํานึกในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปรับตัวและปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติและดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รยี น แบ่งออกเปน็ ๓ กลมุ่ ดงั น้ี ๑. กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี ๒. กจิ กรรมแนะแนว ๓. กจิ กรรมตามความถนัดและความสนใจของผเู้ รียน ส่วนกิจกรรมอ่ืนๆ มีมากมาย หลากหลายที่หน่วยงานต่าง ๆ จัดขึ้น เช่น กิจกรรมล่องแพ กิจกรรมนนั ทนาการ กิจกรรมโภชนาการ เปน็ ตน้ กล่าวโดยสรุป โครงการเป็นกิจกรรมประกอบการเรียนรู้ในสถานศึกษาหรือเป็นส่วนหน่ึงของ กิจกรรมในหน่วยงานต่าง ๆ การเขียนโครงการ เพ่ือประโยชน์ทางวิชาการและหน่วยงานสําหรับการทํางาน ดังนั้น โครงการจึงเป็นการวางแผนและการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบ มีความสัมพันธ์ต่อเน่ืองกัน ท้ังใน หน่วยงานภาครฐั และเอกชน โครงงานเป็นการศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกับเนื้อหาวิชา หรือสิ่งใด สิ่งหน่ึง อย่างลึกซ้ึง เป็นการจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา และการทํางานอย่างเป็นระบบ ส่วนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการจัดอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้ผู้เรียนจัดการเรียนรู้และมีคุณภาพ ดังน้ัน โครงการ โครงงาน งานและกิจกรรม จึงเป็นกิจกรรมท่ีมีความสอดคล้องต่อเน่ืองกัน แล้วแต่ผู้ดําเนินงานและ ผู้เรยี นจะร่วมกนั พิจารณาจดั ทาํ ข้ึน

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๗ แบบฝกึ หดั บทที่ ๑ จงตอบคาํ ถามต่อไปนี้ ๑. โครงการ หมายถงึ ...................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. โครงงาน หมายถงึ .......................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. งานและกจิ กรรม หมายถึง ............................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๘ แบบทดสอบ บทที่ ๑ ความหมายของโครงการ โครงงาน และกจิ กรรม คาํ ช้ีแจง จงเลอื กคําตอบที่ถกู ต้องที่สุด ๑. โครงการ หมายถึงอะไร ก. วธิ ีการวางแผนและจัดกจิ กรรมข้นั พืน้ ฐาน ข. วธิ ีการวางแผนและจัดกิจกรรมอยา่ งเป็นระบบ ค. การทาํ งานของหน่วยงานตา่ ง ๆ ในรอบปี ง. การจดั กิจกรรม การทํางานของหน่วยงานตา่ ง ๆ ๒. ทําไมตอ้ งมกี ารทาํ โครงการ ก. ทําให้บคุ ลากรมโี อกาสพฒั นาตนเองในการทํางาน ข. ทาํ ให้หน่วยงานมงี บประมาณเพ่มิ ขึ้นทุก ๆ ปี ค. เพราะทําให้หน่วยงานมกี ารเจรญิ เตบิ โตตลอดเวลา ง. มีส่วนชว่ ยในการวางแผนการทํางานเพือ่ ประโยชน์ของหนว่ ยงาน ๓. ข้อใดกล่าวถกู ต้อง ก. โครงการเหมือนโครงงาน ข. โครงการเปน็ กจิ กรรมมีความต่อเนอื่ งกัน ค. บางหน่วยงานไม่จําเป็นต้องมีโครงการ ง. โครงการไมจ่ ําเปน็ ต้องเป็นระบบก็ได้ ๔. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเกีย่ วกับการทาํ โครงการ ก. หนว่ ยงานของรฐั และเอกชนจาํ เปน็ ต้องมีโครงการ ข หนว่ ยงานของรฐั มีกิจกรรมโครงการเหมอื นกบั เอกชน ค. โครงการของรัฐไมจ่ าํ เปน็ ตอ้ งมรี ะยะเวลาสน้ิ สดุ ง. โครงการของหนว่ ยงานเอกชนไมต่ อ้ งมีงบประมาณ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๙ ๕. โครงงานมี ๔ รูปแบบ ยกเว้นขอ้ ใด ก. การสํารวจ ข. การทดลอง ค. การจินตนาการ ง. ประดิษฐค์ ดิ ค้น ๖. การจัดการเรยี นการสอนแบบโครงงาน หมายถึงขอ้ ใด ก. การฝึกหดั การทําทกั ษะชวี ติ ความเป็นอยู่ในสังคมใหผ้ ูเ้ รยี น ข. การใหผ้ ู้เรียนมคี วามรูใ้ นการปฏิบตั งิ านเม่อื จบการศึกษา ค. การทาํ ใหผ้ ูเ้ รยี น ทํางาน อยา่ งจริงจงั เพ่ืออนาคตทดี่ ี ง. การจดั ประสบการณ์ในการปฏติ ิงานให้แกผ่ ้เู รียน ๗. กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น หมายถงึ ขอ้ ใด ก. กจิ กรรมตามความถนดั และสนใจ ข. กิจกรรมท่ีสถานศึกษากําหนดให้ ค. กจิ กรรมท่ีครูแนะแนวแนะนาํ ง. กจิ กรรมท่ตี า่ งจงั หวัดนิยมทํากนั ๘. กิจกรรมใดผู้เรียนควรทํามากทส่ี ดุ ก. กจิ กรรมศกึ ษาดงู านตา่ งประเทศ ข. กิจกรรมป้องกนั ยาเสพตดิ ค. กจิ กรรมตวิ เข้มข้อสอบปลายภาค ง. กจิ กรรมตกปลาท่เี ขอื่ นเจ้าพระยา ๙. ข้อใดเป็นกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ก. กิจกรรมแนะแนว ข. การมีอาชพี ค. การรายงาน ง. การท่องเทย่ี ว

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๐ ๑๐. ถา้ นักศึกษาจะทํากิจกรรมบาํ เพ็ญประโยชน์ตอ่ สังคมควรทาํ ในลกั ษณะใด ก. เป็นชมรม ข. เปน็ สหภาพ ค. เป็นสมาคม ง. เปน็ กจิ กรรม

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๑ บทที่ ๒ ลกั ษณะและความสําคญั ของโครงการ สาระสาํ คญั การเขียนโครงการมีลักษณะการเขียนแตกต่างไปจากการเขียนประเภทอื่น ๆ เนื่องจาก โครงการเป็นข้อความท่ีเรียบเรียงข้ึนเป็นขั้นตอนและมีแผนปฏิบัติเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ ดังนั้น โครงการ จงึ เปน็ ส่วนประกอบที่สาํ คญั ของแผนการดาํ เนินงานของส่วนราชการ หรือหน่วยงานเอกชนทกุ แห่ง ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง อธิบายลักษณะความสาํ คัญของโครงการ ขอบข่ายเนอ้ื หา ลักษณะและความสําคัญของโครงการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๒ ลักษณะและความสาํ คญั ของโครงการ การของบประมาณเพื่อจัดทําโครงการต่าง ๆ เป็นการสนับสนุนให้งาน กิจกรรมต่าง ๆ บรรลุ เป้าหมายของหน่วยงานนั้น ๆ คําว่า “โครงการ” ได้นํามาใช้ในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน ต้ังแต่ระดับ ชมุ ชน จงั หวดั และประเทศ ซึ่งต่างก็มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิมและเพื่อพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร ประชาชน หรือยกระดับประเทศชาติ ให้ทัดเทียมอารยประเทศ ดังน้ัน การเขียนโครงการเพ่ือ การทํางาน จงึ เปน็ สิง่ ที่สาํ คัญ การเขียนโครงการมีลักษณะการเขียนแตกต่างไปจาการเขียนประเภทอ่ืน ๆ เน่ืองจากโครงการเป็น ข้อความท่ีเรียบเรียงข้ึนเป็นขั้นตอนและมีแผนปฏิบัติเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ ดังน้ัน โครงการจึงเป็น ส่วนประกอบที่สําคัญของแผนการดําเนินงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานทุกแห่ง ดังนั้น โครงการจึงมี ความสําคัญต่อแผนการปฏิบัตงิ าน ดงั ต่อไปนี้ ๑. ช่วยชใี้ หเ้ ห็นถงึ สภาพปัญหาการทาํ งานท่ีผ่านมา ๒. ชว่ ยใหก้ ารปฏิบัตงิ านตามแผนงานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๓. ช่วยให้แผนงานมีความชัดเจน โดยคณะกรรมการหรือบุคคลที่เก่ียวข้องมีความเข้าใจและรับรู้ สภาพปญั หารว่ มกัน ๔. ช่วยให้แผนงานมีทรัพยากรใช้เพียงพอ เหมาะสําหรับการปฏิบัติงานจริง เพราะโครงการ มรี ายละเอียดเพยี งพอ ๕. ทําให้แผนงานมคี วามเป็นไปได้สงู เพราะมีผรู้ บั ผิดชอบและมสี ว่ นร่วมตามขน้ั ตอนท่ีชัดเจน ๖. ชว่ ยลดความขัดแยง้ และขจัดความซํ้าซ้อนในหน้าท่ีรับผิดชอบของหน่วยงาน เพราะโครงการแต่ละ หน่วยงานมีผรู้ บั ผิดชอบเปน็ การเฉพาะ เหมาะสมกับหนา้ ทก่ี ารงาน ความถนัดของบุคคลในหน่วยงาน ๗. เสริมสร้างความเขา้ ใจอันดีและรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ตามความรู้ ความสามารถ ของแตล่ ะบุคคล ๘. โครงการสามารถสร้างความม่ันคงให้กบั แผนงานและผรู้ ับผดิ ชอบมคี วามม่นั ใจ ในการทํางานมากขึ้น ๙. ผ้บู ริหารระดบั ตา่ ง ๆ สามารถควบคมุ การทาํ งานไดส้ ะดวกไม่ซํ้าซ้อน เพราะงานได้บ่งแยกออกเป็น สว่ นต่าง ๆ ตามลักษณะของงาน ลกั ษณะของโครงการ โครงการเป็นงานทม่ี ีลักษณะพเิ ศษ แตกต่างจากโครงงานหรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของงานท่ัว ๆ ไป ดงั น้ี ๑. เปน็ งานพิเศษที่นอกเหนือไปจากงานในชวี ิตประจําวนั ๒. เปน็ งานที่มขี นั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน โดยต้ังวตั ถปุ ระสงคท์ ่ชี ดั เจน ๓. เป็นงานที่ต้องมกี ารประชุมวางแผนงาน โดยต้ังวัตถุประสงค์และความคาดหวังของงานลว่ งหนา้ ๔. เป็นงานทตี่ ้องดาํ เนินการอย่างตอ่ เนอ่ื งจนบรรลตุ ามทีไ่ ดต้ ้ังวตั ถุประสงคไ์ ว้

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๓ ๕. เป็นงานที่ต้องทําให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด ซี่งมีทั้งระยะสั้นและระยะยาว บางโครงการ อาจทาํ ตอ่ เนอื่ งเปน็ แผนระยะยาว ๖. เปน็ งานที่ต้องมีผลและประโยชนต์ ่อกลุ่มเป้าหมายซงึ่ ได้รับผลโดยตรงจากงานทเี่ กดิ ข้นึ ๗. เป็นงานที่เกิดขน้ึ จากความรเิ รม่ิ และเสนอโดยตวั บคุ คล กลมุ่ บุคคลหรอื หนว่ ยงานก็ได้ ๘. บางกรณี การของบประมาณเพื่อจัดทํากิจกรรมต่าง ๆ ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน อาจมี การเสนอโครงการอยา่ งละเอยี ด เพอ่ื ให้เจ้าของงบประมาณพิจารณาตดั สินใจสนับสนนุ หรอื ไม่กไ็ ด้ กล่าวโดยสรุปคือ ลักษณะของโครงการจึงเป็นงานทท่ีมีลักษณะพิเศษแตกต่างจากงานประจําทั่วไป ในชีวิตประจําวัน มีข้ันตอนการปฏิบัติงาน มีวัตถุประสงค์การประชุมพิจารณาร่วมกันของบุคลากร ในหน่วยงานนั้น ๆ เพื่อกลุ่มเป้าหมายนั้น ๆ ดังน้ัน ความสําคัญของโครงการต่อแผนการปฏิบัติงานของแต่ละ หน่วยงาน ช่วยชี้สภาพปัญหาในการทํางานท่ีผ่านมา ช่วยให้งานมีความชัดเจนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะกับการปฏิบัติงานจริง ลดความขัดแย้ง ให้ผู้รับผิดชอบสร้างความมั่นใจในการทํางาน ที่สําคัญคือ ผู้บริหารสามารถควบคมุ การทาํ งานโดยไมซ่ ้าํ ซอ้ นกนั

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๔ แบบฝกึ หดั บทท่ี ๒ จงตอบคําถามตอ่ ไปน้ี ๑. โครงการมีความสาํ คัญตอ่ แผนปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงานอย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ลกั ษณะของโครงการ มอี ะไรบ้าง จงอธบิ าย …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๕ แบบทดสอบ บทท่ี ๒ ลักษณะและความสาํ คัญของโครงการ คาํ ช้ีแจง จงเลอื กคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ้ งท่สี ดุ ๑. สาเหตุที่การเขียนโครงการมีลักษณะการเขยี นแตกตา่ งไปจากการเขียนประเภทอนื่ ๆ ก. การเขยี นโครงการจะยากกวา่ การเขียนงานประเภทอืน่ ข. การเขียนโครงการต้องมกี ารระดมผ้มู คี วามร้หู ลายคน ค. โครงการมีลกั ษณะการเขียนเป็นข้นั ตอนและมีแผนปฏิบัติงาน ง. โครงการเป็นการเขยี นพรรณนาโวหารมากกวา่ งานประเภทอ่นื ๆ ๒. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งเก่ยี วกับโครงการ ก. โครงการเป็นส่วนประกอบท่ีสําคญั ของแผนการดําเนนิ งาน ข. โครงการเปน็ อิสระตอ่ กนั กบั แผนปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงาน ค. โครงการแตล่ ะหนว่ ยงานต้องมีหัวขอ้ เหมอื นกัน ง. ผรู้ ับผิดชอบโครงการอาจเปน็ บุคคลจากทอ่ี น่ื ก็ได้ ๓. ความสําคญั ของโครงการหมายถงึ ข้อใด ก. ช่วยชีใ้ หเ้ ห็นถึงการทาํ งานในอนาคตได้ ข. ช่วยชใ้ี หเ้ หน็ ถึงสภาพปญั หาการทํางานทีผ่ า่ นมา ค. ช่วยชีใ้ หเ้ ห็นสภาพปญั หาในอดตี และอนาคต ง. ไม่สามารถเหน็ ปญั หาไดเ้ พราะเปน็ แผนปตี อ่ ไป ๔. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้องเก่ยี วกับความสาํ คัญของโครงการ ก. ชว่ ยให้การปฏิบัตงิ านตามแผนเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ข. ชว่ ยให้แผนมีความชดั เจนมากขึน้ ค. ชว่ ยให้แผนงานมที รัพยากรเพียงพอ ง. ทําให้แผนมีความเส่ยี งได้ ๕. บุคคลหรอื คณะกรรมการโครงการ ควรปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไร ก. ไมจ่ ําเปน็ ตอ้ งรูร้ ายละเอียดเพราะมหี ลายคนทํางานแทน ข. คณะกรรมการควรมาจากหลายหน่วยงานร่วมกันทาํ ค. ประธานโครงการควรมอบใหเ้ ลขานุการทํางาน ง. มีความเขา้ ใจและรับร้สู ภาพปญั หาร่วมกนั

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๖ ๖. แผนงานและโครงการมคี วามเปน็ ไปไดส้ ูงเพราะเหตใุ ด ก. มีหลักการและเหตผุ ลทเ่ี ช่อื ถอื ได้ ข. มีวตั ถปุ ระสงค์ท่ีไมย่ ากจนเกนิ ไป ค. มีผู้รับผดิ ชอบโครงการและมสี ่วนรว่ มตามข้ันตอนทช่ี ดั เจน ง. งบประมาณมากพอท่จี ะบรหิ ารโครงการได้อย่างเตม็ ที่ ๗. ควรให้บคุ คลใดรับผิดชอบโครงการในข้อต่อไปน้ี ก. สมใจมีความเหมาะสมและถนดั กบั หน้าที่การงาน ข. สมจติ จบการศกึ ษามาจากต่างประเทศ ค. สมศรีเคยทําโครงการมา ๕ ปี ง. สมบรู ณ์ของบประมาณเก่ง ๘. บรรยากาศตามขอ้ ใด เหมาะสมกบั คณะกรรมการดําเนนิ โครงการของหนว่ ยงาน ก. ควรทําโครงการนอกสถานทที่ าํ งาน ข. รบั ผดิ ชอบร่วมกนั ค. แบ่งกนั ทาํ เปน็ ส่วน ๆ ง. มอบใหบ้ ุคคลที่เกง่ ท่สี ุดดูแล ๙. ถา้ มีโครงการในหน่วยงาน สามารถให้บุคลากรมีความรสู้ กึ ต่อการปฏิบตั งิ าน ตามข้อใด ก. เป็นสิ่งทีผ่ ู้บรหิ ารใหล้ ูกนอ้ งทํางานมากข้นึ ข. สร้างภาระให้บคุ ลากรมากเกินไป ค. สรา้ งความมน่ั ใจในการทํางานมากข้ึน ง. บุคลากรรูส้ ึกไม่ม่ันใจตอ่ การทํางาน ๑๐. โครงการมีความสาํ คญั ตอ่ ผู้บรหิ ารอยา่ งไร ก. แยกแยะลูกน้องเก่งกบั ไม่เกง่ ได้ง่ายขน้ึ ข. สามารถควบคมุ การทาํ งานได้สะดวก ค. เปน็ เครื่องมือการต่อรองของบประมาณเพม่ิ ง. สามารถเลือกโครงการท่ีตนเองสนใจ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๗ บทท่ี ๓ ประเภทของโครงการ สาระสาํ คญั ประเภทของโครงการมี ๓ ประเภท คอื โครงการทแ่ี บ่งตามระยะเวลา โครงการท่ีแบง่ ตาม เน้อื หา และโครงการที่แบง่ ตามลกั ษณะของผเู้ สนอโครงการ ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั ๑. จาํ แนกโครงการประเภทต่าง ๆ ๒. อธิบายส่วนประกอบของโครงการ ขอบข่ายเนอื้ หา เรื่องท่ี ๑ ประเภทของโครงการ เร่ืองที่ ๒ ส่วนประกอบของโครงการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๘ เร่ืองที่ ๑ ประเภทของโครงการ การแบง่ ประเภทของโครงการแบง่ ได้หลายลกั ษณะในทีน่ จี้ ะแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. โครงการทีแ่ บ่งตามระยะเวลา เปน็ การแบ่งโดยกําหนดระยะเวลาเป็นสาํ คญั มี ๓ ระยะเวลา คอื ๑.๑ โครงการระยะยาว มกี าํ หนดเวลาดาํ เนินการต้งั แต่ ๕ ปี เปน็ ต้นไป ๑.๒ โครงการระยะปานกลาง มกี ําหนดเวลาดาํ เนินการระหว่าง ๒ - ๕ ปี ๑.๓ โครงการระยะส้ัน มกี าํ หนดเวลาดําเนนิ งานต้ังแต่ ๒ ปี ลงมา ๒. โครงการทแี่ บง่ ตามเนอื้ หา แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั น้ี ๒.๑ โครงการวิชาการ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นวิธีการ กระบวนการ ที่เก่ียวข้องกับหลักวิชาการ และการดาํ เนินการทํางานเชงิ วิชาการทใี่ ชเ้ พ่อื บริการสังคม ชุมชนต่อไป ๒.๒ โครงการทางธุรกิจ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นผลของการปฎิบัติตามโครงการเพ่ือให้เกิด ประสทิ ธผิ ล เพือ่ มงุ่ พฒั นาธุรกิจหรอื เสริมธุรกิจให้ประสบความสาํ เร็จ ๓. โครงการตามลักษณะของผู้เสนอโครงการ แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ ๓.๑ โครงการที่เสนอโดยตัวบุคคล เป็นโครงการท่ีริเร่ิมขึ้นโดยบุคคลใดบุคคลหน่ึง ท้ังน้ี อาจ เป็นความคิดริเร่ิมของตัวผู้เขียนโครงการเอง หรือ ได้รับมอบหมายจากบุคคลอื่นให้เป็นผู้เขียนโครงการก็ได้ เชน่ โครงการพฒั นาประสิทธิภาพการเรยี นวิชาภาษาไทย เปน็ ต้น ๓.๒ โครงการที่เสนอโดยกลุ่มบุคคล เป็นโครงการที่ริเร่ิมขึ้นโดยบุคคลมากกว่า ๒ คน ข้ึนไป ที่มีความเห็นสอดคล้องกันในวตั ถุประสงค์ วธิ กี ารและมีเจตนาที่จะทาํ งานรว่ มกนั โครงการท่ีเสนอโดยกล่มุ จะมี ความสมบูรณ์กว่าโครงการที่เสนอโดยตัวบุคคลเพราะมีการวางแผนที่รัดกุมกว่า เช่น โครงการพัฒนาฝีมือ แรงงานครบวงจร เปน็ ตน้ ๓.๓ โครงการที่เสนอโดยหน่วยงาน หมายถึง โครงการท่ีอาจเริ่มโดยตัวบุคคลหรือ กลุ่ม บุคคลก็ได้ แต่เป็นโครงการท่ีดําเนินการในนามหน่วยงาน ซ่ึงทุกคนในหน่วยงานจะต้องเห็นด้วย และร่วมกัน รับผิดชอบ โครงการท่ีเสนอโดยหน่วยงานเป็นโครงการที่ใหญ่ท่ีจะต้องประสานงาน ดําเนินกิจกรรมกับทุกฝ่าย นับว่าเป็นโครงการที่สมบูรณ์กว่าโครงการประเภทอื่น เช่น โครงการจัดแข่งขันทักษะอาชีพของคนงานใน โรงงาน เปน็ ต้น

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๑๙ แบทดสอบ บทที่ ๓ เร่ืองท่ี ๑ ประเภทของโครงการ คําชี้แจง จงเลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ตอ้ งท่สี ุด ๑. ประเภทของโครงการมกี ่ีประเภท ก. ๑ ข. ๒ ค. ๓ ง. ๔ ๒. โครงการระยะยาวมีกําหนดระยะเวลาดาํ เนนิ งานกป่ี ี ก. ๒ ปี ข. ๓ ปี ค. ตัง้ แต่ ๓ ปี เป็นตน้ ไป ง. ตั้งแต่ ๕ ปี เปน็ ตน้ ไป ๓. โครงการทมี่ รี ะยะเวลาดําเนนิ งาน ๒ ปี ลงมา คือขอ้ ใด ก. โครงการระยะสัน้ ข. โครงการระยะยาว ค. โครงการระยะปานกลาง ง. โครงการที่ไม่มีกําหนดเวลา ๔. โครงการทแ่ี บง่ ตามเนอ้ื หา หมายถงึ ข้อใด ก. โครงการทจ่ี ําเป็นและสาํ รอง ข. โครงการท่ียาก งา่ ย และงา่ ยทีส่ ุด ค. โครงการวิจัยและโครงการพฒั นา ง. โครงการวชิ าการและโครงการทางธุรกิจ ๕. ถา้ ผเู้ รยี นอยากเขยี นโครงการเกยี่ วกับการบรกิ ารชมุ ชน จัดเป็นโครงการประเภทใด ก. โครงการระยะสั้น ข. โครงการวจิ ัย ค. โครงการวิชาการ ง. โครงการทีย่ าก

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๐ ๖. โครงการตามลักษณะของผู้เสนอโครงการแบง่ ออกเป็นกป่ี ระเภท ก. ๒ ประเภท ข. ๓ ประเภท ค. ๔ ประเภท ง. ๕ ประเภท ๗. จากข้อ ๖ หมายถงึ โครงการประเภทใด ก. โครงการทเี่ สนอโดยบุคคล ข. โครงการทเี่ สนอโดยเจ้าของงบประมาณ ค. โครงการทเ่ี สนอโดยผเู้ ขียนโครงการ ง. โครงการท่ีนาํ สภาพปัญหาจากปีที่ผา่ นมา ๘. โครงการทเี่ สนอโดยกล่มุ บคุ คลควรมีต้งั แต่กค่ี นขึ้นไป ก. ๒ คน ข. ๓ คน ค. ๔ คน ง. ๕ คน ๙. ทําไมโครงการที่เสนอโดยกลุม่ บุคคล จงึ มีความสมบรู ณ์กว่าโครงการทีเ่ สนอโดยคนเดียว ก. ผู้บริหารเหน็ ด้วย ข. งบประมาณมากกวา่ ค. เพราะมคี วามรมู้ ากกว่า ง. เพราะมีการวางแผนที่รัดกุมกว่า ๑๐. โครงการจัดแข่งขนั ทกั ษะอาชีพของคนงานในโรงงานจัดเป็นโครงการประเภทใด ก. โครงการทีท่ ่มุ เทงบประมาณมากกว่าปกติ ข. โครงการหลายสถาบนั ร่วมกันทํา ค. โครงการของหนว่ ยงาน ง. โครงการกลุม่ บุคคล

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๑ เร่ืองที่ ๒ ส่วนประกอบของโครงการ การเขียนโครงการจะมีรูปแบบและวิธีการเขียนที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของแต่ละ หน่วยงานว่าจะวางรูปแบบหรือกําหนดขั้นตอนในการดําเนินงานอย่างไร การเรียนรู้ข้ันตอนของการเขียน โครงการช่วยให้การลงมือปฏิบัติตามโครงการเป็นไปโดยราบรื่น รวดเร็ว และสมบูรณ์ เพ่ือให้การลงมือ ปฏิบตั งิ านสมบรู ณต์ ามแผนงานน้นั ๆ แต่โดยท่วั ไปโครงการมสี ว่ นประกอบด้วยหัวข้อตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๑. ส่วนนํา หมายถึง ส่วนท่ีให้ข้อมูลเบื้องต้นเก่ียวกับโครงการน้ัน ๆ ในส่วนน้ีอธิบายว่า เป็นโครงการ อะไรเก่ียวข้องกับใคร ใครเป็นผู้นําเสนอหรือดําเนินโครงการมีความเป็นมาและสําคัญอย่างไร มีวัตถุประสงค์ อะไร ส่วนนําจําเป็นต้องมีรายละเอียดเพียงพอท่ีจะให้ข้อมูลเบ้ืองต้นเก่ียวกับโครงการ ดังนั้น ส่วนนําของ โครงการจึงประกอบดว้ ยสว่ นยอ่ ย ดังน้ี ๑.๑ ชอ่ื โครงการ ๑.๒ ชื่อผู้รบั ผดิ ชอบโครงการหรอื ผู้ดาํ เนินโครงการ ๑.๓ หลักการและเหตผุ ลหรอื ความเปน็ มาของโครงการ ๑.๔ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ ๒. ส่วนเนื้อความ หมายถึง ส่วนที่เป็นสาระสําคัญของโครงการ เพราะกล่าวถึงวิธีดําเนินโครงการ เพ่อื ใหง้ านบรรลุเปา้ หมายตามแผนงาน สาระสาํ คญั ของส่วนเนอื้ ความประกอบดว้ ย ส่วนตา่ ง ๆ ดงั นี้ ๒.๑ เป้าหมายของโครงการ ๒.๒ วิธดี าํ เนินการ ๒.๓ วนั เวลา และสถานที่ในการดาํ เนนิ งาน ๓. ส่วนขยายความ หมายถึง ส่วนท่ีให้รายละเอียดต่าง ๆ เพิ่มเติม เพื่อให้ผู้เก่ียวข้องพิจารณา ตัดสินใจอนุมัตใิ ห้ดาํ เนนิ โครงการ เพอื่ ใหง้ านบรรลุเป้าหมายตามแผนงานทวี่ างไว้ สว่ นขยายความของโครงการ ประกอบด้วยหวั ข้อ ดงั น้ี ๓.๑ งบประมาณหรือคา่ ใช้จ่ายของโครงการ ๓.๒ ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับจากโครงการ ๓.๓ การติดตามประเมนิ ผล ๓.๔ ชื่อผูเ้ สนอโครงการไว้ในตอนท้ายของโครงการ กล่าวโดยสรุป ส่วนประกอบของโครงการ ซึ่งมีส่วนสําคัญอยู ๓ ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนนํา ส่วนเน้ือความ และส่วนขยายความ ซ่ึงส่วนนําคือ ช่ือโครงการ ผู้รับผิดชอบ หลักการและเหตุผลและ วัตถุประสงค์ของโครงการ ส่วนเน้ือความมีการเขียนเป้าหมาย วิธีการดําเนินการ และระยะเวลาท่ีกําหนด สว่ นสุดท้ายคอื ส่วนขยายความ ประกอบด้วย งบประมาณ ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ การประเมินผลและช่ือผู้เสนอ โครงการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๒ ตวั อย่างสว่ นประกอบของโครงการ ๑. ชือ่ โครงการ ............................................... ๑. สว นนาํ   ๒. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ๒. สว นเนื้อความ  ๓. หลักการและเหตผุ ลหรอื ความเปน็ มาของโครงการ ๔. วตั ถุประสงค์ของโครงการ ๓. สว นขยายความ  ๕. เปา้ หมายของโครงการ ๖. วธิ ีดําเนนิ การโครงการ ๗. ระยะเวลาดาํ เนินโครงการ ๘. งบประมาณ ๙. ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั ๑๐. การตดิ ตามประเมินผล ๑๑. ชอ่ื ผเู้ สนอโครงการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๓ แบบฝกึ หดั บทท่ี ๓ จงตอบคําถามตอ่ ไปน้ี ๑. โครงการตามลกั ษณะของผ้เู สนอโครงการ แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ (อธบิ ายให้เขา้ ใจ) ๑.๑ ………………………………………………………………………………………………………………. ………….……………….……………………………………………………………………………………………………………… ……………….………….……………………………………………………………………………………………………………… ๑.๒ ………………………………………………………………………………………………………………. ………….………………………………………………………………………………………………………….…………………… ……………….………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.๓ ………………………………………………………………………………………………………………. ………….……………….……………………………………………………………………………………………………………… ……………….………….……………………………………………………………………………………………………………… ๒. ส่วนประกอบของโครงการมกี ่ีส่วน แตล่ ะสว่ นมอี ะไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๔ แบบทดสอบ บทท่ี ๓ เรื่องท่ี ๒ ส่วนประกอบของโครงการ คาํ ชแ้ี จง จงเลอื กคาํ ตอบทีถ่ กู ตอ้ งทส่ี ุด ๑. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งเกีย่ วกับการเขยี นโครงการของแตล่ ะหนว่ ยงาน ก. การเขยี นโครงการควรจะเขียนใหต้ รงกันทุกหวั ขอ้ ข. การเขยี นโครงการมวี ิธีการแตกต่างกันตามความเหมาะสม ค. การเขียนโครงการควรดูตัวอยา่ งหนว่ ยงานอ่นื ๆ ดว้ ย ง. การเขยี นโครงการขึ้นอยกู่ บั เลขานกุ ารโครงการเปน็ หลัก ๒. การรูห้ ลกั การเขยี นโครงการมีประโยชนอ์ ยา่ งไร ก. โดยให้โครงการได้รับความไวว้ างใจจากประชาชน ข. ชว่ ยใหก้ ารของบประมาณจากแหล่งทนุ ไดม้ ากขึน้ ค. ชว่ ยให้ผบู้ รหิ ารส่งั การบุคลากรได้โดยรวดเร็ว ง. ชว่ ยใหก้ ารปฏิบตั งิ านมีความรวดเร็วและสมบูรณม์ ากขน้ึ ๓. โครงการมสี ว่ นประกอบสาํ คัญ ๓ สว่ น คอื ก. ส่วนนาํ – สว่ นเนื้อความ - ส่วนขยายความ ข. สว่ นโครงการ – ส่วนงบประมาณ - ส่วนประเมินผล ค. ส่วนหลักการ – ส่วนงบประมาณ - สว่ นผรู้ ับผดิ ชอบ ง. สว่ นวัตถปุ ระสงค์ - ส่วนงบประมาณ - สว่ นประเมินผล ๔. การเรยี นลาํ ดับการเขียนโครงการขอ้ ใดถกู ต้อง ก. ผรู้ ับผิดชอบ – หลักการเหตผุ ล - ชือ่ โครงการ ข. หลกั การเหตุผล – ชอ่ื โครงการ - ผู้รับผดิ ชอบ ค. ชอ่ื โครงการ – ผู้รับผดิ ชอบ - หลกั การเหตผุ ล ง. ผูร้ ับผดิ ชอบ – ชอ่ื โครงการ - หลกั การเหตุผล ๕. สว่ นทเ่ี ปน็ สาระสําคัญของโครงการ คอื อะไร ก. ผ้รู ับผดิ ชอบ – ช่อื โครงการ - หลกั การเหตผุ ล ข. เปา้ หมายโครงการ – วธิ ีดาํ เนินงาน - วนั เวลา สถานท่ี ค. งบประมาณ – ผลท่คี าดว่าจะได้รับ - ประเมินผล ง. ช่ือโครงการ – งบประมาณ - การประเมนิ โครงการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๕ ๖. ข้อใดเรียงลาํ ดบั ถูกตอ้ งเก่ียวกบั การเขียนโครงการ ก. ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ – การตดิ ตามประเมินผล - งบประมาณ ข. การติดตามประเมินผล – ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั - งบประมาณ ค. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ – งบประมาณ - การติดตามประเมินผล ง. งบประมาณ – ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ - การตดิ ตามประเมินผล ๗. ส่วนขยายความโครงการ หมายถึงอะไร ก. ส่วนทีใ่ ห้รายละเอยี ดต่าง ๆ เพ่มิ เตมิ ข. สว่ นทีต่ อ้ งขยายเพิม่ เตมิ ค. ส่วนทเ่ี สนองบกลางปี ง. ส่วนที่ตอ้ งเขยี นโครงการเพ่ิม ๘. ขอ้ ใดไม่ใชส่ ว่ นประกอบของการเขียนโครงการ ก. ชือ่ โครงการ ข. ผู้รับผดิ ชอบ ค. ทปี่ รึกษา ง. งบประมาณ ๙. ข้อใดมคี วามจาํ เปน็ ต้องมีคณะกรรมการรว่ มกนั ทํางาน ก. ผูร้ า่ งโครงการ ข. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ค. ผ้ขู องบประมาณ ง. ผพู้ ิมพเ์ อกสาร ๑๐. ข้อใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเกย่ี วกับ สว่ นประกอบของโครงการ ก. สว่ นนาํ โครงการ คือ วธิ ดี ําเนนิ งาน ข. สว่ นขยายความ คือ เป้าหมายโครงการ ค. ส่วนเน้ือความ คือ วิธีดาํ เนนิ งาน ง. วนั เวลา สถานท่ี ควรอย่ใู นส่วนขยายความ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๖ บทที่ ๔ การเขยี นโครงการ สาระสําคัญ โครงการเปน็ แผนกําหนดการปฏบิ ัตงิ านท่ีวางไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบขั้นตอน เป็นตัวอย่าง การคิดเชิงบูรณาการในการเชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ให้ดําเนินไปด้วยกัน ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีแนวการทํางาน ไปในทิศทางเดยี วกัน ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง ๑. เขยี นโครงการประเภทโครงการพัฒนา ๒. เขยี นโครงการประเภทโครงการเพื่อการแกป้ ญั หา ขอบข่ายเนือ้ หา การเขยี นโครงการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๗ การเขียนโครงการ โครงการเป็นแผนกําหนดการปฏิบัติงานที่วางไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบขั้นตอน เป็นตัวอย่างการคิด เชิงบูรณาการในการเชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ ให้ดําเนินไปด้วยกัน ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีแนวทางการทํางาน ไปในทิศทางเดียวกัน ปัจจุบันนิยมใช้โครงการเป็นกิจกรรมระดมสมองเพื่อพัฒนางานต่าง ๆ ของหน่วยงาน ท้ังภาครฐั และเอกชน ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ ๑. วเิ คราะห์สภาพของปัญหา หรือความตอ้ งการขององค์กรหรือหน่วยงานตา่ ง ๆ ๑.๑ ศกึ ษาสภาพแวดล้อมเพอื่ ศกึ ษาปญั หา ๑.๒ กําหนดวธิ ีการแกไ้ ขปญั หา ๑.๒.๑ วเิ คราะหค์ วามต้องาการท่ีแท้จรงิ ๑.๒.๒ วเิ คราะห์ทรพั ยากรทต่ี อ้ งใช้ ๑.๒.๓ วิเคราะห์เหตกุ ารณ์ที่เปน็ ปัญหา ๑.๒.๔ วิเคราะห์ผลประโยชน์ตอบแทน ๑.๒.๕ ปญั หาและอุปสรรค ๑.๒.๖ กําหนดวธิ ีแก้ไขปญั หา ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต ๑.๒.๗ เปรียบเทยี บทางเลอื กในการแก้ไขปัญหาท่ดี ี ๑.๒.๘ ตัดสนิ ใจเลอื กวธิ ีการทีด่ ีทีส่ ุด ๑.๒.๙ ปรับปรงุ วธิ กี ารท่ีจะเลือกนาํ ไปใช้ ๒. การเขยี นโครงการ คอื การเขยี นรายละเอียดของโครงการใหส้ อดคล้องกับส่ิงที่นาํ เสนอ ๒.๑ ถามตวั เองว่า ๖W + ๑H คือ What = จะทําอะไร Why = ทาํ ไมตอ้ งทาํ When = จะทาํ เม่อื ใด Where = จะทาํ ท่ไี หน Who = ใครเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบ To whom = โครงการน้ีจัดทาํ เพอื่ ใคร How = จะดาํ เนินการตามโครงการทจี่ ดั อยา่ งไร ๒.๒ ศึกษาหลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงการ คือ ผู้บริหารองค์การหรือหน่วยงานจะต้องเข้าใจ หลักเกณฑ์การคดั เลอื กโครงการท่ีดมี ีประโยชนต์ ่อสาธารณะชนและองคก์ ร ๒.๓ ใช้สํานวนภาษาที่มีประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสาร ภาษาเขียนจะต้องกระชับ รัดกุม เข้าใจง่าย ไมใ่ ช้ศัพทเ์ ทคนคิ หรือวิชาการทีเ่ ข้าใจยาก

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๘ ๒.๔ การะประเมินคุณคา่ ของโครงการด้านการลงทุนวา่ คมุ้ ค่าหรอื ไม่ ๒.๕ ปฏิบตั ิตามโครงการและตรวจสอบติดตามผลการทาํ งาน ๒.๖ การประเมินผลโครงการวา่ มีความสอดคล้องและถกู ต้องตามวัตถปุ ระสงคท์ ตี่ ้งั ไว้หรอื ไม่ ลักษณะโครงการสรา้ งสรรคห์ รอื พฒั นา โครงการควรมีลักษณะแสดงความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ หรือเป็นงานพัฒนาปรับปรุงคุณภาพ ท้ังที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เพ่ือให้มีประสิทธิภาพสูงย่ิงขึ้น โครงการใดที่ดําเนินงานเป็นผลดีและ ประสบผลสําเร็จอย่างน่าพอใจ ก็สามารถเป็นโครงการพัฒนาโครงการประจําได้ เช่น โครงการประหยัด พลังงานการใช้ไฟฟ้าโดยการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ หรือพลังงานลม โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว โครงการแผน่ ดินธรรมแผ่นดินทองของกระทรวงมหาดไทย เป็นตน้ การเขียนโครงการมีรูปแบบและวิธีการเขียนท่ีแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของแต่ละ หน่วยงาน แตโ่ ดยทว่ั ไปการเขยี นโครงการจะประกอบดว้ ยหัวข้อต่าง ๆ ดงั นี้ ๑. ขือ่ โครงการ ๒. ผู้รบั ผดิ ชอบ ๓. หลักการและเหตุผล ๔. วัตถุประสงค/์ จุดมุง่ หมาย ๕. เป้าหมาย ๖. วธิ ีดาํ เนินโครงการ ๗. ระยะเวลา ๘. สถานที่ดาํ เนนิ การ ๙. งบประมาณ ๑๐. ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั หรือผลทคี่ าดจะไดร้ ับ ๑๑. การประเมินผลและตดิ ตามผล ๑๒. ลงชอ่ื ผู้เสนอโครงการและผู้อนุมตั โิ ครงการ ตอ่ ไปน้ีจะขออธบิ ายรายละเอียด ลําดับขั้นตอนของการเขยี นโครงการ ดังน้ี ๑. ชอ่ื โครงการ (โครงการชอื่ อะไร) หมายถึง การบอกเลา่ วา่ โครงการนั้นเป็นเรื่องอะไร เกี่ยวข้องกับผู้ใด ผู้เขียนโครงการจะต้องเขียนชื่อโครงการให้ครอบคลุมเน้ือหาทั้งหมดของโครงการ เม่ืออ่านแล้วจะต้องนึกถึงภาพ ของโครงการได้อยา่ งชัดเจน การกําหนดช่ือโครงการตอ้ งสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์หลกั ของโครงการด้วย เช่น ๑.๑ โครงการฝึกอบรมช่างไฟฟา้ อาสาสมคั รของประชาชนในชมุ ชนวัดกระทมุ่ ๑.๒ โครงการพัฒนาบุคลากรดา้ นบญั ชขี องหนว่ ยงานยอ่ ย ๑.๓ โครงการอบรมผ้นู ําเยาวชนการศกึ ษานอกโรงเรยี นเขตประเวศ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๒๙ ๒. ผู้รับผิดชอบโครงการ (ใครทํา) หมายถึง การบอกให้ทราบว่า กลุ่มบุคคลใดหรือหน่วยงานใดเป็น ผู้รบั ผดิ ชอบในการเสนอและดําเนินงานตามโครงการ ทัง้ นี้ เพ่อื ความสะดวกในการประสานงานและตรวจสอบได้ ตวั อย่างการเขียนผรู้ บั ผิดชอบ ผู้รับผดิ ชอบ (ช่ือบุคคล) นายสธุ ี ชาํ นาญการ ผูร้ บั ผิดชอบ (กรณีเปน็ หนว่ ยงาน) โรงเรียนชมุ ชนพัฒนากา้ วหนา้ ผรู้ ับผิดชอบ (กรณีเปน็ กลมุ่ , หอ้ ง) นกั ศกึ ษา กศน. ม.ปลาย กลมุ่ ก้าวหนา้ ๓. หลกั การและเหตุผล (ทําไมต้องทาํ ) หมายถงึ ส่วนท่แี สดงถงึ ปญั หาความจะเป็นท่ตี อ้ งจดั โครงการ มากข้ึน โดยผู้เสนอโครงการจะต้องระบุถึงปัญหา เหตุผลและข้อสนับสนุนให้ปรากฏชัดเจน ซ่ึงเมื่อดําเนินงาน ตามโครงการแล้ว จะทําให้เกิดผลดีต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ในสังคม และยังช่วยพัฒนาส่ิงต่าง ๆ ให้เป็น ประโยชน์แก่ส่วนรวม การเขียนหลักการและเหตุผลก็เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ที่เป็นหัวหน้างาน เห็นถึง ความสําคัญและอนุมัตใิ ห้จัดทําโครงการได้ ๔. วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงการ (ทําแล้วได้อะไร) หมายถึง การบอกถึงความมุ่งหมาย และความจําเป็นที่มีต่อการจัดทําโครงการว่ามีผลออกมาในลักษณะใด หรืออาจเป็นการอธิบายถึงเป้าหมาย ของโครงการ โดยระบุเป็นตัวเลขก็ได้ การเขียนวัตถุประสงค์ต้องเขียนให้ชัดเจนรัดกุม และสามารถปฏิบัติ ได้จริง ครอบคลุมเหตุผลท่ีจะทําโครงการ โดยแยกเป็นข้อ ๆ เพ่ือความเข้าใจง่าย และชัดเจน ควรเรียงลําดับ ความสําคญั มากไปหาความสาํ คญั น้อย ตวั อย่าง ๑. โครงการแก้มลิง เพ่ือเก็บกักนํ้าเหนือที่ไหลเข้ามาสู่เขตกรุงเทพฯ ในช่วงฤดูฝนโดยการขุดลอก คูคลองต่าง ๆ ในบรเิ วณเขตกรงุ เทพฯ และปริมณฑล ๒. โครงการอบรมเยาวชนเพื่อต่อต้านยาเสพติด เพ่ือฝึกอบรมเยาวชนนอกโรงเรียน ชุมชนเขต ประเวศ เข้ารบั การฝึกอบรมเยาวชน ผูน้ าํ ชุมชน เพ่อื ตอ่ ตา้ นยาเสพติด โดยเปน็ วิทยากร แกนนาํ เยาวชน

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๐ ๕. เป้าหมาย (ทําแค่ไหน) หมายถึง การบอกถึงความต้องการหรือทิศทางในการปฏิบัติงานท่ีระบุ ในเชงิ ปริมาณ เชิงคุณภาพ หรือพื้นท่ีในการปฏิบัติงาน เป็นการคาดหวังไว้ล่วงหน้าที่จะได้รับ โดยมีหลักเกณฑ์ ดงั นี้ ๕.๑ ควรกาํ หนดเปา้ หมายใหเ้ ป็นรปู ธรรม ชัดเจน ๕.๒ ควรมีลักษณะเฉพาะเจาะจงในเร่ืองที่เก่ียวข้องกับโครงการหรือผลประโยชน์ท่ีจะ เกดิ ข้นึ กับโครงการ ๕.๓ ไม่ควรใชภ้ าษาทางวชิ าการ ตัวอยา่ ง เยาวชนนอกโรงเรียนเขตประเวศ จํานวน ๑๐๐ คน โดยแยกเป็น แขวงประเวศ ๔๐ คน แขวงดอกไม้ ๓๐ คน และแขวงหนองบอน ๓๐ คน ๖. วิธีดําเนินงาน (ทําอย่างไร) หมายถึง เป็นการกล่าวถึงลําดับขั้นตอนการทํางาน เพื่อให้โครงการ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กําหนด วิธีดําเนินการมักจําแนกเป็นกิจกรรมย่อย ๆ โดยแสดงให้เห็นชัดเจน ต้ังแต่ เริ่มต้นจนจบกระบวนการว่ามีกิจกรรมใดจะต้องดําเนินการ ทําเมื่อใด ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และทําอย่างไร อาจจะทาํ เปน็ ปฏิทินปฏิบตั ิงานประกอบ รวมทง้ั แสดงระยะเวลาดําเนินการควบคู่ไปด้วย ตัวอย่าง โครงการอบรมเยาวชนนอกโรงเรยี น วิธดี าํ เนินงาน ๑. ขั้นเตรยี มการ ๑.๑ สาํ รวจข้อมลู เยาวชนนอกโรงเรยี น ๑.๒ เสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมัติ ๑.๓ ประชุมคณะกรรมการมอบหมายการทาํ งาน ๑.๔ ตดิ ตอ่ สถานทอ่ี บรมหรอื สถานทีด่ ูงาน ๑.๕ เตรยี มเอกสารการอบรมและติดตอ่ วทิ ยากร ๑.๖ ติดตอ่ เครอื ขา่ ยรว่ มการอบรม เชน่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา เปน็ ต้น ๒. ขัน้ ดําเนนิ งาน ๒.๑ จดั ฝกึ อบรมตามวัน เวลา ทกี่ ําหนด ๒.๒ ประเมินผลการอบรม ๒.๓ รายงานผลการดาํ เนินงาน

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๑ ๗. ระยะเวลา (ทําเมื่อไหร)่ หมายถงึ การระบรุ ะยะเวลาตั้งแต่เร่มิ ต้นโครงการจนสน้ิ สุดโครงการ โดยระบุเวลาท่ีใช้เริ่มตน้ ต้ังแต่ วัน เดือน ปี และสิ้นสดุ หรอื แลว้ เสรจ็ ในวัน เดอื น ปี อะไร ตวั อย่าง โครงการอบรมการพฒั นาการอ่าน ระยะเวลาในการดําเนนิ งาน วันท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๕๔ – ๑๓ มกราคม ๒๕๕๔ ๘. สถานที่ดําเนินการ (ทําท่ีไหน) หมายถึง สถานที่บริเวณ พ้ืนที่ อาคาร ที่ใช้จัดกิจกรรม ตามโครงการ ตวั อยา่ งสถานท่ดี าํ เนนิ การ โครงการพฒั นาอาชพี กล่มุ แม่บ้านเขตประเวศ สถานทดี่ ําเนนิ การ ห้องประชมุ สมาคมประเวศสงเคราะห์ ๙. งบประมาณ (ได้จากที่ใดและใช้เท่าใด) หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีจะต้องดําเนินงานตามโครงการท่ี ระบุถึงจํานวนเงิน จํานวนวัสดุครุภัณฑ์หรือค่าเบ้ืยเล้ียง ค่าอาหาร เคร่ืองด่ืม ถ้าเป็นหน่วยงานทางราชการ จะ ใชค้ ําว่า “เงนิ งบประมาณ” ควรระบุว่าใชง้ บประมาณหมวดใด ปี พ.ศ. ใด และจําแนกค่าใช้จ่ายโดยละเอียดว่า ค่าตอบแทน, ค่าวัสดุ, ค่าใช้สอย เป็นต้น ส่วนหน่วยงานภาคเอกชนสามารถเบิกจ่ายได้ตามที่จ่ายจริง โดยใช้ เงนิ ของหน่วยงานนัน้ ๆ ไม่ต้องแยกว่าเป็นเงินในหมวดใดแตต่ อ้ งผา่ นความเห็นชอบจากผบู้ รหิ ารก่อน ตวั อย่างงบประมาณ งบประมาณ ๒,๑๐๐ บาท เบกิ จากเงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา ๑,๐๐๐ บาท รายจา่ ย ๑,๑๐๐ บาท คา่ วสั ดุ คา่ จัดซือ้ อาหาร-เครือ่ งดืม่ ๑๐. ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับหรือผลที่คาดว่าจะได้รับ (ทําแล้วได้ประโยชน์อะไร) หมายถึง การกล่าวถึงผลประโยชน์ท่ีพึงจะได้รับจากความสําเร็จของโครงการ เป็นการคาดคะเนผลที่จะได้รับเมื่อสิ้นสุด

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๒ การปฏบิ ตั โิ ครงการ ซ่ึงทําได้หลายวิธี เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การกรอกแบบสอบถาม การเปรียบเทียบ ฯลฯ ซงึ่ ผลที่ไดร้ ับตอ้ งเปน็ ไปในทางท่ดี ี ท้งั เชิงปริมาณและคุณภาพ ตัวอย่างการเขยี นผลทค่ี าดว่าจะได้รับ โครงการฝึกอบรมการเขียนแฟม้ สะสมผลงาน ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั คอื ๑. ผ้เู รยี นมีความรู้ ความสามารถเพ่มิ ขึ้น ๒. ผู้เรยี นสามารถทาํ แฟ้มสะสมผลงานได้ ๓. ผ้เู รยี นมีความม่นั ใจขน้ึ สามารถแนะนําการเขียนแฟม้ สะสมผลงานแกผ่ ้อู ื่นได้ ๑๑. การประเมินผลและติดตามผล (บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่) หมายถึง การประเมินผลการ ดําเนินตามโครงการ ซึ่งต้องระบุวิธีการประเมินผลให้ชัดเจนว่าจะประเมินโดยวิธีใด อาจเขียนเป็นข้อๆ หรือ เขียนรวม ๆ ก็ได้ เช่น จากการสังเกตตอบแบบสอบถาม เพื่อให้ทราบความสําเร็จหรือความล้มเหลวของ โครงการ โดยจะตอ้ งสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคห์ รือเป้าหมายของโครงการ ตวั อยา่ งการเขยี นการประเมนิ ผลโครงการ โครงการอบรมผ้นู าํ ชมุ ชน เร่อื ง การเขยี นแผนชุมชน การประเมนิ ผล คือ ผู้รับผิดชอบโครงการประเมินผลระหว่างการดําเนินงานโครงการและเมื่อสิ้นสุด โครงการ โดยการเกบ็ ข้อมลู จากผเู้ ขา้ รับการอบรม การสังเกตและแบบสอบถาม ๑๒. ชอ่ื ผูเ้ สนอโครงการและผู้สอนอนมุ ตั ิโครงการ ช่ือผูเ้ สนอโครงการ หมายถึง การระบุช่อื บคุ คลหรอื ช่อื หนว่ ยงานทมี่ หี นา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบในโครงการนั้น ๆ โดยตรงว่าเป็นผู้ใด ส่วนท้ายของโครงการจะต้องมีลายมือชื่อ พร้อมท้ังช่ือ –นามสกุล ของผู้เสนอโครงการไว้ ดว้ ย ผ้อู นมุ ัติโครงการ หมายถึง ผู้ที่มีอํานาจสูงสุดในหน่วยงานน้ัน เป็นผู้บริหาร เช่นผู้อํานวยการ ประธาน กรรมการบริษัท เป็นตน้ ตวั อยา่ งการเขียนชื่อผเู้ สนอและผูอ้ นมุ ัติโครงการ   ลงชื่อ...........................................................ผเู้ สนอโครงการ (นาง/นาง/นางสาว..............................) ลงช่ือ...........................................................ผอู้ นมุ ตั โิ ครงการ (...........................................................) ผูบ้ ริหาร/ผมู้ ีอํานาจอนุมัติ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๓ ตวั อยา่ งแบบฟอร์มการเขยี นโครงการ ๑. ชอ่ื โครงการ.............................................................................................................................. ๒. ผู้รับผิดชอบโครงการ................................................................................................................ ๓. หลกั การและเหตผุ ล ................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ๔. วัตถุประสงค์ ........................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ๕. เป้าหมาย ................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ๖. วธิ ดี าํ เนนิ โครงการ ................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ๗. ระยะเวลา................................................................................................................................ ๘. สถานที่ดําเนินการ.................................................................................................................... ๙. งบประมาณ.............................................................................................................................. ๑๐. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ............................................................................................................... ๑๑. การะประเมนิ ผล................................................................................................................... ๑๒. ลงชอื่ ผเู้ สนอโครงการและผอู้ นุมัตโิ ครงการ .......................................................................... ......................................................................................................................................................

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๔ ตัวอยา่ งการเขยี นโครงการเพื่อการพฒั นา ๑. ชอ่ื โครงการจัดการเรยี นรูต้ ามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูช่ ุมชนเขตประเวศ ๒. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ ๓. หลกั การและเหตุผล จากผลการจัดโครงการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนประเวศในปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ทําให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดํารัส ชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแก่ประชาชนชาวไทยนานกว่า ๓๐ ปี โดยทรง เน้นย้ําแนวทางการแก้ไขเพ่ือประชาชนเข้าใจ เข้าถึง สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างมั่นคง อย่างย่ังยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวัฒน์ และการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของสังคมโลกปัจจุบัน ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ในหมวด ๑ มาตรา ๖ ว่าด้วยการจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพ่ือการพัฒนา คนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและคุณธรรม ในการดํารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญา ท่ีช้ีแนวทางการดํารงชีวิตของประชาชนทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดําเนิน ไปในทางสายกลาง เพ่อื ใหก้ ้าวทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ในยคุ โลกาภิวัฒน์ ดังน้ัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ เล็งเห็นความสําคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการจัดการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชนประเวศอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ประชาชน ในพ้ืนที่ได้นําหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไปปฏิบัติให้เหมาะสมกับสภาพชีวิตของตนเอง ท้ังน้ี หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงจะเห็นผลก็ต่อเม่ือคน ๆ นั้น ได้ลงมือทําและต้องทําอย่างต่อเน่ือง และสามารถใช้ได้กับ ทุกอาชีพ ทุกพ้ืนที่ ทุกระดับชั้นของสังคม หากประชาชนรู้จักคําว่า “พอดี” รู้จักการบริหารจัดการตนเอง มแี นวทาง ท่ีจะลดรายจา่ ยและเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครวั ๔. วตั ถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชนพัฒนาความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๔.๒ เพ่ือให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชน มีช่องทางในการพัฒนาการประกอบอาชีพเพ่ือเพิ่ม รายไดแ้ ละลดรายจ่ายให้กับตนเอง ๔.๓ เพ่ือใหป้ ระชาชนกลุม่ เป้าหมายในชมุ ชนได้รับการฝกึ อาชีพตามความสนใจและความต้องการ ๔.๔ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชนให้มีทักษะการแก้ปัญหาและ การพฒั นาตนเอง

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๕ ๕. เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ - ประชาชนในชุมชนเขตประเวศ ๓๐๐ คน ใน ๓ แขวง เชิงคณุ ภาพ - ประชาชนในชุมชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนําความรู้ไปพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ให้ดีขึน้ ได้ ๖. วิธดี ําเนนิ การ กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ เป้าหมาย หมาย ดําเนนิ การ ประมาณ ๖.๑ การสํารวจ ๑. เพื่อสร้างความรู้ ประชาชนใน ๓ ๐ ๐ ชุมชนในเขต ๑. สํารวจ ๓ ๓ , ๙ ๐ ๐ กลมุ่ เป้าหมาย ความเข้าใจ ความ ชุ ม ช น ๓ คน ประเวศ ธ . ค . ๕ ๒ - บาท ๖.๒ การอบรม ตระหนักตามหลัก แขวง เม.ย. ๕๓ เร่ืองหลักปรัชญา ปรัชญาเศรษฐกิ จ ๒. การ เศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง อบรม กับการประยุกต์ ๒. เพ่ือให้ประชาชน ค ว า ม รู้ ในการดาํ เนินชีวติ ใ น ชุ ม ช น ม อ งเ ห็ น พ.ค. ๕๓ ๖.๓ การฝึกอาชีพ ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร ๓. ติดตาม เพิ่มรายได้ ประกอบอาชีพเรียนรู้ ผล ก.ค. ๖.๔ ศึกษาดูงาน ทักษะการดํารงชีวิต ๕๓ ๖.๕ การติดตาม บนพื้นฐานปรัชญา ผล เศรษฐกจิ พอเพียง ๓ . ศึ ก ษ า ดู ง า น เศรษฐกิจพอเพียง ๗. ระยะเวลาท่ดี าํ เนินการ ธันวาคม ๒๕๕๒ ถงึ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ๘. สถานที่ดําเนินการ ชมุ ชนในเขตประเวศ ๓ แขวง ๙. วงเงินงบประมาณทง้ั โครงการ จากเงินงบประมาณปี ๒๕๕๓ แผนงบประมาณ ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตท่ี ๔ ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ รหัส ๒๐๐๐๒๐๔๐๐๔๐๐๐๐๐๐ งบดําเนินงาน กิจกรรมจัดกระบวนการ

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๖ เรยี นรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน ๓๓,๙๐๐ บาท (สามหม่ืนสามพันเก้าร้อยบาทถ้วน) รายละเอียด ดังน้ี - คา่ สถานทจี่ ดั อบรม เปน็ เงิน ๒,๕๐๐ บาท - คา่ ตอบแทนวทิ ยากร (๑ คน X ๓๐๐ บาท X ๕ ชัว่ โมง เปน็ เงิน ๑,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวันผดู้ าํ เนนิ การ / ผู้เข้ารบั อบรม (๓๐๐ คน X ๑ ม้ือ) เป็นเงนิ ๒๑,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารวา่ ง (๓๐๐ คน X ๒๕ บาท X ๑ มือ้ ) เปน็ เงนิ ๗,๕๐๐ บาท - คา่ วสั ดุและจัดทาํ เอกสาร เปน็ เงิน ๙๐๐ บาท - คา่ จา้ งทําปา้ ยโครงการ เป็นเงนิ ๕๐๐ บาท หมายเหตุ ทุกรายการถัวจา่ ยตามความเป็นจริง ๑๐. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ๑๐.๑ ผู้ทีเ่ ข้าร่วมโครงการมกี ารพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๐.๒ ผ้เู ข้ารว่ มโครงการไดฝ้ ึกทกั ษะอาชีพท่เี หมาะสมตามสภาพและความตอ้ งการของตน ๑๐.๓ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนําความรู้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน เพิ่มรายได้และลดรายจ่าย โดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง ๑๑. การประเมนิ โครงการ ๑๑.๑ แบบสอบถาม ๑๑.๒ รายงานผลการปฏบิ ตั ิโครงการ ลงช่ือ.....................................................ผเู้ สนอโครงการ (......................................................) ลงชอ่ื .................................................ผตู้ รวจสอบโครงการ (………………………………………..) ลงชือ่ .................................................ผูเ้ หน็ ชอบโครงการ (…………………………………………)

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๗ ตวั อย่างการเขียนโครงการเพ่อื การแกป้ ัญหา ๑. โครงการอบรมอาชพี สาํ หรับแกป้ ญั หาผ้วู า่ งงานในชุมชนของแขวงหนองบอน ๒. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ ๓. หลกั การและเหตุผล จากสภาพเศรษฐกิจของประเทศท่ีกําลังประสบปัญหาตกตํ่าเนื่องมาจาก ภาวะเศรษฐกิจชองโลกที่ ถดถอยและเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลต่อเน่ืองจนถึงประเทศไทยเรา ทําให้ประชาชนประสบปัญหา รายได้ลดลงรายจ่ายเพิ่มขึ้น ทําให้เกิดการว่างงานขึ้นเป็นจํานวนมาก ซ่ึงเป็นปัญหาท่ีสําคัญอย่างยิ่งทาง เศรษฐกิจของประเทศไทย เน่ืองจากปัญหาดังกล่าว รัฐบาลจึงมองเห็นหามาตรการต่าง ๆ มาแก้ไขปัญหาทาง เศรษฐกิจ ในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย (สํานักงาน กศน.) จึงมีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัด ได้จัดกิจกรรมในการฝึกทักษะอาชีพต่าง ๆ ให้กับประชาชนท่ีว่างงาน เพื่อให้ประชาชนเหล่านั้นสามารถนําความรู้จากการฝึกทักษะอาชีพ มาพัฒนาอาชีพ ของตนเอง เพ่ือให้การพัฒนาอาชีพเสริมรายได้ให้มากข้ึน และทําให้ประชาชนได้มองเห็นช่องทางในการ แสวงหาอาชีพท่ีเหมาะสมกับตนเอง ส่งผลให้สามารถมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทําให้ภาวการณ์ว่างงานลดลง และสามารถดํารงตนอยู่ไดบ้ นพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตประเวศ พิจารณาเห็นว่า เพื่อเป็นการสนอง นโยบายรัฐบาล และกระทรวงศึกษาธิการในการแก้ปัญหาความยากจนของคนในชุมชน จึงได้จัดโครงการ อบรมอาชีพสําหรบั แกป้ ญั หาผู้ว่างงานเพ่ือการพัฒนาอาชพี ขึน้ ๔. วตั ถุประสงค์ ๔.๑ เพ่ือให้นักศึกษาและประชาชนท่ีว่างงานได้รับการอบรมอาชีพ เพื่อการพัฒนาอาชีพตามความ ตอ้ งการ ๔.๒ เพ่ือให้นักศึกษาและประชาชนที่ว่างงานมีความรู้และทักษะในการอบรมวิชาชีพและสามารถ ประกอบอาชพี ได้อยา่ งมคี ุณภาพ ๕. เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ - นักศึกษาและประชาชนชุมชนเราะห์ม่าตุ้ลอิสลามและบริเวณใกล้เคียงในแขวงหนองบอน จํานวน ๒๐๐ คน

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๘ เชงิ คุณภาพ - ประชาชนท่ีผ่านการอบรมอาชีพ มีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพได้อย่าง มคี ุณภาพและสามารถนาํ ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพหรือพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของตนเองไดด้ ขี ึ้น ๖. วิธีการดาํ เนินการ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้า พืน้ ที่ ระยะเวลา งบ ประมาณ ๖.๑ สํารวจข้อมลู ๑. เพือ่ ให้ประชาชน เป้าหมาย หมาย ดําเนนิ การ ๒๐ สภาพปญั หาและความ ไดร้ บั การฝึกอบรม ธันวาคม ๑๕,๐๐๐ ตอ้ งการของประชาชน อาชพี ตามความ - ประชาชน ๒๐๐ ศรช.เราะห์ ๒๕๕๒ บาท ในแขวงหนองบอน ตอ้ งการ ชุมชนเราะห์ คน ม่าตลุ้ เวลา ๖.๒ คณะกรรมการ - เพ่ือใหป้ ระชาชนมี มา่ ตุล้ อิสลาม ๙.๐๐- วางแผนการจดั กอบรม การพฒั นาอาชีพ และบริเวณ อิสลาม ๑๕.๐๐ น. อาชพี ตามความ เพ่ือสร้างรายได้และ ใกลเ้ คยี ง ต้องการของประชาชน ลดรายจา่ ยใน - นักศึกษา ๖.๓ ประสานงาน ครอบครัว แขวงหนอง วิทยากรจัดทาํ บอน หลักสูตรอบรม ๖.๔ ดําเนนิ การอบรม อาชพี ๖.๕ ประเมนิ ผลและ สรุปผลการจัด โครงการ ๖.๖ นําผลการ ประเมินมาปรับปรุง และพัฒนา ๗. ระยะเวลาท่ดี ําเนินการ วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น.

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๓๙ ๘. สถานทด่ี ําเนินการ ศรช.เราะหม์ ่าต้ลุ อิสลาม ๙. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ แผนงานขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตที่ ๔ ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบ ดาํ เนนิ งาน รหัส ๐๔๐๐๔ กจิ กรรมวิชาชีพ จาํ นวน ๑๕,๐๐๐ บาท (หนง่ึ หมนื่ ห้าพนั บาท) โครงการฝึกอาชีพสร้างรายได้ให้กับนักศึกษาและประชาชนในชุมชนเราะห์ม่าตุ้ลอิสลามและชุมชน ใกล้เคียง วิชาชีพ ๘ หลกั สตู ร ดังน้ี - หลักสูตรนาํ้ เต้าห้-ู ปาทอ่ งโก๋ - หลกั สตู รศลิ ปะประดิษฐ์ ตน้ ไม้มงคล - หลกั สตู รการรอ้ ยลกู ปัด - หลักสูตรการแกะสลกั ผลไม้ - หลกั สูตรการประดษิ ฐด์ อกไม้จากผา้ ใยบัว - หลักสตู รการประดิษฐด์ อกไม้จากดนิ ไทย - หลักสูตรการเพ้นท์แกว้ - หลักสูตรการรอ้ ยพวงมาลัยจากดอกไม้สด ๙.๑ ค่าวิทยากร ๘ วิชา X๕ ช่วั โมง X ๑๕๐ บาท เป็นเงนิ ๖,๐๐๐ บาท ๙.๒ ค่าวัสดฝุ ึกอบรม ๘ วชิ า X ๑,๐๐๐ บาท เป็นเงิน ๘,๐๐๐ บาท ๙.๓ คา่ ป้ายประชาสมั พันธ์ ๒ ป้าย เป็นเงนิ ๑,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงนิ ๑๕,๐๐๐ บาท หมายเหตุ ทุกรายการถัวจ่ายตามความเปน็ จรงิ ๑๐. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ ประชาชนท่เี ขา้ รบั การอบรมมคี วามรคู้ วามสามารถและทักษะในการฝึกอบรมอาชีพสามารถนําความรู้ ไปพฒั นาอาชพี ของตนเอง หรือพฒั นาคุณภาพชวี ิต เพอื่ เพ่ิมรายได้และลดคา่ ใชจ้ า่ ยได้

ก า ร เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร  | ๔๐ ๑๑. การประเมินโครงการ ๑๑.๑ แบบประเมินความพึงพอใจ ๑๑.๒ จากแบบประเมินผลหลังการอบรม ๑๑.๓ แบบสงั เกตพฤติกรรม ลงชือ่ .....................................................ผเู้ สนอโครงการ (....................................................) ลงช่อื .................................................ผูต้ รวจสอบโครงการ (………………………………………..) ลงชอื่ .................................................ผเู้ ห็นชอบโครงการ (..............................................)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook