Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบแผนปฏิบัติการE-book

แบบแผนปฏิบัติการE-book

Published by pantacha568, 2020-02-12 05:41:38

Description: แบบแผนปฏิบัติการE-book

Search

Read the Text Version

ก แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลหนองสองห้อง **************************** เพื่อให้การส่งเสริมการจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. และของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแพ้วจึงได้จัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลหนองสองห้อง ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ตำบล ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน ทิศทางการดำเนินงาน และรายละเอียดแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563ของ กศน.ตำบลหนองสองห้อง ซึ่งทางคณะกรรมการ กศน.ตำบลหนองสองห้อง ได้พิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. ตำบลหนองสองห้อง และให้นำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังกล่าว ใช้เป็นกรอบในการ ดำเนนิ งานของ กศน.ตำบลหานองสองหอ้ ง ตอ่ ไป ทงั้ นี้ ตงั้ แต่ เดอื น ตลุ าคม 2562 ลงชื่อ..........................................ผเู้ สนอ ( นางสาวอ้อมใจ จันทร์เนียม ) ครู กศน.ตำบล ลงชื่อ...........................................ผเู้ ห็นชอบ ( นายประสทิ ธิ์ แผว้ สกุลพนั ธ์ ) ประธานคณะกรรมการ กศน.ตำบล ลงชอื่ ...........................................ผอู้ นมุ ตั ิ (นางวรภร ประสมศร)ี รองผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดสมทุ รสาคร รักษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบ้านแพ้

ข คำนำ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลหนองสองห้อง จัดทำขึ้นเพื่อเป็น แนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึด แนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั สมุทรสาคร และยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแพ้ว ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่เพื่อกำหนด เป็นแนวปฏบิ ตั ิและแนวทางในการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลหนองสองห้อง ให้เป็นไปตามเป้าหมายทีต่ ัง้ ไว้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลหนองสองห้อง ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มนี้ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ตำบล 2) ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการ วางแผน 3) ทศิ ทางการดำเนนิ งาน และ 4) รายละเอียดแผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลหนองสองห้อง ขอขอบคุณผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบ้านแพ้ว ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ครูอาสาสมัคร กศน. เครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิง่ ทำให้แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า กศน. ตำบลหนองสองห้อง จะนำสภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นที่อย่าง แท้จริง กศน.ตำบลหนองสองห้อง ตุลาคม 2562 ผู้จัดทำ

ค สารบญั เรือ่ ง หนา้ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 .....................................................................ก คำนำ ...........................................................................................................................................ข สารบัญ ........................................................................................................................................ค สว่ นท1่ี ..................................................................................................................................... 1 ข้อมลู พ้นื ฐานของ กศน.ตำบลหนองสองหอ้ ง .................................................................1 บทบาทหนา้ ทภ่ี ารกิจ กศน.ตำบล ....................................................................................1 บคุ ลากรใน กศน.ตำบล ....................................................................................................4 แหลง่ เรยี นรใู้ นชุมชน และทนุ ดา้ นงบประมาณท่ีสามารถนำมาใช้ประโยชน์เพอื่ การจดั การศกึ ษา ....................................................................................................................................6 สว่ นที่ 2 ..................................................................................................................................... 8 ขอ้ มลู พนื้ ฐานเพือ่ การวางแผน..........................................................................................8 สภาพทวั่ ไปตำบลหนองสองหอ้ ง ......................................................................................8 ข้อมูลด้านประชากร .........................................................................................................9 ขอ้ มูลด้านสงั คม..............................................................................................................11 ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกิจ........................................................................................................11 ลกั ษณะโครงสร้างพื้นฐาน.............................................................................................12 ขอ้ มูลดา้ นการศกึ ษา......................................................................................................14 สว่ นท่ี 3 ................................................................................................................................... 15 ทศิ ทางการดำเนินงาน .................................................................................................15 นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งานสำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ........................................................15

ง ทศิ ทางการดำเนนิ งานของ กศน.อำเภอบา้ นแพว้ ........................................................20 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม กศน.ตำบลหนองสองห้อง (SWOT Analysis) ..............22 แนวทางการพัฒนา กศน.ตำบล..................................................................................23 คณะผู้จดั ทำ................................................................................................................26

จ สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา้ 1 คณะกรรมการ กศน.ตำบล ............................................................................................. 2 2 อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน ............................................................................................ 4 3 องค์กรนักศึกษา............................................................................................................. 5 4 ทำเนียบครู กศน.ตำบล .................................................................................................. 6 5 แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทบคุ คล............................................................................................. 6 6 แหล่งเรียนรูป้ ระเภทสถานท่ี/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สงั คม.......................................... 6 7 แหล่งสนับสนุน ทนุ /งบประมาณ ประเภทองค์กร ............................................................ 7 8 จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพ้ืนทตี่ ำบลหนองสองห้อง .................................. 9 9 จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ ............................................................................ 10 10 จำนวนผูพ้ กิ ารจำแนกตามประเภทความพกิ าร............................................................... 10 11 เป้าประสงค์และตวั ชี้วดั ตามความสำเร็จ........................................................................ 21 12 เป้าประสงค์และตวั ช้วี ดั ตามความสำเรจ็ ........................................................................ 24

ส่วนท1ี่ ขอ้ มูลพน้ื ฐานของ กศน.ตำบลหนองสองห้อง ความเปน็ มา เดิมทศ่ี ูนย์การเรียนชมุ ชนตำบลหนองสองหอ้ ง ต้ังอย่บู นวดั ปทุมทองรตั นาราม แต่เน่ืองจากศนู ย์การ เรยี นมีจำนวนนกั ศึกษาเพ่ิมมากขึ้น และสถานทีเ่ ดิมศูนย์การเรยี นเป็นอาคารที่ไมส่ ะดวกและคับแคบ ในการจัด กระบวนการเรียนการสอน ประกอบกับสถานที่ใหม่ (โรงเรียนบ้านดอนไผ่)โดยมี ผอ. สุทิน ฉิ่งทองคำ ได้อนุเคราะห์สถานท่ีให้ เหมาะกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลหนองสองหอ้ ง จึงได้ย้ายจากสถานที่เดิมมาอยู่ในโรงเรียนบ้านดอนไผ่ ต่อมาได้มีนโยบายให้มีการเปิด กศน.ตำบลซึ่ง กศน. ตำบลจะตอ้ งมีท่ีอยู่เป็นเอกเทศ ทางศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตมอัธยาศัยอำเภอบา้ นแพ้ว จึงได้ มีการติดต่อประสารงานกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหมู่ 8 เพื่อขอใช้ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ 8 เป็นที่ทำการเรียน การสอน และก็ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดี จากนั้นในปี 2556 กศน.ตำบลหนองสองห้อง ได้รับ งบประมาณในการกอ่ สร้าง กศน.ตำบล จึงไดม้ กี ารประสานงานขอใชท้ ่ีดินในการปลกู สร้างอาคารเรียน ซง่ึ ได้รับ ความอนเุ คราะห์จากเจา้ อาวาสวัดหนองสองห้องใหใ้ ช้ที่ดิน ตรงรมิ สนามฟุตบอล หม่ทู ่ี 8 เปน็ ท่ใี นการปลกู สร้าง อาคาร ดังนน้ั กศน.ตำบลหนองสองห้องจงึ อยู่ที่ หมู่ 8 ตำบลหนองสองหอ้ ง มาจนถึงปัจจุบัน ทต่ี งั้ กศน.ตำบลหนองสองห้อง หมทู่ ่ี 8 ตำบลหสนองสองห้อง อำเภอบา้ นแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร หมายเลขโทรศัพท์ 086-0737152 หมายเลขโทรสาร - E-Mail [email protected] บทบาทหน้าทีภ่ ารกจิ กศน.ตำบล กศน.ตำบล มบี ทบาทภารกิจท่สี อดคล้องกับนโยบายรฐั บาล และบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับการ เป็นประชาคมอาเซยี น ภายใตก้ ารขบั เคล่อื นการดำเนนิ งาน 4 ศูนย์ 1) ศูนย์เรียนรหู้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำตำบล เป็นศนู ยก์ ลางการ ส่งเสริม จดั กระบวนการเรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรยี นรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน ดำเนินงานรว่ มกบั กองอำนวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) 2) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจำตำบล เพอ่ื สร้างการเรยี นรู้และความเข้าใจที่ ถูกต้องเกย่ี วกับการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยที่มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ พระประมุข โดยเฉพาะสิทธิ และหน้าที่ ในระบอบประชาธิปไตย บูรณาการความร่วมมือกบั คณะกรรมการการเลือกตงั้ (กกต.) และ ภาคประชาสังคม

2 3) ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ซ่งึ บริหารจดั การฐานข้อมูลทจ่ี ำเป็นสำหรับ กศน. และชุมชน เพ่ือให้มี ความรู้และ รับรู้ที่เทา่ ทนั ปรบั ตวั ใหส้ อดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกยุคดจิ ิทลั 4) ศนู ย์การศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบการศึกษา และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ให้มีคณุ ภาพทีส่ อดคลอ้ งกับนโยบายทางการ ศึกษา โดยยึดชุมชนเปน็ ฐานในการดำเนนิ งาน โดย กศน.ตำบล มีบทบาทเปน็ ผปู้ ระสานงานและอำนวยความ สะดวก ตารางท่ี 1 คณะกรรมการ กศน.ตำบล รูปถ่าย ชื่อ – สกลุ บทบาท นายประสทิ ธ์ิ แผว้ สกุลพนั ธ์ ประธานกรรมการ นายเรงิ ชัย เตมิ ธนะศักด์ิ กรรมการ นายอนันต์ รงุ่ แสงอรณุ ฉาย กรรมการ นายธนรชั น์ วิเศษศริ ิ กรรมการ นายนรินทร์ เสวี กรรมการ

3 รูปถ่าย ช่ือ – สกลุ บทบาท นายกิตตชิ ยั ปญั ญาสวรรค์ นายธนา อรา่ มดี กรรมการ นายวิรัช เจียมศรรี ชั นีกร กรรมการ กรรมการ นายสชุ าติ โฉมทบั กรรมการ นายจำรสั สันทนะ กรรมการ นางสาวจิราวรรณ สง่ สุขเกษตรพร กรรมการ

รปู ถา่ ย ชือ่ – สกุล 4 นางจนั ทร์เพญ็ นุตโร บทบาท กรรมการ นางสาวออ้ มใจ จนั ทรเ์ นียม กรรมการและเลขานุการ ตารางที่ 2 อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน ชอ่ื – สกลุ บทบาท รปู ถ่าย อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน นางวภิ าพร กิตติธรเรืองชยั นางอรุณ แจ่มดี อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน บคุ ลากรใน กศน.ตำบล 1. นางสาวออ้ มใจ จันทร์เนียม ครูกศน.ตำบลหนองสองห้อง

ตารางที่ 3 องค์กรนกั ศึกษา ช่ือ – สกลุ 5 รปู ถ่าย บทบาท นางสาวสกุ ญั ญา ล้มิ หอมสนิท ประธานองคก์ รนักศกึ ษา นางสาวสดุ าริน เจรญิ ชนม์ รองประธาน นายกัตภณ ศรีดารา กรรมการ นายกฤษฎิ์ รกั ษา กรรมการ นางอรณุ แจ่มดี เหรัญญิก นางสาววรรณศิริ ชว่ ยทองหลาง กรรมการและเลขานุการ

6 ตารางที่ 4 ทำเนยี บครู กศน.ตำบล ลำดับท่ี ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาที่ดำรง ครูกศน.ตำบลหนองสองห้อง ตำแหน่ง 1 นางสาวออ้ มใจ จันทรเ์ นียม 2554 - จนถงึ ปัจจบุ นั แหล่งเรยี นรู้ในชุมชน และทนุ ด้านงบประมาณทสี่ ามารถนำมาใชป้ ระโยชน์เพื่อการจดั การศกึ ษา ประเภทบุคคล ประเภทสถานท่ีและองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทาง สงั คม-วัฒนธรรมและต้นทนุ งบประมาณ ตารางที่ 5 แหล่งเรยี นร้ปู ระเภทบุคคล ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ความรู้ความสามารถ ท่ีอยู่ นางสาวจริ าวรรณ ส่งสุขเกษตรพร เกษตรผสมผสาน 78 หมูท่ ี่ 3 นายอ๊อด จันทร์เชย นายสำราญ ลายไม้ ตำบลหนองสองห้อง นางสงวน ลายไม้ เกษตรผสมผสาน 45/1 หมทู่ ี่ 9 ตำบลหนองสองหอ้ ง เลน่ เรอ่ื งดนตรพี น้ื บา้ นประเภท แคน 99/1 หมทู่ ่ี 5 ตำบลหนองสองห้อง การรำไทยทรงดำ บา้ นเลขท่ี 99/1 หมูท่ ี่ 5 ตำบลหนองสองห้อง ตารางที่ 6 แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทสถานท/ี่ ชมุ ชน/กล่มุ ทางเศรษฐกิจ/สงั คม ชอื่ แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ทต่ี ้ัง กศน.ตำบลหนองสองห้อง ด้านการศึกษา หมู่ 8 ตำบลหนองสองหอ้ ง วดั หนองสองห้อง ด้านศาสนาและวฒั นธรรม หมทู่ ี่ 8 ตำบลหนองสองห้อง วดั ปทุมทองรตั นาราม ดา้ นศาสนาและวัฒนธรรม หมทู่ ่ี 2 ตำบลหนองสองห้อง โรงเรียนบ้านดอนไผ่ ดา้ นการศึกษา หม่ทู ี่ 2 ตำบลหนองสองห้อง โรงเรียนวัดหนองสองห้อง ดา้ นการศึกษา หม่ทู ่ี 8 ตำบลหนองสองห้อง (สายชนปู ถัมภ์)

7 ชือ่ แหลง่ เรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทต่ี ง้ั ศูนยว์ ฒั นธรรมไทยทรงดำ ด้านประเพณแี ละวฒั นธรรม หมู่ท่ี 8 ตำบลหนองสองห้อง กลุ่มอินทรีชวี ภณั ฑ์ ด้านการเกษตร บ้านเลขที่ 45/1 ม.9 ตำบล หนองสองห้อง ศูนยจ์ ัดการศัตรูพืชชุมชนตำบล ดา้ นการเกษตร 78 หมู่ท่ี 3 หนองสองห้อง ด้านการเกษตร ตำบลหนองสองห้อง สหกรณผ์ ูป้ ลูกมะนาวบ้านแพ้ว 73 หมู่ 1 ตำบลหนองสองห้อง ตารางท่ี 7 แหลง่ สนบั สนุน ทนุ /งบประมาณ ประเภทองค์กร ทอี่ ยู่/ท่ีตั้ง หมูท่ ี่ 9 ตำบลโรงเข้ ภาคเี ครอื ขา่ ย การสนับสนนุ 1. เทศบาลตำบลหลักห้า งบประมาณ

ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู พนื้ ฐานเพ่อื การวางแผน สภาพท่ัวไปตำบลหนองสองห้อง ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ จังหวัดราชบุรี ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ ตำบลยกกระบตั ร ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ ตำบลหนองบวั ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ ตำบลโรงเข้ กศน.ตำบลหนองสองห้อง หมู่ที่ 8 ตำบลหนองสองหอ้ ง อำเภอบา้ นแพว้ จงั หวัดสมทุ รสาคร

9 ข้อมูลด้านประชากร ตารางที่ 8 จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพ้นื ท่ีตำบลหนองสองหอ้ ง หมู่ ชือ่ หมูบ่ า้ น จำนวน จำนวนประชากร(คน) จำนวนครวั เรือนในพ้นื ท่ี ที่ ครัวเรอื น ชาย หญงิ รวม เขต อบต. เขตเทศบาล 182 191 373 1 บา้ นทา่ นดั 117 409 460 869 117 224 174 180 354 224 2 บ้านปทมุ ทองพัฒนา 112 146 155 301 112 85 200 236 436 85 3 หมนู่ อก (ชุมชนเจริญวฒั นา) 114 220 216 436 114 154 280 271 551 154 4 บ้านโรงหมใู่ น 208 438 453 891 208 252 177 175 352 252 5 บ้านกลางนา 80 221 242 463 80 123 2,447 2,579 5,026 123 6 บ้านดอนพัฒนา 1,469 1,469 7 บ้านสองหอ้ ง 8 บา้ นสองห้องใน 9 บ้านหมเู่ พชร 10 เกษตรสามัคคี รวม ตำบลหนองสองห้อง มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จำนวน 1,469 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครอง เทศบาลตำบลทั้งหมดมีประชากรท้งั ส้นิ คนแยกเปน็ ประชากรชาย จำนวน 2,447 คนคิดเปน็ ร้อยละ 48 และ ประชากรหญงิ จำนวน 2,579 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 52 ความหนาแน่นเฉลี่ย คน/ตารางกิโลเมตร

10 ตารางที่ 9 จำนวนประชากรจำแนกตามชว่ งอายุ ชว่ งอายุ (ปี) จำนวน (คน) ร้อยละของประชากรทง้ั หมด (คน) น้อยกวา่ 1 ปีเต็ม 2 0.04 1 - 2 ปี 45 0.90 3 - 5 ปี 98 1.95 6 - 11 ปี 200 3.98 12 - 14 ปี 102 2.03 15 - 17 ปี 113 2.25 18 - 25 ปี 451 8.97 26 - 49 ปี 1,894 37.68 50 - 60 ปี 924 18.38 1,197 23.82 มากกว่า 60 ปี ขน้ึ ไป 5,026 100 รวม จากตารางจำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่ อยู่ในช่วงอายุ 26- 49ปี คิดเป็นร้อยละ 37.68 รองลงมาคือ อายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 23.82 รองลงมาคือ อายุ 50 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.38 รองลงมาคือ อายุ 18 - 25 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.97 รองลงมาคือ อายุ 6 - 11 ปี คิดเป็นร้อยละ 3.98 รองลงมาคือ อายุ 15 - 17 ปี คิดเป็นร้อยละ 2.25 รองลงมาคือ อายุ 12 - 14 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.03 รองลงมาคอื อายุ 3 - 5 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 1.95 รองลงมาคือ อายุ 1-2ปี และ อายุ นอ้ ยกวา่ 1 ปีเต็ม คดิ เปน็ ร้อยละ 0.04 ตามลำดับ ตารางท่ี 10 จำนวนผพู้ กิ ารจำแนกตามประเภทความพิการ ประเภทผูพ้ ิการ จำนวนผพู้ กิ าร (คน) คิดเป็นร้อยละ ชาย หญงิ รวม -ทางสมอง 30 18 48 19.18 -ทางสายตา 6 6 12 2.90 -ทางร่ายกาย 53 48 101 40.81 -ทางจติ ใจหรอื พฤติกรรม 6 12 18 6.50 - ทางการได้ยนิ 44 31 75 30.61

11 กลุ่มผู้พิการ เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติทวั่ ไป อันเน่ืองมาจากข้อจำกดั ทางด้านร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญาหรือความสามารถใน การเรียนรู้ จากตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบลหนองสองห้อง จำแนกประเภทความพิการ ส่วนใหญ่มีความพิการทางร่ายกาย คิดเป็นร้อยละ 40.81 รองลงมาคือ พิการทางการได้ยิน คิดเป็นร้อยละ 30.61 รองลงมาคือ พิการทางสมอง คิดเป็นร้อยละ 19.18 รองลงมาคือ พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม คดิ เปน็ ร้อยละ 6.50 และ พกิ ารทางสายตา ตามลำดับ ข้อมูลดา้ นสังคม ประชาชนตำบลหนองสองห้อง ส่วนใหญ่จบการศึกษาตามที่ภาครัฐกำหนดมีระบบการบริการ ด้านสาธารณสุขมูลฐาน อย่างเพียงพอและทั่วถึง ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและดูแลสุขภาพ ของตนเอง ในชุมชนบางแหง่ มีปัญหาด้านยาเสพติดแต่ในอตั ราสว่ นตอ่ จำนวนประชาชนที่ไมม่ ากนัก ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกิจ ลักษณะเศรษฐกจิ อาชีพหลักของประชาชนในท้องถิ่นคือการทําการเกษตรสวนผลไม้ และการทําประมง น้ำจืด นอกจากนั้นประชาชนบางส่วนยังประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปและเป็นแรงงานภาค อุตสาหกรรมในเขตท้องที่ ใกล้เคยี ง โครงสร้างทางเศรษฐกจิ /รายได้ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น สวนมะม่วง,สวน ฝรั่ง,มะนาว,สวนลําใย,สวนกล้วย,สวนมะละกอ, ทําสวนองุ่น,สวนมะพร้าว,สวนกล้วยไม้,ปลูกพืชล้มลุกฯลฯ ร้อยละ60 และทําการเลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงกุ้งกุลาดํา,เลีย้ งกุ้งขาว, ปลานิล, ฯลฯ ร้อยละ10 มีอาชีพรับจ้าง ท้ังในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ร้อยละ30 การเกษตรกรรม มแี หลง่ น้ำจืดที่อุดมสมบูรณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลูก จงึ มีการทาํ สวนผกั ผลไมเ้ ป็นจํานวนมากโดย อ า ศั ย แหล่งน้ำจากคลองสาย (1) การเพาะปลูกอาชพี เพาะปลูกเป็นอาชพี หลักในรูปของการทาํ สวนผลไม้ เช่น ,ฝรง่ั ,มะพรา้ ว นำ้ หอม,มะม่วง,องนุ่ , มะนาว,ลาํ ใย, และกล้วย ฯลฯ (2) การปศุสัตว์และการประมง ราษฎรบางส่วนประกอบอาชพี เลยี้ งสตั ว์ เช่น การเลีย้ งปลา , การเลยี้ งกุ้ง , ฯลฯ (3) ระบบการชลประทาน ในเขตตำบลหนองสองห้อง ไดร้ ับประโยชนจ์ ากแหล่งน้ำจดื ตามธรรมชาติ จากคลองดําเนินสะดวก และคลองซอยเพื่อใชใ้ นการเกษตรการ

12 การพาณชิ ยกรรม/การบรกิ ารผลผลติ ทางดา้ นการเกษตร ส่วนใหญ่จะมีพ่อค้าคนกลางมาซื้อถึงแหลง่ ผลิตและมีเกษตรกรบางกลุ่มรวมตัวกัน นําผลผลิตทางการ เกษตรไปขายยังตลาดรับซื้อใหญ่ ๆ เช่น ตลาดไท ตลาดศรีเมืองตลาด สี่มุมเมือง ฯลฯ ผลผลิตทางด้าน อุตสาหกรรม สินค้าจะถูกส่งเข้าตลาดโดยผู้ประกอบกิจการเอง และการประกอบธุรกิจการค้าจะเป็นร้านค้า รายย่อยและล า น ค้ า ชุ ม ช น (ตลาดนัด การทอ่ งเที่ยว เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นสวนเกษตรซึ่งประกอบด้วย สวนกล้วยไม้และสวนผลไม้ที่มีชื่อเสียง เช่น สวนกล้วยไม้ สวนมะนาว สวนมะพร้าวน้ำหอม สวนองุ่น สวนฝรั่ง ฯลฯ จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะส่งเสริม ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรที่สาํ คัญ โดยสามารถจัดกิจกรรม การท่องเที่ยวนั่งเรือชมสวนและ วิถชี ีวิตของประชาชนริมคลองดําเนินสะดวก สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจอีกหนึ่งแห่ง คือ พระพุทธรูป หลวงพ่อพทุ ธศิลา หลวงป่สู ายเกจิอาจารย์เลอื่ งช่อื (ไมเ่ น่า,ไมเ่ ป่ือย) วดั หนองสองหอ้ ง พระพุทธรูปนาคปรก กั้งอยู่ริมน้ำ วัดปทุมทองรัตาราม ประดิษฐานเป็นที่เคารพสักการะของประชาชน ในพื้นที่ตําบล และพนื้ ท่ใี กล้เคยี งเช่นกัน ลักษณะทรัพยากร ทรพั ยากรน้ำแหล่งนำ้ ท่ีประชาชนใช้ประโยชนใ์ นการเกษตรและการคมนาคม มีทั้งแหล่งน้ำธรรมชาติ และระบบชลประทาน แหลง่ น้ำใหญเ่ ปน็ แหล่งน้ำธรรมชาติจากคลองดาํ เนินสะดวกและคลองสวนนอกจากนี้ ยงั มคี ลองที่ราษฎรร่วมใจกันขุดขึ้นเองอกี จํานวนหน่ึงเพื่อใช้ในการเกษตรและการคมนาคมในหมู่บ้าน สภาพสิ่งแวดล้อม คณุ ภาพของแหลง่ น้ำ แหล่งน้ำในลําคลองต่างๆ ไมม่ ีคุณภาพเนือ่ งจากชาวสวนปล่อยน้ำทมี่ ี สารเคมี จากสวนลงสู่ลําคลอง จึงทําให้คณุ ภาพของน้ำตกตำ่ กวา่ มาตรฐานไม่เหมาะท่จี ะนํามาใช้ในการ บริโภค ลักษณะโครงสรา้ งพืน้ ฐาน การคมนาคม การคมนาคมและการขนส่ง ประชาชนสามารถใช้เส้นทางคมนาคมทั้ง ทางน้ำและทางบก ทางน้ำ มี คลองดําเนินสะดวกเป็นเส้นทางหลักในการสัญจร ซึ่งประชาชนโดยใช้เรือเป็นพาหนะ สามารถติดต่อถึงกันได้ ทั่วถึง และการคมนาคมทางบก มีถนนครอบคลุมเป็นโครงข่ายทั่วพื้นที่สามารถใช้รถยนต์ และมีรถโดยสารประจําทาง ดังนั้นการคมนาคมขนส่งในเขตเทศบาลมีความสะดวกมาก มีถนนที่สามารถใช้ได้สะดวกในทุกฤดูกาล มี เสน้ ทางติดต่อระหว่างตําบลระหวา่ งตําบลหมบู่ ้านอาํ เภอและจังหวดั ใกล้เคียง

13 การคมนาคมทางน้ำ 1. ท่าเรือโดยสารจากอําเภอบ้านแพ้ว ถงึ วดั ปทุมทองรัตนารามสดุ สายถึงวดั ปราสาทสิทธ์ิ อาํ เภอ ดาํ เนนิ สะดวก จังหวัดราชบุรี (หลักห้า) การคมนาคมทางบก 1. ท่ารถเมล์โดยสารสายหนองสองหอ้ ง – บา้ นแพว้ 2. ท่ารถเมล์โดยสารสายบ้านแพว้ – ประสาทสิทธ์ิ (ผ่านวดั ปทมุ ทองรตั นาราม) การไฟฟ้า การให้บริการไฟฟ้าดําเนินการโดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอําเภอบ้านแพ้ว และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ดอนไผ่ให้บริการไฟฟ้าครอบคลุมในตําบล และทางเทศบาลได้จัดสรรงบประมาณเป็นประจําทุกปี เพื่อ เป็นค่าใช้จ่ายในการขยายเขตไฟฟ้า ด้านไฟฟ้าสาธารณะให้ความส่องสว่างเวลากลางคืน โดยได้ ติดตั้งโคมไฟฟ้าส่องสว่างตามเส้นทางคมนาคมที่มีการสัญจรไปมาทั้งทางบกและทางน้ำ เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของประชาชน การประปา ราษฎรส่วนใหญใ่ ชร้ ะบบประปาหมบู่ ้าน ประเภทน้ำใตผ้ วิ ดนิ โดยเจาะน้ำบอ่ บาดาล พร้อมกอ่ สร้างหอ ถงั เก็บน้ำ จ่ายนำ้ ไปทุกครัวเรือน โดยไดร้ ับงบประมาณในการจดั สร้างจากหลายหน่วยงาน เช่น กรมโยธาธกิ าร สาํ นักงานเรง่ รดั พัฒนาชนบท กรมอนามัยองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดสมุทรสาครและงบประมาณการกอ่ สรา้ ง จากเทศบาลตําบลหลักห้าเปน็ ตน้ การสอ่ื สารและการโทรคมนาคม ประชาชนในตำบลยกกระบัตรสามารถใช้โทรศัพท์สาธารณะในหมู่บ้าน โทรศัพท์ใน ครัวเรือน และโทรศัพท์มือถือ ในพ้นื ทีม่ ีประชาชนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น จะมีโทรศัพท์สาธารณะติดตง้ั อาํ นวยความสะดวก แก่ประชาชนรวมถงึ ตามสถานทต่ี ง้ั ของหน่วยงานราชการ ทา่ รถโดยสารและทา่ เรือโดยสาร ประจาํ ทาง การส่ือสารผ่านทางไปรษณีย์ ซงึ่ สามารถเข้าถึงได้ทุกหมบู่ า้ น และเทศบาลตําบลหลักห้า ได้ จดั ใหม้ บี ริการ Internet ตําบล เพอ่ื การคน้ หาข้อมูลสําหรบั ประชาชน จํานวน 1 แหง่ การสาธารณสุข รณรงค์ให้ความรู้ด้านสาธารณสขุ การป้องกนั และควบคุมโรคตดิ ต่อโดยแมลงและพาหะนําโรค การ ปอ้ งกนั การติดยาเสพตดิ และสารเสพติด การควบคุมการประกอบการค้าที่น่ารงั เกยี จ หรืออาจเปน็ อนั ตราย แก่สุขภาพ การป้องกันและควบคมุ แก้ไขเหตุราํ คาญและมลภาวะ ตลอดจนการสง่ เสรมิ สขุ ภาพการ

14 รักษาพยาบาล และงานด้านสาธารณสุขอ่ืน ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งภายในเขตเทศบาลโดยกองสาธารณสุขและ สงิ่ แวดลอ้ ม นอกจากนี้ยังมีสถานบริการของภาครัฐและเอกชน ท่สี ามารถให้การรกั ษาพยาบาลประชาชน ขอ้ มูลดา้ นการศกึ ษา ตำบลหนองสองห้อง มีสถานศกึ ษารวมท้งั หมด 2 แห่ง มีครจู ำนวน.................คน และมนี กั เรยี น จำนวน.......................คน เปน็ อตั ราส่วนครู/อาจารย์ ต่อนักเรียน ประมาณ.........................ในแตล่ ะ สถานศกึ ษาที่อย่ใู นเขตตำบล.......................มีจำนวนนักเรยี น นกั ศึกษา ดงั น้ี 1) โรงเรยี นวดั หนองสองห้อง(สายชนปู ถมั ภ์) จำนวนนกั เรียน...................คน 2) โรงเรียนบา้ นดอนไผ่ จำนวนนักเรยี น...................คน 3) ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก 2 แหง่ จำนวนนักเรยี น...................คน 4) กศน.ตำบล 1 แห่ง จำนวนนกั เรียน 40 คน

สว่ นที่ 3 ทศิ ทางการดำเนนิ งาน นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งานสำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความ ตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบนั หลกั ของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรกั และความภาคภูมิใจในความเปน็ คนไทยและชาติไทย นอ้ มนำและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถึงแนวทาง พระราชดำรติ ่างๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถกู ตอ้ ง และการมีส่วนรว่ มอย่างถกู ต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ ในบริบทของไทย มีความเปน็ พลเมอื งดี ยอมรับและ เคารพความหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การจดั การศึกษาเพอ่ื ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาภยั คุกคามในรูปแบบใหม่ ท้งั ยาเสพติด การค้ามนษุ ย์ ภัยจากไซเบอร์ ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ตั ิใหม่ๆ 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา การพัฒนา ทักษะ การสร้างอาชีพ และการใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต้ และพืน้ ท่ีชายแดนอ่นื ๆ 1.5 สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรมของประเทศพื้นบา้ น ยอมรบั และเคารพในประเพณี วฒั นธรรมของกลุ่มชาติพนั ธุ์ และชาวต่างชาติท่มี ีความหลากหลาย ในลักษณะพหุ สงั คมที่อย่รู ่วมกัน 2. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 2.1 เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อยกระดับทักษะด้านอาชีพของประชาชนให้ เปน็ อาชพี ท่ีรองรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S – curve และ New S - curve) โดยบรุ ณาการ ความร่วมมอื ในการพฒั นาและเสรมิ ทักษะใหมด่ ้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเน้นสรา้ งโอกาสในการ สร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพืน้ ท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพฒั นาพิเศษตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ สำหรับพื้นท่ีปกติ ให้พัฒนาอาชพี ท่ีเนน้ การตอ่ ยอดศักยภาพและตามบริบทของพ้นื ท่ี 2.2 จดั การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาพน้ื ท่ีภาคตะวนั ออก ยกระดับการศึกษาให้กบั ประชาชนใหจ้ บการศกึ ษา อยา่ งน้อยการศึกษาภาคบงั คับ สามารถนำคุณวฒุ ิที่ไดร้ ับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมทงั้ พฒั นาทกั ษะ

16 ในการประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ ตอบสนองต่อบริบทของสงั คม และชุมชน รวมท้ังรองรับการพัฒนาเขตพ้ืนทร่ี ะเบียงเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพอ่ื ต่อยอดการผลิตและจำหนา่ ยสนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์ออนไลน์ 1) เรง่ จดั ตงั้ ศนู ย์ใหค้ ำปรึกษาและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ Brand กศน. เพ่ือยกระดับคุณภาพของสินค้าและ ผลิตภณั ฑ์ การบรหิ ารจัดการทคี่ รบวงจร (การผลติ การตลาด การส่งออก และสร้างช่องทางจำหน่าย) รวมท้งั ส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการเผยแพร่และจำหน่ายผลติ ภัณฑ์ 2) พัฒนาและคดั เลือกสุดยอดสินค้าและผลติ ภณั ฑ์ กศน. ในแต่ละจังหวดั พร้อมท้ังประสานความ รว่ มมอื กบั สถานีบริการน้ำมนั ในการเปน็ ชอ่ งทางการจำหน่ายสุดยอดสินคา้ และผลติ ภัณฑ์ กศน. ให้กวา้ งขวาง ยง่ิ ขึ้น 3. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชื่อมโยงความรู้กับ ผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “มืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ สังคมและเป็น “ผูอ้ ำนวยการเรยี นร”ู้ ท่สี ามารถบริหารจดั การความรู้ กจิ กรรม และการเรยี นรู้ทด่ี ี 1) เพิ่มอัตราข้าราชการครูให้กับ กศน. อำเภอทุกแห่ง โดยเร่งดำเนินการเรื่องการหาอัตรา ตำแหนง่ การสรรหา บรรจุ และแต่งตงั้ ข้าราชการครู 2) พฒั นาข้าราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่ีเช่ือมโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตำบลให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนา ทกั ษะการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ ให้สามารถปฏิบัติการนิเทศไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จากดิจิทัล และภาษาต่างประเทศท่จี ำเป็น 3.2 พัฒนาแหลง่ เรียนร้ใู ห้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ มคี วามพร้อมในการ ให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่ เอือ้ ต่อการเรียนรู้ เปน็ คาเฟ่พื้นท่กี ารเรยี นรสู้ ำหรับคนทกุ ชว่ งวัย มสี ง่ิ อำนวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงาม มชี ีวติ ท่ีดงึ ดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสำหรบั ผ้ใู ชบ้ ริการ 1) ยกระดับ กศน.ตำบลนำร่อง 928 แห่ง (อำเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม ที่ประกอบด้วย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพื้นที่) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรียนที่ดีมี ประโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็นพื้นที่การ เรียนรู้ (Co – Learning Space) ที่ทันสมัยสำหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่างๆ อาทิ พื้นท่ี สำหรับการทำงาน/การเรยี นรู้ พน้ื ทสี่ ำหรบั กิจกรรมต่างๆ มหี อ้ งประชุมขนาดเล็ก รวมทงั้ ทำงานรว่ มกบั

17 ห้องสมดุ ประชาชนในการใหบ้ รกิ ารในรปู แบบหอ้ งสมุดดิจิทัล บริการอินเตอร์เน็ต สอื่ มัลตมิ เี ดยี เพือ่ รองรบั การ เรยี นรู้แบบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library โดยให้มีบริการหนังสือ ในรูปแบบ e – Book บริการคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง รวมทั้ง Free Wi-fi เพื่อการสืบค้น ขอ้ มลู 3.3 สง่ เสริมการจดั การเรียนรูท้ ีท่ นั สมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้ือต่อการเรยี นรู้สำหรบั ทุกคน สามารถ เรยี นไดท้ ุกทที่ ุกทท่ี ุกเวลา มีกิจกรรมท่หี ลากหลาย นา่ สนใจ สนองความต้องการของชุมชน เพ่ือพัฒนา ศกั ยภาพการเรยี นรูข้ องประชาชน รวมทัง้ ใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการรว่ มจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธข์ องคนในชุมชนไปส่กู ารจัดการความรู้ของชุมชนอย่างย่ังยนื 1) ส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ปลูกฝังคณุ ธรรม สร้างวนิ ัย จติ สาธารณะ ความรับผดิ ชอบตอ่ ส่วนรวม และการมจี ิตอาสา ผ่านกจิ กรรมรปู แบบต่างๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจติ อาสา ตลอดจน สนับสนนุ ให้มีการจัดกจิ กรรมเพือ่ ปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรมให้กบั บุคลากรในองค์กร 2) จัดให้มีหลักสตู รลูกเสือมัคคเุ ทศก์ โดยใหส้ ำนกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. จดั ตัง้ กองลกู เสือ ทล่ี กู เสอื มี ความพร้อมดา้ นทกั ษะภาษาต่างประเทศ เป็นลูกเสอื มคั คเุ ทศก์จังหวดั ละ 1 กอง เพอ่ื ส่งเสรมิ จิตอาสา พัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในแต่ละจังหวัด 3.4 ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคเี ครอื ข่าย ประสาน สง่ เสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ท้งั ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ รวมท้ังส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่อื สรา้ งความเข้าใจ และใหเ้ กิดความรว่ มมือในการสง่ เสริม สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ 1) เร่งจดั ทำทำเนยี บภมู ปิ ัญญาในแตล่ ะตำบล เพอ่ื ใชป้ ระโยชน์จากภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ในการสร้างการ เรียนรจู้ ากองคค์ วามรใู้ นตวั บคุ คลให้เกิดการถ่ายทอดภูมปิ ัญญา สร้างคุณคา่ ทางวฒั นธรรมอยา่ งยัง่ ยนื 2) ส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ สู่การเรยี นรู้ชมุ ชน 3) ประสานความร่วมมอื กับภาคเี ครือขา่ ยเพื่อการขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยให้เข้าถึงกล่มุ เปา้ หมายทกุ กลมุ่ อย่างกว้างขวางและมคี ุณภาพ อาทิ กลุ่มผู้สูงอายุ กลมุ่ อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชนต์ ่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย 1) พฒั นาการจัดการศกึ ษาออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน การพัฒนาทกั ษะ ชวี ติ และทักษะอาชีพ การศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทัง้ การพัฒนาช่องทางการค้าออนไลน์ 2) ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการปฏิบตั ิงาน การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ 3) ส่งเสริมใหม้ ีการใชก้ ารวิจัยอยา่ งงา่ ยเพ่ือสร้างนวัตกรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศกั ยภาพคนดา้ นทกั ษะและความเขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรู้และทกั ษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่ือพฒั นารูปแบบการ เรยี นการสอน

18 2) ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ด้านเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื ให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ท่สี ามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั รวมทั้งสร้างรายได้ใหก้ ับตนเองได้ 3.7 พัฒนาทกั ษะภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยเนน้ ทักษะภาษาเพ่อื อาชพี ทั้งในภาคธรุ กจิ การบริการ และการท่องเที่ยว รวมท้งั พฒั นาส่ือการ เรยี นการสอนเพอ่ื สง่ เสริมการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารและพัฒนาอาชพี 3.8 เตรียมความพรอ้ มการเขา้ สูส่ งั คมผู้สงู อายุที่เหมาะสมและมีคณุ ภาพ 1) ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมใหก้ ับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนกั ถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคม ผสู้ ูงอายุ (Aging Society) มีความเขา้ ใจพฒั นาการของชว่ งวยั รวมทง้ั เรยี นรแู้ ละมสี ่วนร่วมในการดแู ล รับผดิ ชอบผู้สูงอายุในครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจดั บริการการศึกษาและการเรยี นรู้สำหรับประชาชนในการเตรียมความพรอ้ มเข้าสูว่ ัย สูงอายุทีเ่ หมาะสมและมีคณุ ภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตสำหรบั ผู้สงู อายุภายใต้แนวคดิ “Active Aging” การศึกษา เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิต และพฒั นาทักษะชีวิต ใหส้ ามารถดูแลตนเองท้งั สขุ ภาพกายและสุขภาพจิตและรจู้ ักใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนกั ถึงคุณค่าและศักดิ์ศรขี องผ้สู งู อายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภมู ิปัญญาของ ผสู้ ูงอายุ และให้มสี ่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่างๆ ในชุมชน เชน่ ดา้ นอาชพี กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรบั สงั คมผูส้ ูงอายุ โดยบรู ณาการความร่วมมอื กบั หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง ในทกุ ระดบั 3.9 การส่งเสริมวิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรกุ และเน้นให้ความรวู้ ทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งง่ายกบั ประชาชนในชุมชน ทั้ง วิทยาศาสตร์ในวถิ ีชวี ติ และวิทยาศาสตรใ์ นชีวิตประจำวัน 2) พัฒนาสอ่ื นิทรรศการและรูปแบบการจัดกจิ กรรมทางวิทยาศาสตร์ให้มีความทนั สมยั 3.10 ส่งเสริมการรภู้ าษาไทยให้กับประชาชนในรปู แบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพน้ื ท่ีสูงให้ สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพือ่ ประโยชนใ์ นการใช้ชวี ติ ประจำวันได้ 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จดั ตง้ั ศนู ย์การเรยี นร้สู ำหรบั ทกุ ช่วงวัย ทเี่ ป็นศนู ย์การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ทีส่ ามารถให้บรกิ าร ประชาชนไดท้ ุกคน ทุกช่วงวยั ทม่ี กี ิจกรรมทห่ี ลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการเรียนรใู้ นแตล่ ะวัย และเปน็ ศูนย์บริการความรู้ ศูนยก์ ารจดั กจิ กรรมทคี่ รอบคลุมทกุ ช่วงวยั เพื่อใหม้ ีพฒั นาการเรยี นร้ทู เี่ หมาะสม และมีความสขุ กับการเรียนรู้ตามความสนใจ 1) เร่งประสานงานกับสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เพ่ือจดั ทำฐานข้อมูลโรงเรียนท่ี ถูกยบุ รวม หรือคาดว่าน่าจะถูกยบุ รวม 2) ให้สำนกั งาน กศน.จงั หวัดทกุ แห่งท่อี ยูใ่ นจังหวดั ทมี่ ีโรงเรียนท่ถี ูกยบุ รวม ประสานขอใช้พน้ื ที่เพ่ือ จัดตั้งศนู ยก์ ารเรยี นรสู้ ำหรับทุกชว่ งวัย กศน.

19 4.2 สง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเรียนรสู้ ำหรบั กลุ่มเป้าหมายผพู้ ิการ 1) จัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ และทักษะอาชีพ และการศกึ ษาตาม อัธยาศยั โดยเน้นรปู แบบการศึกษาออนไลน์ 2) ให้สำนกั งาน กศน.จงั หวัดทุกแหง่ /กทม. ทำความรว่ มมือกับศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวดั ใน การใช้สถานที่ วัสดุอปุ กรณ์ และครภุ ณั ฑด์ ้านการศกึ ษา เพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับ กลมุ่ เป้าหมายผู้พิการ 4.3 ยกระดับการศึกษาใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจำการ รวมทั้งกลุ่มเปา้ หมายพิเศษอืน่ ๆ อาทิ ผตู้ ้องขงั คนพิการ เดก็ ออกกลางคนั ประชากรวัยเรียนท่อี ย่นู อกระบบการศึกษาให้จบการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สามารถนำความรู้ทีไ่ ดร้ ับไปพฒั นาตนเองได้อย่างตอ่ เนื่อง 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจดั การศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพ้นื ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รบั บริการ 5. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม 5.1 สง่ เสริมให้มกี ารใหค้ วามรูก้ บั ประชาชน ในการรบั มือและปรบั ตัวเพ่ือลดความเสยี หายจากภัย ธรรมชาติและผลกระทบทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สรา้ งความตระหนกั ถึงความสำคญั ของการสรา้ งสังคมสีเขียว สง่ เสริมความรู้ใหก้ ับประชาชน เกย่ี วกับการคดั แยกต้ังแต่ตน้ ทาง การกำจดั ขยะ และการนำกลบั มาใชซ้ ้ำ เพอ่ื ลดปริมาณและต้นทุนในการ จัดการขยะของเมือง และสามารถนำขยะกลบั มาใช้ประโยชน์ได้โดยง่าย รวมทง้ั การจดั การมลพิษในชุมชน 5.3 ส่งเสริมให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาใชพ้ ลงั งานทเ่ี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม รวมทง้ั ลดการใช้ ทรัพยากรท่ีสง่ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อม เชน่ รณรงคเ์ รื่องการลดการใช้ถงุ พลาสตกิ การประหยดั ไฟฟ้า เปน็ ตน้ 6. ยุทธศาสตรด์ า้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏบิ ตั ิราชการใหท้ นั สมัย มีความโปรง่ ใส ปลอดการทจุ รติ และ ประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจดั การบนขอ้ มลู และหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มุ่งผลสัมฤทธ์มิ ีความโปร่งใส 6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทำงานที่เป็นดิจิทลั มาใช้ในการบริหารและพฒั นางาน สามารถเชือ่ มโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมท้ังพฒั นาโปรแกรมออนไลน์ท่ี สามารถเชอ่ื มโยงขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีทำใหก้ ารบริหารจัดการเป็นไปอยา่ งตอ่ เนื่องกนั ต้ังแต่ต้นจนจบกระบวนการ และใหป้ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายสามารถเขา้ ถึงบรกิ ารได้อยา่ งทันที ทกุ ท่ที ุกเวลา 6.3 ส่งเสริมการพฒั นาบคุ ลากรทุกระดับอย่างต่อเน่อื ง ให้มคี วามรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตำแหน่ง ใหต้ รงกับสายงาน ความชำนาญ และความต้องการของบุคลากร

20 ทิศทางการดำเนินงานของ กศน.อำเภอบา้ นแพว้ แนวทางการพฒั นา กศน.อำเภอ 1. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาเปน็ ผู้ที่มคี วามรู้ความสามารถในการปฏิบัติภารกจิ และมีความมุง่ ม่นั ที่ดีอยู่แลว้ ควรใชภ้ าวะดงั กลา่ วเปน็ ฐานสำคญั ในการพฒั นาทีมงานให้มีศักยภาพในการปฏิบตั ิภารกิจเป็นทมี งานคุณภาพ ใหไ้ ดต้ ่อไป เชน่ สง่ เสรมิ การปฏบิ ตั งิ านร่วมกนั ระหวา่ งครู กศน.ตำบลที่อยู่ตดิ กนั เพ่ือช่วยเหลอื กันยามจำเปน็ หากไมส่ ามารถปฏิบตั งิ านไดเ้ พยี งลำพัง รวมทง้ั ฝกึ การปฏิบตั ิงานใหท้ มี งานสามารถมองสภาพและทิศทางการ ปฏบิ ัติงานได้ตลอดแนวตงั้ แต่เริ่มจนสิ้นสุด ดงั นี้เปน็ ต้น 2. สถานศึกษามภี าคเี ครือข่ายทด่ี อี ยู่แล้ว ควรส่งเสรมิ เครือข่ายให้มีความเขม้ แข็งโดยการขยายฐาน เครือข่ายออกไปส่ชู มุ ชนต่าง ๆ ให้แน่นหนายงิ่ ขึ้น เช่น การขยายฐานสมาชิกกลมุ่ ผสู้ งู อายุในชมุ ชนตา่ ง ๆ ให้ มากย่ิงขึน้ ด้วยการชวนทำกิจกรรมสรา้ งคุณคา่ ต่อจติ ในของผู้สงู อายใุ ห้มากข้ึนและเดน่ ยงิ่ ข้ึน เป็นต้นทัง้ นีค้ วรมี การดำเนินการให้แลว้ เสร็จตามท่ีไดเ้ สนอแนะไว้ ภายใน 2 ปีการศกึ ษา ปรชั ญา คิดเปน็ น้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพียง วสิ ยั ทัศน์ สถานศกึ ษาคุณภาพ สรา้ งการพฒั นาท่ีย่งั ยืน บนพืน้ ฐานความพอเพียง อตั ลกั ษณ์ ย้ิมทักทาย ไหว้เป็นมติ ร มีจิตอาสา เอกลักษณ์ สถานศกึ ษาพอเพยี ง เคยี งคู่ภาคเี ครือขา่ ย พันธกจิ สรา้ งคนดี มีอาชีพ มคี ุณธรรม จริยธรรม สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ เพือ่ สรา้ งจติ สำนึก ความเปน็ พลเมืองดี มอี าชีพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม 1. จัดและสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทีม่ ีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทกั ษะ การเรียนรขู้ องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายใหเ้ หมาะสมทุกช่วงวัย พรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลง บรบิ ททางสงั คม และสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 2. ส่งเสริมสนับสนนุ แบะประสานภาคเี ครือข่าย ในการมสี ว่ นร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต รวมทง้ั การดำเนนิ กิจกรรมของศูนย์การเรยี นและแหลง่ การ เรยี นรูอ้ ื่นในรปู แบบต่าง ๆ 3. ส่งเสริมและพฒั นาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชใ้ ห้เกิดประสทิ ธภิ าพ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้กับประชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ

21 4. พฒั นาหลกั สูตร รปู แบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื นวตั กรรม การวดั และประเมินผลในทุก รปู แบบใหส้ อดคล้องกบั บริบทในปจั จุบัน 5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพเพือ่ มงุ่ จัดการศกึ ษาและเรียนรู้ท่มี ี คุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล ตารางท่ี 11 เป้าประสงค์และตัวชีว้ ดั ตามความสำเร็จ เปา้ ประสงค์ ตวั ชีว้ ัดตามความสำเรจ็ 1. ประชาชนในอำเภอบา้ นแพว้ ได้รับการศึกษานอก ร้อยละ 75 ของกลุ่มเปา้ หมายได้รบั การศึกษานอ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยทมี่ ีคุณภาพ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยทม่ี ีคุณภาพ 2. บุคลากรได้รบั การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ืองทัง้ ดา้ น บคุ ลากรทุกคนไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง การบริหารจัดการและการจดั กิจกรรมเรียนการสอน ทงั้ ด้านการบริหารจดั การและการจดั กิจกรรมการ ที่มคี ณุ ภาพ เรยี นการสอนท่ีมีคณุ ภาพ 3. สถานศกึ ษามรี ะบริหารงานท่มี ีประสทิ ธิภาพ 3.1 มีระบบบริหารท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และมกี ารดำเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.2 มีการดำเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.3 บริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภบิ าล 3.4 มีระบบสารสนเทศทีด่ ี 4. ภาคเี ครอื ข่ายเขา้ มามสี ่วนร่วมหรอื ใหก้ าร ร้อยละ 80 ของภาคสว่ น ต่าง ๆ ในอำเภอ สนับสนนุ ในการจัดการศึกษานอกระบบและ บา้ นแพว้ เขา้ มารว่ มหรือให้การสนบั สนุนในการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 1 : มงุ่ ม่นั พฒั นาคุณภาพการศึกษา - พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น - พฒั นาคุณภาพครแู ละบคุ ลากร - พฒั นาหลักสูตร - พฒั นาและจดั หาสื่อการสอน

22 กลยุทธท์ ่ี 2 : สร้างเสริมและพัฒนาระบบบรหิ ารที่มีคุณภาพ - เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการบริหารจัดการ ให้ผเู้ รยี น/ผูร้ ับบริการไดร้ ับบริการทสี่ ะดวกรวดเรว็ - เสริมสร้างหลักธรรมาภิบาลในการบรหิ ารงาน - พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กลยทุ ธ์ท่ี 3 : ขยายโอกาสทางการศึกษา - จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้ครอบคลมุ ทกุ กลุ่มเป้าหมายและให้ ครอบคลุมพ้ืนที่ในอำเภอบา้ นแพ้ว - จดั กิจกรรมเชงิ รกุ ดว้ ยการให้บริการประชาชนถงึ พื้นท่ี กลยทุ ธท์ ่ี 4 : ผนกึ กำลังภาคเี ครือข่าย - ส่งเสรมิ ภาคเี ครอื ข่ายให้เขา้ มามีสว่ นร่วมในจัดการจดั การศึกษาและกจิ กรรม/โครงการ ต่างๆ - ใชช้ ุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน.ตำบลหนองสองห้อง (SWOT Analysis) 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จุดแขง็ ของ กศน.ตำบล (Strength - S) 1. มีอาคารเปน็ เอกเทศน์ 2. มกี ารจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ 3. ได้รบั งบประมาณในการจัดซ้ือหนงั สอื 4. มีหอ้ งเปน็ สัดส่วนพร้อมให้บรกิ าร 5. ครู กศน.ตำบลไดร้ บั การพัฒนาความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งต่อเนื่อง 1.2 จดุ อ่อนของ กศน.ตำบล (Weakness - W) 1. ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณค่อนข้างน้อยในการจดั วสั ดอุ ปุ กรณส์ ำนักงานท่ีทันสมยั พรอ้ ม กบั การใหบ้ ริการ 2. เจา้ หนา้ ทท่ี ป่ี ฏิบตั ิงานใน กศน.ตำบลน้อย 3. วิชาท่ีสอนไม่ตรงตามวุฒกิ ารศึกษา 2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunity - O) 1. มกี ารติดต่อประสานงานกับหน่วยงานระดับอำเภอและผนู้ ำท้องถิ่นอยา่ งสม่ำเสมอและ ต่อเนื่อง 2. มี กศน.ตำบล ต้งั อยู่ใจกลางชุมชนสง่ ผลใหก้ ารใหบ้ รกิ ารเปน็ ไปอย่างสะดวกและทว่ั ถึง 3. ประชาชน ชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ หนว่ ยงานภาคเี ครอื ข่ายในท้องถิน่ และ คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดการศึกษา

23 2.2 อุปสรรค/ความเส่ยี ง (Threat - T) 1. การจัดสรรงบประมาณจากหนว่ ยงานภาครฐั ลา้ ชา้ 2. กล่มุ เปา้ หมายในการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นด้านต่าง ๆ มีเวลาไม่ตรงกัน แนวทางการพฒั นา กศน.ตำบล 1. ครู กศน.ตำบล เป็นผ้ทู ี่มีความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ัตภิ ารกิจและมีความมุ่งม่ันที่ดีอยู่แล้วควร ใช้ภาวะดังกล่าวเป็นฐานสำคัญในการพัฒนางานให้มีศักยภาพในการปฏิบัติภารกิจให้มีคุณภาพต่อไป เช่น ส่งเสริมการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างครู กศน.ตำบลที่อยู่ติดกันเพื่อช่วยเหลือกันยามจำเป็น หากไม่สามารถ ปฏิบัติงานได้เพียงลำพัง รวมทั้งฝึกการปฏิบัติงานให้ทีมงานสามารถมองสภาพและทิศทางการปฏิบัติงานได้ ตลอดแนวตัง้ แตเ่ ร่ิมจนส้นิ สดุ ดงั นี้เปน็ ตน้ 2. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายที่ดีอยู่แล้ว ควรส่งเสริมเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งโดยการขยายฐา น เครือข่ายออกไปสู่ชุมชนต่าง ๆ ให้แน่นหนายิ่งขึ้น เช่น การขยายฐานสมาชิกกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนต่าง ๆ ให้ มากยิ่งขึน้ ดว้ ยการชวนทำกิจกรรมสร้างคุณค่าต่อจิตในของผู้สูงอายุให้มากข้นึ และเดน่ ยิ่งข้ึน เป็นต้นทั้งน้ีควรมี การดำเนนิ การใหแ้ ลว้ เสร็จตามทไ่ี ดเ้ สนอแนะไว้ ภายใน 2 ปีการศึกษา ปรัชญา กศน.ตำบลหนองสองห้อง คดิ เปน็ นอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพยี ง วสิ ัยทัศน์ สถานศึกษาคุณภาพ สร้างการพฒั นาท่ยี งั่ ยนื บนพืน้ ฐานความพอเพยี ง อัตลักษณ์ กศน.ตำบลหนองสองห้อง ยิ้มทกั ทาย ไหวเ้ ปน็ มติ ร มีจติ อาสา เอกลกั ษณ์ สถานศกึ ษาพอเพยี ง เคยี งค่ภู าคีเครือขา่ ย จดุ เนน้ จดุ เด่นการทำงานของ กศน.ตำบล 1. ครู กศน.ตำบลไดร้ ับการพัฒนาความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ตั งิ านอย่างต่อเน่ือง 2. ได้รับการส่งเสรมิ และสนับสนนุ จากภาคีเครือขา่ ยในการจดั การเรียนรู้ 3. ลงพื้นท่ีปฏิบัติงานใหบ้ ริการอย่างท่วั ถงึ 4. ครู กศน.ตำบล มีความกระตอื รอื รน้ ในการปฏิบตั งิ าน 5. มอี าคารเป็นเอกเทศน์ เอ้ือตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ พันธกิจ สรา้ งคนดี มีอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ เพ่ือสรา้ งจติ สำนึก ความเปน็ พลเมืองดี มีอาชีพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม

24 1. จดั และส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มคี ุณภาพ เพือ่ ยกระดับการศึกษา พฒั นาทักษะ การเรียนรขู้ องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวยั พรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลง บรบิ ททางสงั คม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2. ส่งเสริมสนบั สนนุ แบะประสานภาคเี ครือขา่ ย ในการมีส่วนรว่ มจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต รวมท้งั การดำเนินกิจกรรมของศนู ย์การเรยี นและแหลง่ การ เรียนร้อู ืน่ ในรูปแบบต่าง ๆ 3. ส่งเสริมและพฒั นาการนำเทคโนโลยที างการศึกษาและเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชนอย่างทัว่ ถึง 4. พฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผลในทุก รูปแบบให้สอดคล้องกับบรบิ ทในปัจจุบัน 5. พัฒนาบคุ ลากรและระบบการบริหารจัดการให้มปี ระสิทธภิ าพเพือ่ มุ่งจัดการศึกษาและเรยี นรทู้ ม่ี ี คณุ ภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ตารางท่ี 12 เป้าประสงค์และตัวชว้ี ัดตามความสำเร็จ เป้าประสงค์ ตัวช้วี ดั ตามความสำเร็จ 1. ประชาชนในตำบลหนองสองหอ้ งได้รับการศึกษา ร้อยละ 75 ของกลุ่มเปา้ หมายไดร้ บั การศึกษานอก นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีมีคณุ ภาพ ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่มี ีคณุ ภาพ 2. ครกู ศน.ตำบลได้รับการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่องทงั้ บุคลากรทุกคนได้รบั การพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื ง ดา้ นการบรหิ ารจดั การและการจัดกิจกรรมเรียนการ ท้ังดา้ นการบริหารจดั การและการจัดกิจกรรมการ สอนท่ีมีคุณภาพ เรียนการสอนท่ีมีคณุ ภาพ 3.สถานศึกษามีระบรหิ ารงานท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ 3.1 มรี ะบบบรหิ ารที่มปี ระสทิ ธภิ าพ และมีการดำเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.2 มีการดำเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.3 บริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ 4.ภาคเี ครอื ข่ายเข้ามามีส่วนรว่ มหรือใหก้ าร พอเพยี งและหลกั ธรรมาภบิ าล สนับสนุนในการจดั การศึกษานอกระบบและ 3.4 มรี ะบบสารสนเทศทดี่ ี การศึกษาตามอธั ยาศยั รอ้ ยละ 80 ของภาคส่วน ต่าง ๆ ในอำเภอ บ้านแพว้ เขา้ มารว่ มหรอื ใหก้ ารสนับสนนุ ในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

25 กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ม่งุ มัน่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา - พัฒนาคุณภาพผ้เู รียน - พฒั นาคณุ ภาพครูและบคุ ลากร - พฒั นาหลักสตู ร - พัฒนาและจดั หาสื่อการสอน กลยทุ ธท์ ี่ 2 : สร้างเสรมิ และพัฒนาระบบบรหิ ารทม่ี คี ุณภาพ - เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการบริหารจดั การ ให้ผเู้ รยี น/ผ้รู ับบริการได้รับบริการทีส่ ะดวกรวดเรว็ - เสรมิ สรา้ งหลกั ธรรมาภิบาลในการบริหารงาน - พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 3 : ขยายโอกาสทางการศึกษา - จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเปา้ หมายและให้ ครอบคลุมพ้นื ที่ในอำเภอบ้านแพ้ว - จัดกจิ กรรมเชิงรกุ ด้วยการให้บรกิ ารประชาชนถึงพ้นื ท่ี กลยุทธท์ ี่ 4 : ผนึกกำลงั ภาคีเครอื ข่าย - ส่งเสรมิ ภาคีเครือข่ายใหเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในจัดการจดั การศกึ ษาและกจิ กรรม/โครงการ ต่างๆ - ใช้ชมุ ชนเปน็ ฐานการเรยี นรู้

26 คณะผูจ้ ดั ทำ ทีป่ รกึ ษา 1. นายมนตรี ลิมาภริ กั ษ์ ผู้อำนวยการ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั สมทุ รสาคร 2. นางวรภร ประสมศรี รองผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวดั สมทุ รสาคร 3. นางจิดาภา บัวทอง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบา้ นแพ้ว 4. นายนยิ ม ภาลภี ณั ฑ์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน สงั กัดสำนกั งาน กศน.จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ คณะผจู้ ดั ทำ 1. นางสาวอ้อมใจ จันทรเ์ นียม ครู กศน.ตำบลหนองสองห้อง รวบรวม/เรยี บเรยี ง ครู กศน.ตำบลหนองสองห้อง 1. นางสาวออ้ มใจ จันทรเ์ นียม ออกแบบปกรปู เล่มและพิมพ์ ครู กศน.ตำบลหนองสองห้อง 1. นางสาวออ้ มใจ จันทร์เนียม บรรณาธกิ าร ครู กศน.ตำบลหนองสองห้อง 1. นางสาวอ้อมใจ จนั ทรเ์ นียม

27


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook