Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลสำคัญ เล่ม2

บุคคลสำคัญ เล่ม2

Published by natthanicha382546, 2021-03-04 06:23:20

Description: บุคคลสำคัญ เล่ม2 จัดทำขึ้นเพื่อการศึกษา

Keywords: history

Search

Read the Text Version

บุคคลสํ าคัญใน ประวัติศาสตร์ไทยเลม่ ๒ เสนอ คุณครูวุฒิชั ย เชื อมประไพ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม สํานักงานเขตพืนทีการศึ กษา กรุงเทพมหานคร เขต๑

บุคคลสํ าคญั ในประวตั ิศาสตร์ไทย เลม่ ๒ จัดทําโดย นางสาวณฏั ฐกมล อรรถพร เลขที่๒๓ นางสาวณัฏฐณิชา แกว งาม เลขที๒่ ๔ นางสาวธญั วลัย เล็กทิมทอง เลขที่๒๕ นางสาวนัฐสวี โกมทุ ี เลขที๒่ ๖ นางสาวเนตรนภา พิพฒั นวัฒนารมย เลขที่๒๗ นางสาวมณสั วณิ จริ โชตพิ ิพฒั เลขท๓่ี ๑ นางสาวมัณฑกานต ธรรมศริ ิไพบูลย เลขท๓่ี ๒ นางสาวรฐาพร ธรรมมา เลขท่๓ี ๓ นางสาววรินยพุ า คาํ พอ เลขท๓่ี ๔ นางสาวอนุธิดา คชศิลา เลขที่๓๙ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๕.๓ เสนอ คุณครูวุฒิชยั เชื่อมประไพ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา กรุงเทพมหานคร เขต๑

ก คาํ นํา หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส( E-Book) น้ี จัดทาํ ข้ึนเพ่อื เปนสว นหนง่ึ ของรายวิชา ประวตั ศิ าสตร ส๓๒๑๐๔ ช้นั มัธยมศึกษาปที่ ๕ ผจู ดั ทาํ ไดร วบรวมขอมลู ตา งๆโดยมีจดุ ประสงคเ พอื่ การศึกษาความรใู น เร่ืองบคุ คลสาํ คญั ของไทยและไดศึกษาอยางเขา ใจเพอื่ เปน ประโยชน ในการเรยี น คณะผูจัดทาํ หวงั วา หนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนต อผอู านหรือ นกั เรยี น นักศกึ ษาทก่ี าํ ลังหาขอ มลู เรอ่ื งนีอ้ ยไู มม ากกน็ อย หากมขี อ แนะนําหรือขอผิดพลาดประการใดผจู ดั ทําขอนอมรับไวแ ละขออภยั มา ณ ทน่ี ด้ี ว ย คณะผูจ ดั ทํา ๒๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๔

สารบัญ ข คํานาํ ก สารบัญ ข พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยหู ัว ๑ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยูหัว ๒ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล ๓ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ๔ มหาราชบรมนาถบพิตร สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ๕ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ๖ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาเทวะวงศว โรปการ ๗ สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ๘ สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอเจา ฟา กรมพระยานริศรานวุ ดั ติวงศ ๙ สมเดจ็ พระศรสี วรินทิราบรมราชเทวีพระพันวัสสาอยั ยิกา ๑๐ เจา พระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) ๑๑ หมอ มราโชทัย(หมอมราชวงศกระตาย อิศรางกรู ) ๑๒ สมเดจ็ เจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชว ง บุนนาค) ๑๓ ซีมง เดอ ลา ลแู บร ๑๔ พระสังฆราชปล เลอกัวซ ๑๕ หมอบรัดเลย หรือ แดน บีช แบรดลีย ๑๖ พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐมหิศรภักดี(คอซิมบี๊ ณ ระนอง) ๑๗ พระยากลั ยาณไมตรี(ฟรานซิส บี. แซร) ๑๘ ศิลป พรี ะศร ๑๙ บรรณานกุ รม ๒๐-๒๓

๑ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยหู วั พระองคท รงรเิ ร่มิ สรา งโรงเรยี นขึ้นแทน วัดประจํารชั กาล ไดแก โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง(ปจจบุ ัน คอื โรงเรียนวชริ าวุธวทิ ยาลยั ทง้ั ยงั ทรงสนบั สนนุ กจิ การของโรงเรยี นราชวทิ ยาลยั ซึ่ง พระบาท สมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยหู ัว โปรดเกลา ฯ ใหสถาปนาขนึ้ ในป พ.ศ. ๒๔๔๐ (ปจจบุ นั คือ โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรม ราชูปถมั ภ) และในป พ.ศ. ๒๔๕๙ ไดท รง พระกรณุ าโปรดเกลาฯ ให ประดษิ ฐาน โรงเรยี นขาราชการพลเรอื นของพระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา เจาอยหู วั ข้นึ เปน “จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั ” ซึง่ เปน มหาวิทยาลยั แหง แรกของประเทศไทย

๒ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูห วั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู วั มพี ระราชปรารภจะ พระราชทานรฐั ธรรมนญู แตถูกทักทวงจาก พระบรมวงศช้นั ผูใหญ จงึ ไดร ะงบั ไปกอน ซ่งึ หมอมเจา พนู พิศมยั ดศิ กลุ มดี ํา รสั ถึงเรอ่ื งนี้ วา \"สว นพระเจา อยหู ัวเองน้ัน[พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูหัว] ทรงรสู กึ ย่งิ ขน้ึ ทกุ ทีวา การปกครอง บานเมืองในสมยั เชนนเ้ี ปนการ เหลอื กําลงั ของ พระองคท ่ีจะทรงรบั ผดิ ชอบไดโ ดยลาํ พงั แตผเู ดียว พระองคท รงรดู วี า ทรงออนท้ังในทางphysical และ mental จงึ มี พระราชปรารถนาจะพระราชทาน รฐั ธรรมนูญใหชวยกันรับผิดชอบ ใหเ ต็มท่อี ยเู สมอ\" แตก็เกิดเหตุการณปฏิวตั โิ ดยคณะราษฎร ในวันที่ ๒๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยพระองคท รงยินยอมสละ พระราช อํานาจ และเปน พระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ ทรงใหตรวจตรา ตวั บทกฎหมายรฐั ธรรมนูญท่จี ะเปน หลักในการปกครองอยา งถถี่ ว น

๓ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระองคไดเ สด็จพระราชดําเนินไปในพระราชพธิ พี ระราชทาน รฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหมใ นวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ และเปด ประชุมสภา ผูแทนราษฎรในวนั ที่ ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ นอกจากนี้ ยังเสด็จพระราชดาํ เนนิ ทรงเยี่ยมราษฎรในจังหวดตั างๆ และทรง เยยี่ มชาวไทยเช้อื สายจนี เปนครังแรก ณ สําเพ็ง พระนคร พรอมดวย สมเดจ็ พระเจานอ งยาเธอ เจาฟา ภมู พิ ลอดลุ ยเดช เม่ือวนั ท่ี ๓ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ซ่ึงเปนชวงทเ่ี กิดความ ขัดแยง กนั ระหวา งชาว ไทยและชาวไทยเชื้อสายจนี จนเกือบเกดิ สงครามกลางเมอื ง เม่ือ พระองคทรงทราบ เรือ่ งมิพระราชดาํ รวิ า หากปลอยความขนุ ขอ ง บาดหมางไวเ ชน น้ีจะเปนผลรายตลอดไปจงึ ทรงตัดสนิ พระทยั เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ สาํ เพง็ ซงึ่ ใชร ะยะเวลาประมาณ ๔ ช่ัวโมงและพระองค ทรงพระราชดาํ เนินดวยพระบาทเปน ระยะประมาณ ๓ กโิ ลเมตรการ เสด็จพระราชดําเนนิ สาํ เพ็งในครัง้ น้ีจงึ เปนการประสานรอยราวท่ีเกดิ ข้นึ ใหหมดไป

๔ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระองคทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ พระราชทานพระราชทรพั ย สว นพระองคจ ดั ตัง้ มลู นิธอิ านนั ทมหดิ ลขนึ้ เมื่อปพ .ศ.๒๕๐๕ โดยมี วตั ถปุ ระสงคเพ่ือ พระราชทานทุนแกน สิ ิตนักศึกษาทีม่ ผี ลการเรยี น ดเี ดน ในดา นตา งๆ ใหนิสิตนกั ศึกษาเหลา นนั้ ไดม โี อกาสไปศกึ ษา หาความรวู ิชาการช้นั สงู ในตา งประเทศและนําความรนู ันกลับมาใช พฒั นาบา นเมืองสว นในประเทศพระองคทรงใหก ารอปุ ถัมภในดาน ตางๆ เชน ทรงพระราชทานพระราชทรัพยช ว ยเหลอื ใหค าํ แนะนาํ รวมท้งั เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปเยยี่ มเยยี นและพระราชทานพระบรม ราโชวาทเพื่อสนับสนนุ และเปนกําลังใจแกครูและนักเรียนของโรงเรียน

๕ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเร่มิ พฒั นาการพระศาสนาโดยเรมิ่ ตนทว่ี ดับวรนิเวศวหิ าร ไดแ กรเิ ร่มิ ใหภ กิ ษสุ ามเณรที่บวชใหมเรียนพระธรรมวินยั ในภาษาไทย มกี ารสอบความรดู ว ยวธิ เี ขียน ตอมาจึงกาํ หนดใหเปน หลักสตู รการ ศึกษาสาํ หรับคณะสงฆ เรยี กวา นกั ธรรม ทรงจดั ตง้ั มหามกฎุ ราช วทิ ยาลยั เปนการรเิ รม่ิ จดั การศึกษาของพระภิกษุ สามเณรแบบใหม คือ เรียน พระปริยตั ธิ รรม ประกอบกบั วชิ าการอ่นื ทเี่ ออ้ื อาํ นวยตอ การสอนพระพทุ ธศาสนา

๖ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมหลวงวงศาธริ าชสนิท พระเจา บรมวงศเธอ กรมหลวงวงศาธริ าช สนทิ ในรชั กาล พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจาอยูหวั ทรงกํากับกรมหมอหลวง และ ทรงศึกษาวิชาการแพทยสมัยใหมจากมชิ ชนั นารีชาวอเมรกิ นั โปรด เกลาฯ สถาปนาข้นึ เปน กรมหมนื่ วงศาสนทิ เมื่อคร้นั ปพ .ศ.๒๓๙๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูห วั มพี ระราชปรารภถึงความ เส่อื มโทรมของภาษาไทยจึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯใหพ ระองค เจานวม ทรงแตง ตําราภาษาไทยขึ้นใหมเพือ่ อนรุ ักษภ าษาไทยพระ นพิ นธเ ร่ือง “จนิ ดามณี เลม ๒” ซึ่งทรงดดั แปลงจากตําราเดมิ สมยั อยธุ ยาอธิบายหลกั เกณฑภ าษาไทยใหเ ขา ใจงายกวา เดมิ

๗ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว โรปการ ทรงบริหารราชการแผน ดินตลอดพระชนมชีพจากรัชกาลที่ ๕ ถึงรชั กาลที่ ๖ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัวโปรดเกลา ฯ ใหทรงดาํ รงตาํ แหนง ไปรเวตสิเกรตารีฝรง่ั (ราชเลขานุการฝา ยตา ง ประเทศ) ทาํ หนา ที่ดูแลงานตา งประเทศ ทรงมีบทบาทสาํ คญั ดาน การทตู เปน ผเู จรจาขอพพิ าทกบั ฝรั่งเศส ครง้ั วกิ ฤตการณ ร.ศ.๑๑๒ ทรงเสนอใหมกี ารตังสถานทตู ในตา งประเทศ ทัง้ ในรัชกาลที่ ๕ และ รชั กาลที่ ๖ เปนเวลา๓๗ ป จนไดชือ่ วา เปน องคบ ิดาแหงการตาง ประเทศของไทยย อกี ทง้ั ทรงสนพระทยั ในวชิ าโหราศาสตร

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ ๘ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงพระปรชี าสามารถในดานการศกึ ษา สาธารณสขุ ประวตั ิศาสตร โบราณคดี และศิลปวัฒนธรรม ทรงไดร ับพระสมัญญานามเปน \"พระบดิ า แหง ประวตั ิศาสตรไทย\" ในวนั ท่ี ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๕ ทีป่ ระชุมใหญ ขององคการการศึกษา วทิ ยาศาสตร และวฒั นธรรม แหงสหประชาชาติ (UNESCO) ไดป ระกาศยกยองพระองคเ ปน บุคคลสาํ คัญของโลกคนแรก ของประเทศไทยและวันท่ี ๒๗ พฤศจิกายนพ.ศ. ๒๕๔๔ คณะรัฐมนตรีไดมี มติให วันท่ี ๑ ธนั วาคม ของทกุ ป ซึง่ ตรงกบั วนั คลา ยวัน สนิ้ พระชนมของ พระองค เปน \"วนั ดํารงราชานุภาพ\" กาํ หนดข้นึ เพ่อื เปน การระลกึ ถงึ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ

๙ สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอเจา ฟา กรม พระยานริศรานุวัดติวงศ งานสถาปตยกรรมทีโปรดทาํ มากคอื แบบพระเมรุ โดยตรสั วา “เปนงานทีท่ าํ ขน้ึ ใชชวั คราวแลวร้อื ทง้ิ ไป เปน โอกาสไดท ดลองใช ปญ ญา ความคิดแผลงไดเต็มที จะผิดพลาดไปบางก็ไมส กู ระไร ระวัง เพยี งอยา ง เดยี วคอื เรืองทุนเทานนั ”สถาปตยกรรมเปน งานทีพระองคท รงพิถพี ถิ นั อยา งมากเพราะ ตรัสวา “ตอ งระวงั เพราะสรา งข้นึ ก็เพอ่ื ความพอใจ ความเพลิดเพลนิ ตา ไมใชสรา งข้นึ เพ่ืออยากจะรือ้ ทงิ้ ทนุ รอนทีเสยี ไปก็ใช จะเอาคืนมาได ผลทีสุดก็ตอ ง ทิ้งไวเปน อนุสาวรยี สาํ หรบั ขายความอาย” ดานภาพจติ รกรรมภาพเขียนภาพเขียนสนี า มนั ประกอบพระราช พงศาวดารแผนดนิ พระเจาทา้ยสระคร้งั กรุงศรีอยุธยาเปน ภาพชา ง ทรงพระมหาอุปราชแทงชางพระทีน่ ัง่ ภาพเขียนรถพระอาทิตยทเ่ี พดาน พระที่น่ังภานุมาศจารญู (พระที่นั่ง บรมพิมาน) ภาพประกอบ เรอ่ื งธรรมาธรรมะสงคราม ภาพแบบพัดตาง ๆ

๑๐ สมเด็จพระศรีสวรินทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา พระองคทรงดาํ รงตาํ แหนง องคสภาชนนสี ภาอุณาโลมแดง อันเปนชือ่ ของสภากาชาดไทยเมอื่ คร้งั แรกตั้งในตน รัชกาลท่ี ๕ และทรงสรางสถานพยาบาลขึน้ ปจจบุ ัน คอื โรงพยาบาลสมเด็จ พระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ซ่ึงอยูภายใตการดูแลของสภากาชาดไทย ในวันท่ี 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ทปี่ ระชุมใหญองคก ารการศึกษา วทิ ยาศาสตร และวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ(ยูเนสโก) ไดป ระกาศ ยกยองสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราช เทวีฯ เปนบุคคลสําคญั ของ โลก ฐานะทีท่ รงมีผลงานดเี ดนดา นการศึกษาวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพและ การอนรุ ักษพ ัฒนาดา นวัฒนธรรม

๑๑ เจาพระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) ออกญาโกษาปานไดบรรดาศกั ดิ์ ออกพระวิสทุ ธสุนทรและไดร บั แตง ต้งั เปน ทตู ออกไปเจริญสมั พนั ธไมตรกี ับฝรั่งเศส ในสมยั ดังกลาว ฝร่ังเศสมอี ิทธิพลในราชสาํ นกั ของพระนารายณม ากจดุ ประสงคของ ฝรงั่ เศส คือเผยแพรค รสิ ตศ าสนาและพยายามใหพระนารายณเ ขารตี เปน ครสิ ตชนรวมท้งั พยายามมอี ํานาจทางการเมืองในอยธุ ยา พระเจาหลยุ สท ี่ ๑๔ ทรงรับรองคณะทตู อยางสมเกยี รติยศ โปรดให ทําเหรียญที่ระลกึ และเขียนรูปเหตกุ ารณเอาไว และกลาวถงึ ปานวา ราชทตู ของพระองคน ีรูสึกวาเปน คนรอบคอบรูจักปฏิบตริั าชกจขิ อง พระองคถถ่ี ว นดมี าก

หมอ มราโชทัย ๑๒ (หมอ มราชวงศกระตา ย อิศรางกรู ) ครนั้ เมอื่ เจาฟา มงกฎุ เสด็จเถลิงถวลั ยราชสมบัติัขน้ึ เปน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูหัว หมอมราชวงศ กระตา ยก็ ติดตามสมคั รเขา รับราชการ ความสามารถของหมอมราชวงศ กระตายที่ชวยราชกจิ ไดดี จึงไดร บั พระราชทานเล่ือนอิสรยิ ยศเปน \"หมอ มราโชทัย\" และดว ยความรูในภาษาองั กฤษดี พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูห วั จงึ โปรดเกลาฯ ใหหมอมราโชทัยเปน ลาม หลวงไปกบั คณะราชทูตไทยท่เี ชิญพระราชสาสนแ ละเครอ่ื งมงคล ราชบรรณาการ เดนิ ทางไปถวาย สมเด็จพระราชนิ นี าถวิกตอเรีย เปนทม่ี าของหนงั สอื นริ าศเมืองลอนดอนและถือวา เปนหนังสือเลม แรกท่ีมกี ารขายลิขสิทธเ์ิ กดิ ข้ึนในไทยใหหมอ มราโชทยั ขึ้นเปน อธิบดี พิพากษาศาลตา งประเทศเปนคนแรกของไทย

สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ ๑๓ (ชว ง บุนนาค) สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาศรสี ุรยิ วงศเปน คน “หวั กาวหนา ” รวมท้ัง ชอบคบหาสมาคมกับชาวตา งประเทศและรบั ความเจริญมา จากชาตติ ะวันตก ทานจึงมองเหน็ ถงึ ความสาํ คัญของวิชาความรู วทิ ยาการ และวิทยาศาสตรสมยั ใหม สอนศาสนาครสิ ต โดยเฉพาะ มิชชนั นารีชาวอเมริกาน้ัน เปน ประโยชนแ กป ระเทศชาติแตค นเหลา น้ี มักถูกรงั เกยี จจากเจานายและขุนนางหัวเกา จงึ มกั ไดรบั ความยาก ลาํ บากในการหาทอี่ ยูอาศยั ทท่ี าํ งาน และการทํางานทานไดใหความ อปุ การะอํานวยความสะดวกแกห มอสอนศาสนาเหลา นี้และคอย ตดิ ตอเรยี นรูสง่ิ ใหมๆ อยตู ลอดเวลา ดงั ลักษณะทีเ่ รยี กกนั ในปจจบุ นั วา “การถา ยทอดเทคโนโลยี” ซง่ึ ทา นหมนั่ เพียรเรยี นรูว ิชาการตะวัน ตกกบั ชาวตา งประเทศมาตงั้ แตอ ยใู นวัยหนมุ ทําใหทานสามารถตอ \"เรือกาํ ปน \"ไดเองและนับเปนนายชา งสยามคนแรกทส่ี ามารถตอ เรอื แบบฝรง่ั ได

๑๔ ซมี ง เดอ ลา ลูแบร ไดรบั การแตงต้งั ใหเปน หัวหนาคณะทูตฝรงั่ เศส รว มกบั โกลด เซเบอแร ดวู  บูแล (Claude Céberetdu Boullay) เดนิ ทางมาอยุธยา เพ่ือเจรจาเรื่องศาสนาและการคา ของฝรัง่ เศสในอาณาจกั รอยธุ ยาเม่อื พ.ศ.๒๒๓๐ สัญญาการคาทเ่ี มอื งลพบรุ เี ม่ือวันท่ี ๑๑ ธนั วาคมนอกจากจะ เปน หวั หนาคณะทตู จากฝร่งั เศสแลว เดอลาลแู บรยงั ไดร ับคาํ ส่ังให สังเกตเรือ่ งราวตาง ๆ เก่ียวกับอาณาจกั รอยธุ ยาและบันทึกขอสงั เกตท้งั หลายเหลานัน้ กลบั ไปรายงานใหร าชสํานักของพระเจาหลยุ สท ี่ ๑๔ ทราบดว ยจดหมายเหตเุ หลาน้ไี ดก ลายเปน หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร ท่มี ีคุณคา ตอแวดวงวิชาประวัติศาสตรไทยสมยั อยุธยา เพราะกลาวถึง ชวี ิต ความเปน อยู สังคม ประเพณีประวัติศาสตร วฒั นธรรม หลาย สิ่ง หลายอยางของคนในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาจึงนบั ไดวา เปนหลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตรทม่ี จี ารกึ เปนลายลกั ษณอกั ษร

๑๕ พระสงั ฆราชปลเลอกัวซ ทา นกไ็ ดรับมอบหมายใหไ ปเผยแผศาสนาคริสตท อ่ี าณาจกั ร สยาม ไดอ อกเดนิ ทางเม่อื วนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ.๒๓๗๑ ถึงสยามเมื่อ วันที่ ๒๗ กมุ ภาพันธพ .ศ. ๒๓๗๒ ทานไดนําวิทยาการการถา ยรปู เขา มาในประเทศไทย และนอกจากน้ที านยงั จดั ทําพจนานุกรมสีภ่ าษาเลม แรกของไทยข้ึนชือ่ สพั ะ พะจะนะ พาสาไท โดยมภี าษาท้งั สท่ี ี่วานคี้ อื ภาษาไทยภาษาอังกฤษ ภาษาฝรง่ั เศส และภาษาละตนิ มคี วามรูค วาม ชํานาญทางดา นวิชาการถายรปู และชุบโลหะ บุตรหลานขา ราชการ บางคนไดเรยี นรวู ชิ าเหลา นีก้ ับทา น ทานไดส รา งตกึ ทาํ เปน โรงพิมพ ภายในโบสถคอนเซป็ ชัญ จัดพมิ พหนังสอื สวด

๑๖ หมอบรดั เลย หรอื แดน บชี แบรดลีย หมอบรดั เลยได์ ทาํ การผา ตัดครง้ั สําคญั ในประวัตศิ าสตรการ แพทยของไทย ซึ่งประสบความสาํ เรจ็ ดีจนเปนทเี่ ลื่องลือเพราะแตกอ น คนไทยยังไมรูวธิ ีผา ตดั รางกายมนุษยแลวยังมชี วี ิตอยูดี - ทาํ การผา ตัดแผนใหมเปนรายแรกของประเทศไทย - ปลูกฝป อ งกนั ไขทรพิษสาํ เร็จเปนรายแรกของประเทศไทย - ตัง้ โรงพมิ พแ ละตพี ิมพประกาศหามสูบฝน ซึงเปน ประกาศทาง ราชการท่ใี ชวิธีตีพิมพเ ปนคร้งั แรก - ริเร่ิมนติ ยสาร บางกอกรีคอเดอ(The Bangkok Recorder) หนังสือพิมพภาษาไทยฉบับแรก - พิมพป ฏทิ นิ สรุ ิยคตเิ ปนภาษาไทยขึนเปนครงั แรก - พิมพห นังสอื คมั ภีรค รรภทรักษา - หนงั สือพระบญั ญตั ิสบิ ประการ (The 10 Commandments) ซ่ึง เปน หนังสอื สอนครสิ ตศ าสนามที ้ังหมด 12หนา

๑๗ พระยารัษฎานุประดษิ ฐม หศิ รภักดี (คอซมิ บ๊ี ณ ระนอง) พระยารษั ฎานปุ ระดิษฐ เมอื่ รับต าแหนงเจาเมอื งตรัง ไดพฒั นา ปรับปรุงสภาพหลายอยา งในเมืองตรงั ใหเจริญรุง เรืองหลายอยา ง ดว ยกศุ โลบาลสวนตวั ทีแ่ ยบยลรวมทั้งสงเสริมชาวบานใหกระทํา การเกษตรสงเสรมิ ใหชาวบา้นปลูกกาแฟและยางพารา ซงึ่ เปนจดุ เริม่ ตน ของการนํายางพารามาปลูกทภ่ี าคใต จนกลายเปน พืชเศรษฐกจิ ทสี่ ําคญั เชน ในปจ จุบนั ในดา นการรักษาความสงบเรยี บรอยไดจ ดั ต้ัง กองโปลิศภูธรข้ึนแลวซื้อเรือกลไฟไวเปนพาหนะตรวจลาดตระเวน บังคบั ใหทุกบา นเรือนตอ งมีเกราะตีเตือนภัยไวห นาบาน หากบานใด ไดยินเสียงเกราะแลว ไมตีรบั จะมีโทษ เปน ตน

๑๘ พระยากลั ยาณไมตรี (ฟรานซสิ บ.ี แซร) ดร.แซรม ีบทบาทสําคญั ในการปลดเปล้ืองขอ งผกู พนั ตามสนธิ สัญญาเบาวร ิงทไ่ี ทยทาํ ไวกับประเทศองั กฤษในสมัยรัชกาลที4่ และ สนธสิ ญั ญาลกั ษณะเดยี วกนั ทีไ่ ทยทําไวก บั ประเทศอนื่ ๆ เมอ่ื ดร.แซร เขามาประเทศไทยแลว พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจา อยูหวั ทรง แตงตงั้ ใหเปนผแู ทนประเทศไทยไปเจรจาขอแกไขสนธิสญั ญากับ ประเทศในยโุ รปการเจรจาเปน ไปอยา งยากลําบากแตเน่ืองจาก ดร.แซรเปน ผูมวี ิรยิ อตุ สาหะ มีความสามารถทางการทูต และมคี วาม ตงั้ ใจดตี อประเทศไทยประกอบกับสถานภาพสวนตัวของ ดร.แซร ท่ี เปนบุตรเขยของประธานาธิบดวี ดู โรว วิลสนั แหงสหรัฐอเมรกิ า จงึ ทาํ ใหก ารเจรจาประสพความสาํ เรจ็ ประเทศในยโุ รปทที่ ําสนธสิ ญั ญา กับไทย ไดแกป ระเทศองั กฤษ ฝรั่งเศส เนเธอรแ ลนดส เปนโปรตเุ กส เดนมารก สวเี ดน อิตาลี และเบลเยี่ยม ยินยอมแกส นธสิ ัญญาใหเ ปน แบบเดียวกับท่สี หรฐั อเมรกิ ายอมแกให

ศิลป พีระศร ๑๙ - พระบรมราชานุสาวรยี ป ฐมกษัตริยแหง ราชวงศจักรขี นาด ๓ เทา คนจริง ประดษิ ฐานท่ีเชิงสะพานพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก ทานเปน ชาง ปน และเดินทางไปควบคุมการหลอที่ประเทศอติ าลีสรางเมอื่ พ.ศ.๒๔๗๒ - อนุสาวรยี ทา วสุรนารี จงั หวดั นครราชสมี าสรางเมอื่ พ.ศ. ๒๔๗๗ - รูปปนหลอ ประกอบอนุสาวรียชยั สมรภูมิ สรางเมอื่ พ.ศ. ๒๔๘๕ - พระบรมราชานุสาวรยี พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูห ัว ทีส่ วนลมุ พินี สรา งเมอื่ พ.ศ. ๒๔๘๔ - พระบรมราชานุสาวรียส มเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช ทว่ี งเวียนใหญ สรา งเมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๓ - พระบรมราชานสุ าวรยี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัสพุ รรณบุรี สรา งเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๗ - รูปปนประดับอนสุ าวรียป ระชาธิปไตยถนนราชดาํ เนิน - พระพทุ ธรูปพระประธานพุทธมณฑล 25 พทุ ธศตวรรษ ทีจ่ งั หวัด นครปฐม พ.ศ .๒๔๙๘ ฯลฯ นอกจากน้ันยงั มีโครงการท่ีทาํ ยงั ไมแ ลว เสรจ็ อกี คอื พระบรมรูปพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหวั รชั กาลปจ จุบนั อนุสาวรยี ส มเด็จพระนเรศวร มหาราช จงั หวัดลพบรุ ี เปน ตน

บรรณานุกรม ๒๐ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยูหวั . [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก: http://kingchulalongkorn.car.chula.ac.th/th/history/ram a6_bio (ม.ป.ป.). สืบคน ๒๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๔. รัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู ัว. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: https://sites.google.com/site/kingofth/phra-rach- prawati-phra-mha-ksatriy-mharach-thiy/rachkal-thi-7- phrabath-smdec-phra-pkkela-cea-xyu-haw ๒๕๕๔. สืบคน ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจาก: https://sites.google.com/site/meenyaowaret/prawati- rachkal-thi8 ๒๕๕๙. สืบคน ๒๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๔. พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเดจ็ พระมหา ภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช_บรมนาถบพิตร (ม.ป.ป.). สบื คน ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔. สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเดจ็ พระมหาสมณเจา_กรมพระยา วชริ ญาณวโรรส ๒๕๔๘. สืบคน ๒๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๔.

๒๑ พระเจา บรมวงศเธอ กรมหลวงวงศาธริ าชสนิท. [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/พระเจาบรมวงศเ ธอ_กรมหลวงวงศา ธริ าชสนทิ ๒๕๕๐. สืบคน ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔. สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว โรปการ. [ออนไลน]. เขาถงึ ได จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจา บรมวงศ เธอ_กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ ๒๕๔๙. สบื คน ๒๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๔. สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ. [ออนไลน]. เขาถึงได จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจาบรมวงศ เธอ_กรมพระยาด ารงราชานุภาพ (ม.ป.ป.). สบื คน ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔. สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ เจา ฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ. [ออนไลน] . เขา ถึงไดจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเดจ็ พระเจา บรมวงศ เธอ_เจาฟากรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ ๒๕๔๘. สืบคน ๒๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๔. เจาพระยาโกษาธบิ ดี (ปาน). (๒๕๖๔). [ออนไลน] . เขา ถึงไดจ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/เจา พระยาโกษาธิบด_ี (ปาน). [สบื คน เม่ือ ๒๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๔].

๒๒ หมอมราโชทัย (หมอมราชวงศก ระตาย อิศรางกรู ). (๒๕๖๔). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/หมอ มราโชทยั _(หมอม ราชวงศกระตา ย_อิศรางกูร). [สบื คน เมือ่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔]. สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ_ (ชว ง_บนุ นาค). (๒๕๖๔). [ออนไลน] . เขา ถงึ ไดจ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จเจา พระยาบรม มหาศรีสรุ ยิ วงศ_(ชว ง_บนุ นาค). [สบื คน เม่อื ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔]. ซมี ง เดอ ลา ลแู บร. (๒๕๖๔). [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/ซีมง_เดอ_ลา_ลแู บร.[สืบคนเมือ่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔]. ฌอ็ งบาติสต ปาลกวั . (๒๕๖๔). [ออนไลน] . เขา ถงึ ไดจาก: https://th.wikipedia.org/wiki/ฌ็อง-บาติสต ปาลกวั . [สบื คน เมอ่ื ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔]. หมอบรัดเลย. (๒๕๖๐). [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก: http://volenteersnewborn.blogspot.com/2017/06/dan- beach-bradley-3-marcellus-18.html. [สบื คน เมอื่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๔].

๒๓ ดร.ฟรานซิส บี. แซร. (๒๕๕๕). [ออนไลน] . เขา ถึงไดจาก: https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19561/ 029833. [สืบคน เมอ่ื ๒๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔]. ศาสาตราจารยศ ิลป พรี ะศรี. (๒๕๔๘). [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก: https://www.kroobannok.com/2448. [สบื คนเมื่อ ๒๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๔]. ประวัตพิ ระยารษั ฏานุประดษิ ฐมหศิ รภักดี. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]. เขาถงึ ได จาก:https://sites.google.com/site/hayhelngxxng/home/p rawati-khx-sim-bi.[สืบคน เมื่อ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔].

บคุ คลสําคญั ในประวตั ศิ าสตรไ์ ทย เลม่ ๒ www.History lem2.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook