Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเอาใจใส่ดูแลสุขภาพเด็ก

การเอาใจใส่ดูแลสุขภาพเด็ก

Description: การเอาใจใส่ดูแลสุขภาพเด็ก

Search

Read the Text Version

0 เอาใจใส่ ดูแลสุ ขภาพ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ระยอง กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ ในปจั จุบนั มกี ารจัดทาหนังสือ จัดเก็บเอกสาร และข้อมลู ต่างๆ โดยทาไว้ในรปู ของหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Book หรือ E-Book) ซง่ึ มีขอ้ ดีคือสามารถทาการคน้ หาข้อมูล ไดอ้ ย่างรวดเร็ว จดั เก็บได้งา่ ยและใช้ พนื้ ที่น้อย ผูจ้ ัดทา จัดทาข้ึนเพอ่ื เป็นสว่ นหนึง่ ของการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การดูแลสุข ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชน เกยี่ วกับการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพของเด็ก เช่น การตดิ ตามการ เจริญเตบิ โตของวยั เด็ก อาหารสาหรบั เด็ก การตรวจสุขภาพและการรบั วคั ซีนสรา้ งภมู ิคุ้มกนั โรค วิธีการรกั ษาความ สะอาด วิธกี ารดแู ลฟันน้านม วธิ กี ารป้องกันอุบัตเิ หตุและการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น เพ่ือให้นกั ศกึ ษาและผทู้ ่ีสนใจศึกษาค้นคว้ามีความรแู้ ละความเข้าใจเกย่ี วกับการดูแลสขุ ภาวะและ สขุ อนามัยของเด็กผูจ้ ัดจงึ ไดร้ วบรวมขอ้ มลู ไว้ เพอ่ื หวังว่าส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์(E-book)การดูแลสขุ ภาวะและ สุขอนามยั ของประชาชนในชุมชน จะเปน็ แหลง่ ความรูส้ าหรบั ทผ่ี ู้สนใจไม่มากก็น้อย คณะผู้จัดทา 5 มีนาคม 2562

สารบญั หนา้ คานา 1-2 สารบญั 3-4 เรื่องการเอาใจใส่ดแู ลสขุ ภาพ 5-6 7-9 1. อาหารสาหรับทารกและเด็กอายุ 1-5ปี 10-11 2. การตดิ ตามการเจริญเตบิ โตของเด็กอายุ 1-6ปี 12 3. การตรวจสขุ ภาพและการรับวคั ซนี สรา้ งภูมิค้มุ กนั โรค 13-19 4. วธิ กี ารรกั ษาความสะอาด 20 5. วธิ กี ารดแู ลฟันน้านม 6. วธิ ีการปอ้ งกันอบุ ตั ิเหตุ 7. การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น 8. การเอาใจใส่สขุ ภาพ หนังสอื อา้ งองิ

0 อาหารมคี วามสาํ คญั ต่อการเจริญเตบิ โตของร่างกายและพัฒนาการของสมอง ตั้งแต่อย่ใู นครรภม์ ารดาตลอดจน วยั เดก็ หากภาวะโภชนาการบกพร่อง จะนาํ ไปสู่การเจริญเติบโตท่ไี มส่ มบูรณ์ ภมู คิ ุม้ กันบกพร่อง ทาํ ใหเ้ จบ็ ปุวย บ่อย จะมผี ลกระทบต่อสติปัญญา และความสามารถในการเรียนรขู้ องเด็ก อาหารท่มี คี ณู คา่ ทางโภชนาการเหมาะสมตามวัย จะส่งเสรมิ ทําให้เดก็ มีการเจริญเตบิ โตตามวยั ได้ ปัญหาทพี่ บการให้อาหารตามวัยท่ไี ม่เหมาะสมเกดิ จาก เรม่ิ ให้เรว็ เกนิ ไป ส่วนประกอบที่ไมเ่ หมาะสม สารอาหารที่ไม่เพียงพอ เป็นต้น หลักการใหอ้ าหารตามวยั อย่างเหมาะสมตอ้ งสมวัย มปี ริมาณท่เี พียงพอ และ มีความปลอดภัย รวมถึงต้องเหมาะสมกับความหิวอิ่มและพัฒนาการตามวัยของทารก สมวัย ควรเรม่ิ ให้อาหารเมื่อทารกมวี ัยทเี่ หมาะสม คอื เม่ือนมแมอ่ ยา่ งเดียวไม่พอเพยี งตอ่ การเจริญเตบิ โตของ ทารกและทารกมีความพรอ้ มท่ีจะรบั อาหารอนื่ นอกจากนมได้ คือ เมอ่ื ระบบทางเดินอาหาร ไต ระบบประสาท และกล้ามเนื้อได้พัฒนาการจนสามารถทาํ หน้าท่พี ร้อมแล้ว การให้อาหารเสรมิ ตามวัยสาํ หรับทารกจะช่วยให้ ทารกปรบั ตัวเข้ากับการรบั ประทาน อาหารกึ่งแขง็ ก่งึ เหลว คนุ้ เคยกับรสชาติและลักษณะอาหารทหี่ ลากหลาย เพอื่ พฒั นาไปสู่การรับประทานอาหารแบบผใู้ หญ่ความหยาบละเอยี ดของเน้อื อาหารเสรมิ เพยี งพอ สารอาหารที่ทารกต้องการควรมสี ารอาหารครบถว้ นท้งั 5 หมู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั วติ ามินและแร่ธาตตุ ่างๆ ในปรมิ าณทเ่ี พยี งพอกบั ความต้องการของเด็ก ซึ่งได้จากการกินอาหารท่หี ลากหลาย ไดแ้ ก่ ข้าว แปูง เน้ือสัตว์ ไข่ ถ่วั น้าํ มัน ผกั และผลไม้เปน็ ประจาํ ทกุ วนั ในปริมาณเพียงพอกับความตอ้ งการของ เด็ก ปลอดภัย การใหอ้ าหารตามวยั สาํ หรบั ทารกทีส่ ะอาดและปลอดภยั โดยเตรยี มและเกบ็ อาหารอยา่ งถูกหลักอนามัย อุปกรณ์ท่ีใช้ตอ้ งสะอาด ลา้ งมือก่อนเตรยี มและปูอนอาหาร เพ่อื ปูองกันโรคอจุ จาระรว่ ง ล้างผักและผลไม้ให้ สะอาด เพื่อไมใ่ ห้มีสงิ่ สกปรกและสารเคมตี กค้าง ไม่ควรให้นํา้ ส้มคนั้ แก่ทารกเพราะถ้าเตรียมไม่สะอาดอาจจะ เกิดโรคอจุ จาระรว่ งได้

1 วัยแรกเกดิ – 6 เดือน อาหารทีเ่ หมาะสมสําหรับเดก็ ในวยั นี้มี เพียง “นมแม่” เท่านัน้ การใหน้ มแม่ไม่มีการกะเกณฑ์ปรมิ าณ ทต่ี ายตวั คณุ แม่ควรยึดหลกั “กินอ่ิมหลับสบาย” แต่คุณแม่ สามารถประมาณการให้นมแต่ละครัง้ นานไมน่ ้อยกว่า 20 – 30 นาที และใหน้ มอยา่ งน้อย 8 ครั้ง / วัน วยั 6 – 7 เดือน ในวยั นีน้ อกจากนมแม่แล้ว ควรให้ อาหารเสรมิ ซึ่งเป็นอาหารบดวนั ละ 1 มื้อ เพื่อแทนนม อาจให้อาหารเสริมในชว่ งมื้อเช้าหรอื ม้ือกลางวนั ในชว่ ง วยั 6 – 7 เดือนน้ี ระบบการย่อยของเด็กเร่มิ แข็งแรงข้ึน ดังนนั้ ควรเพม่ิ เน้ือสัตว์สุกบด เชน่ เนื้อไก่ เนอื้ หมู เน้ือปลา นอกจากนีค้ วรให้เกเร่มิ รับประทาน ผลไม้ เพ่ือให้รา่ งกายได้รบั วติ ามินซบี ํารงุ เหงือกและ ฟนั เพราะวยั นี้ฟนั เร่มิ ขนึ้ แล้ว ผลไม้ทีใ่ หร้ บั ประทาน เป็นมะละกอสุกหัน่ ชน้ิ เล็ก ๆ เงาะฝานช้นิ บางแลว้ ยใี ห้ ละเอียดอีกคร้งั หรือจะเป็นอง่นุ ลอกเปลือกออก หั่นครง่ึ นําเมลด็ ออก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ควรให้ลกู กนิ ใน ปริมาณน้อย ๆ ก่อน เมือ่ เริ่มคุ้นเคยค่อยเพิม่ ปรมิ าณ

2 วัย 8 – 9 เดือน ในช่วงวยั นีร้ ับประทานอาหารเสริม แทนนมแม่ 2 มอ้ื สาํ หรบั อาหารเสริมให้รบั ประทาน อาหารเสรมิ เหมือนช่วงวัย 6 – 7 เดือน แต่ควรเพม่ิ รบั ประทานผกั บดเพิ่มด้วย และเพิม่ ผลไมเ้ ปน็ อาหาร วา่ ง วัย 10 – 12 เดือน ในช่วงวัยนีค้ วรฝกึ ให้เดก็ เร่ิมรับประทานอาหารดว้ ยตนเอง แม้จะเลอะเทอะไปบ้างก็ ตาม อาหารเสริมในวัยนี้เน้ือจะเริ่มหยาบขน้ึ เพราะเริ่มมี ฟนั สําหรับบดเค้ียวได้มากขน้ึ อาหารเสรมิ เช่น ข้าวตม้ กว๋ ยเตยี๋ วข้าว บะหม่ีสปาเกตตี โดยคณุ แมต่ ้องตัดเป็น ช้นิ เล็ก ๆ นํามาตม้ สกุ ใสน่ าํ้ ซปุ ทมี่ เี นื้อสตั ว์และ ผัก เพ่มิ เพมิ่ รสชาติและฝึกการบดเคี้ยว สําหรบั อาหาร ว่างนอกจากผลไม้แลว้ อาจเปน็ ขนมปังเวเฟอรเ์ พมิ่ เติม ก็ได้ วัย 1 - 2 ปี เริ่มเคี้ยวอาหารได้มากขน้ึ ถือว่าใกล้เคยี งกันผู้ใหญ่ แลว้ ดงั นั้นคณุ พ่อคุณแมส่ ามารถเตรียมอาหารนา่ กนิ ได้ หลากหลายเมนูมากข้ึน แตข่ อ้ ควรระวงั คือ ผกั และเน้อื สัตว์ จะตอ้ งไมแ่ ข็งหรอื เหนยี วจนเกนิ ไป เพราะอาจทาํ ใหล้ กู รู้สกึ วา่ อาหารชนดิ นั้น ๆ กนิ ยาก ไม่อรอ่ ย และพาลให้ไม่ชอบ ไมอ่ ยากกนิ ไป วยั 2 - 5 ปี จาํ เปน็ ตอ้ งได้รับพลงั งานจากอาหาร เพือ่ การ เรยี นรู้ โดยเฉพาะพลงั งานจากอาหารม้ือเชา้ เพราะเป็นชว่ งเวลา แรก ๆ ของการทาํ งาน ซง่ึ สมองต้องการพลงั งานสูงในการ ทํางาน มื้อเช้าจึงเปน็ มื้อสําคัญสําหรบั เดก็ ๆ ในชว่ งวยั นี้ คุณแม่ ควรเตรียมเมนูอาหารง่าย ๆ อยา่ งเชน่ ขา้ วต้นแบบไทย ๆ หรอื ชุดอาหารเช้าแบบฝรง่ั อยา่ งเชน่ คอนแฟล็กซ์ หรือขนมปงั ไข่ ดาว ไส้กรอก เสรฟิ พร้อมนมสักแกว้ เท่านี้ ก็จะชว่ ยให้ลูกมี พลงั งานสูงมากพอในการทํางานของสมอง

3 การตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ อายุ 1-6 ปี กราฟนา้ หนกั ตามเกณฑ์อายุ เพศชาย-เพศหญิง กราฟสว่ นสงู ตามเกณฑ์อายุ เพศชาย-เพศหญงิ

4 กราฟน้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เพศชาย-เพศหญงิ

5 การตรวจสุขภาพและการรบั วคั ซีนสร้างภูมิคมุ้ กันโรค กา้ หนดการฉีดวคั ซนี ของเดก็ ในวัยตา่ งๆ การฉดี วัคซนี ของเดก็ น้นั จะต้องใหต้ ามแบบแผนที่กระทรวงสาธารณสขุ กําหนดไว้ โดยสํานักโรคตดิ ต่อมกี าร สนบั สนนุ ให้ฉีดวัคซนี ได้ฟรสี ําหรบั เด็กทกุ คนในปี 2561 จํานวน 9 ชนดิ ซึ่งสามารถควบคมุ โรคได้ถึง 11 โรค คือ วัคซีนวัณโรคหรือวคั ซีนบีซจี ี วคั ซนี โรคไวรัสตบั อักเสบชนิดบี วัคซีนโรคคอตบี วัคซีนโรคไอกรน วัคซีนโรค บาดทะยัก วคั ซีนโรคโปลิโอที่มีทัง้ แบบชนดิ รับประทานและชนดิ ฉีด วัคซีนโรคหัด วัคซีนโรคหดั เยอรมนั วัคซนี โรคคางทูม วัคซนี โรคไขส้ มองอักเสบเจอี และวัคซีนโรคเอชพีวี

6 กา้ หนดการฉีดวคั ซีนของเด็กในวัยตา่ งๆ อายุ วัคซนี /ป้องกนั เดก็ แรกเกิด DTP-HB3 รวมปอู งกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตับอกั เสบบี OPV3 ปอู งกนั โรคโปลโิ อ แบบรับประทาน 1 ครัง้ อายุ 1 เดือน HB2 ปูองกนั โรคตบั อักเสบบี อายุ 2 เดอื น DTP-HB1 ปอู งกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตบั อักเสบบี OPV1 ปอู งกันโรคโปลิโอชนดิ รับประทาน โดยใชห้ ยอดข้างปาก อายุ 4 เดอื น DTP-HB2 วคั ซีนรวมเพ่ือปูองกันโรคคอตบี บาดทะยัก ไอกรน และตบั อักเสบบี OPV2 ปอู งกันโรคโปลโิ อ แบบรบั ประทาน 1 ครั้ง IPV1 ปูองกนั โรคโปลโิ อ โดยต้องใหแ้ บบฉดี 1 เขม็ อายุ 6 เดอื น DTP-HB3 รวมปูองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และตับอักเสบบี อายุ 9 เดือน OPV3 ปูองกันโรคโปลโิ อ แบบรบั ประทาน 1 ครั้ง อายุ 1 ปี MMR1 รวมปอู งกนั โรคหดั คางทมู และหัดเยอรมัน ซ่งึ ถ้าไมไ่ ดฉ้ ีดวคั ซนี อายุ 1 ปี 6 เดอื น ตามกําหนด จะตอ้ งรีบฉดี โดยเร็วทีส่ ดุ อายุ 2 ปี 6 เดอื น LAJE1 ปอู งกันโรคไขส้ มองอักเสบเจอี ชนดิ เช้อื เป็นแบบออ่ นฤทธ์ิ อายุ 4 ปี DTP4 รวมปอู งกนั โรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ประถมศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 1 OPV4 ปูองกนั โรคโปลโิ อ แบบรบั ประทาน 1 ครั้ง LAJE2 ปูองกันโรคไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเช้อื เป็นแบบออ่ นฤทธ์ิ MMR2 วคั ซนี รวมปอู งกันโรคหัด คางทูม และหดั เยอรมนั DTP5 รวมปูองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน OPV5 ปอู งกันโรคโปลิโอ แบบรับประทาน 1 คร้ัง MMR รวมปอู งกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน HB ปอู งกันโรคตับอักเสบบี LAJE ปอู งกันโรคไข้สมองอักเสบเจอี ชนดิ เช้อื เป็นแบบออ่ นฤทธิ์ IPV ปูองกนั โรคโปลิโอ โดยตอ้ งใหแ้ บบฉดี 1 เขม็ dT ปอู งกันโรคคอตีบและบาดทะยัก OPVปูองกนั โรคโปลโิ อ ชนดิ รับประทาน 1 ครง้ั BCG ปอู งกนั โรควณั โรค

7 วิธีการรักษาความสะอาด 1.สระผมให้ลูก ใหใ้ ช้ฟองนํ้าชุบนํ้าอุ่นบีบใสห่ ัวลูก หรอื ไม่ก็ใช้มอื คอ่ ยๆ วกั นํา้ อุน่ ลบู ก็ไดน้ ะ จากนน้ั บีบแชมพูเด็กลงบนมอื นวด เบาๆ แลว้ ลา้ งออกดว้ ยนํา้ เปล่า ระวงั อย่าให้แซมพูเขา้ ตาลูก (เดก็ เล็กวัย 0-2 สัปดาห์ ใช้น้ําเปล่าสระผมก็พอ ไมค่ วรแกะเกาไขขาวๆ ทหี่ ัวลูก เพราะอีกเดีย๋ วมนั จะหลุดออกไปเองตามธรรมชาติ ซึง่ การแกะเกาอาจจะทําให้ ลกู เกิดแผลได้ แตอ่ าจจะใช้เบบอี้ อยล์ เชด็ ตรงไขนั้นเบาๆ ทิ้งไว้สักครกู่ ่อนพาลูกไปสระผม 2.อาบน้าให้ลูก ให้อาบนา้ํ ให้ลูกก่อนจะกนิ นม เพราะหลังจากกินลูก อิ่มแลว้ ลูกคงอยากนอนหลบั โดยคณุ แม่ควรเตรยี ม นาํ้ อุ่นพอดี อาจจะใช้ข้อศอกแตะดวู ่าน้าํ อนุ่ พอดี หรอื ยัง จากน้นั ค่อยๆ หย่อนตัวลกู ลงนา้ํ เพอื่ ใหล้ ูก ชนิ กบั อณุ หภูมิ จากน้ันควรรบี ถสู บู่ ล้างตัวให้ สะอาดจากน้ันยกตัวลูกขนึ้ จากนา้ํ และเชด็ ตัวลูกให้ แห้งสนทิ ขณะถสู บตู่ วั ลกู จะลื่นมาก ตอ้ งระวงั ใหด้ ี และหากคณุ แมย่ ังไมม่ คี วามมั่นใจ อาจจะเช็ดตวั ลูก ดว้ ยนํ้าเปลา่ กอ่ นก็ได้ โดยวางลูกไว้บนตักหรือโต๊ะ ท่ีมีผ้าปู ทาํ แบบนนั้ สัก 2-3 คร้ัง เมื่อมีความชํานาญจึงค่อยพาลกู ลงนํา้ และถสู บู่ครบั

3.การทา้ ความสะอาดหูตาจมูกปาก 8 หู ไม่ควรใชอ้ ุปกรณ์ใดๆ แคะหูลกู เพราะอาจจะทาํ ใหเ้ ย้ือ แกว้ หูของลกู เกดิ อันตรายได้ แต่อาจใช้สาํ ลซี บั ทําความ สะอาดแค่ บรเิ วณด้านหนา้ และด้านหลังของใบหลู ูกเท่าน้ัน ตา ไม่ต้องทําความสะอาดดวงตาของลกู นะ เน่อื งจากลูก จะสรา้ งนา้ํ ตามาทาํ ความสะอาดตาอยู่เสมอ แตห่ ากลูกมีข้ี ตาหรอื ตาแฉะ อาจจะใช้สําลีซุบนาํ้ ตม้ สกุ ที่เยน็ แลว้ บบี หมาดๆ เช็ดทําความสะอาดเบาๆ จากหวั ตาไปหางตาคร้ัง เดยี วทง้ิ โดยเปล่ยี นสาํ ลีก้อนใหมเ่ สมอ จมูก หากลูกมีนา้ํ มูกท่ีปลายจมูก คณุ แม่อาจใช้สําลพี ันปลาย ไม้ชบุ นํา้ อุ่นเช็ดออก ไมค่ วรใช้อปุ กรณ์ใดๆ สอดเขา้ ไปในรู จมูกลูกลกึ ๆ นะครบั แต่ถ้าเป็นนํ้ามกู ท่ีแห้งแลว้ กอ็ าจใชส้ ําลี พนั ปลายไม้ชบุ น้ําอุน่ เช็ดในจมูกลูกเบาๆ ช่องปาก ในการทาํ ความสะอาดช่องปากของลูก อาจจะใช้ ผ้าพนั รอบนวิ้ ช้ขี องคุณแม่ชบุ น้ําสุกแล้วบิดหมาดๆเช็ด บริเวณเหงอื ก ลิ้น กระพุ้งแก้ม และเพดานใหท้ วั่ ทั้งปาก อยา่ งน้อยวันละ 1 คร้ัง เมือ่ ลูกฟันเร่มิ ข้นึ อาจใช้สาํ ลชี บุ นํ้าอุ่นเชด็ ฟันให้ลูก หรอื ใชแ้ ปรงสีฟันชนดิ ขนอ่อนสําหรบั เดก็ มาแปรงฟันให้กบั ลูก เพอื่ ใหล้ ูกค้นุ กับการแปรงฟนั ครบั

9 4.การท้าความสะอาดก้นใหล้ ูก การลา้ งก้นเมือ่ ลูกฉี่หรืออนึ นั้ คณุ แมจ่ ะอุ้มแบบไหนก็ได้ ขอให้อุ้มแลว้ รู้สกึ ถนัดมือ ทส่ี ําคัญ ต้องล้างจากอวัยวะ เพศไปหากน้ เพราะถ้าล้างจากกน้ มาอาจทําให้เชื้อโรคเข้าส่อู วยั วะเพศของลูกได้ เรม่ิ จากใช้สําลีชบุ น้ําต้มสกุ ท่ี เยน็ แลว้ บีบล้างอึลกู ออกใหห้ มด ถ้าเปน็ ฉี่กใ็ ชส้ ําลีชบุ นา้ํ บบี ลา้ งเชน่ กนั จากนน้ั กใ็ ชส้ าํ ลชี ุบนํา้ บบี หมาดๆ เช็ดอีก คร้ัง โดยเปล่ียนก้อนสาํ ลใี หม่ทกุ คร้งั นะครบั และก็ซบั ใหแ้ หง้ ด้วยผา้ อ้อมทส่ี ะอาดอกี ครง้ั กอ่ นจะสวมใส่เสอ้ื ผา้

10 5. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งวธิ ีการดแู ลฟนั น้านม ฟนั นํ้านม คือ กระดูกฟันท่ีพัฒนาขนึ้ มาเพ่ือใชบ้ ดเค้ียวอาหารในชว่ งวยั เร่มิ แรกของชวี ติ เดก็ จะมีฟนั น้ํานมก่อน แลว้ จะหลุดออกเพื่อให้ฟันแทง้ อกขึน้ มาแทนท่ีเมื่อถึงเวลา ฟันน้าํ นมคแู่ รกจะงอกข้ึนมาในเวลา ไล่เลี่ยกนั ในขณะท่ีเดก็ มีอายุประมาณ 6 เดือน และ ฟันคถู่ ัดมาด้านซ้ายและขวาจะงอกขน้ึ เร่ือย ๆ จน ครบฟนั บน 10 ซ่ี และฟนั ล่าง 10 ซี่ เมื่ออายุ ประมาณ 2 ปีคร่งึ ถงึ 7 ปี โดยเดก็ ผู้หญิงมกั จะมีฟนั งอกขน้ึ มา เร็วกว่าเดก็ ผ้ชู าย และจะเริ่มหลุดรว่ งเพ่อื ให้ฟันแท้ มาแทนท่ีเร่ือย ๆ จนฟันแท้ครบ 32 ซ่ี เม่อื อายุ ประมาณ 13 ปี ในกระบวนการเกิดฟันนํา้ นม จะพบอาการทเี่ ป็นผลกระทบโดยทว่ั ไป คือเด็กจะมีน้าํ ลายไหล และเด็ก จะมเี หงือกบวมแดงก่อนฟนั จะแทรกตัวงอกขน้ึ มา ซง่ึ ทาํ ใหเ้ กิดความเจ็บปวด อาจรบกวนการนอนและการ รบั ประทานอาหารของเด็กได้ แตห่ ากมีอาการรนุ แรง อยา่ งเด็กมีไข้ ท้องร่วง หรอื มีอาการชักกระตุกตัวเกร็ง ควรพาเด็กไปพบแพทยเ์ พอื่ รับ การรกั ษาทันที ฟนั นาํ้ นมมบี ทบาทสําคญั ในลําดับขั้นพฒั นาการของเด็ก นอกจากจะเป็นตําแหนง่ ทจี่ ะเกิดฟันแท้มาแทนท่ี ยัง ช่วยในเรอ่ื งลกั ษณะทางกายภาพใหม้ ีโครงสรา้ งร่างกายเป็นปกติ มฟี ันไว้ช่วยบดเคย้ี วอาหาร หากฟนั น้ํานมมี สขุ ภาพดี ไมผ่ ุกรอ่ นหรือติดเชื้อ กจ็ ะส่งเสริมพฒั นาการฟนั แทท้ ี่จะงอกตามมาให้สมบรู ณ์แขง็ แรงไปด้วย

11 เมอ่ื ฟันนา้ํ นมของเดก็ เรม่ิ คลอนแต่ยังไม่หลุดร่วงออกไป อาจต้องใชเ้ วลาเพื่อรอให้ฟนั หลุดหรอื อาจใช้ ผา้ กอ๊ ซหมุ้ ฟนั แลว้ ดึงออกอย่างรวดเร็ว หากวธิ ดี งั กลา่ วไม่ได้ผลหรอื มีปญั หาเก่ยี วกับฟนั และพฒั นาการของฟนั ควรพาเด็กไปปรกึ ษาทนั ตแพทย์ วธิ ีการดแู ลรักษาสขุ ภาพเหงอื กและฟนั นา้ นม เพอ่ื พรอ้ มรบั การ งอกของฟนั แท้ -ให้เด็กแปรงฟนั อย่างสม่าํ เสมอ อยา่ งน้อย 2 ครงั้ ตอ่ วนั แปรงฟนั ให้เด็ก หรือช่วยใหเ้ ดก็ เรียนร้วู ิธแี ปรงฟนั -รักษาความสะอาดของช่องปากอย่เู สมอ บ้วนปาก แปรงฟัน หลงั รับประทานอาหาร หรืออาจใชไ้ หมขัดฟันทาํ ความสะอาดฟันเพม่ิ เตมิ -รับประทานแต่อาหารท่ีมีประโยชน์ ดตี อ่ สขุ ภาพ และจํากัดปริมาณอาหารหรอื ขนมขบเคย้ี วทไ่ี ม่มีประโยชน์ -พาเด็กไปพบทันตแพทยเ์ พ่ือตรวจเชค็ สขุ ภาพฟันเป็นประจํา

12 6. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งวธิ กี ารปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ การปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั ิเหตุเปน็ สิง่ ท่เี กิดขนึ้ ได้อย่างไมค่ าดคิด และจะเกิดเวลาใดก็ได้เมื่อเกิดขน้ึ แล้วยอ่ มนํามาซ่ึง ความสญู เสยี และความโศกเศรา้ แกค่ รอบครัว อบุ ัตเิ หตุสว่ นใหญม่ ักเกดิ ขน้ึ ในบ้านและสามารถ ปูองกนั ได้ เชน่ การจดั บา้ นให้โอกาสเกิดอบุ ัตเิ หตุ น้อยลง การดแู ลเด็กอย่างใกล้ชดิ การสอนพีเ่ ล้ยี ง เดก็ และตัวเด็กเองใหร้ ู้จักระวงั การสอนเด็กแม้ว่า เด็กจะยังไมเ่ ข้าใจ แตก่ ารสอนบ่อยๆ จะทาํ ให้เด็กคอ่ ยๆ ซึมซาบได้ เม่อื โตขึ้นเด็กจะเร่ิมทําตามสิ่งที่ไดร้ ับการสอน แตใ่ นขณะทเ่ี ดก็ ยังเล็กและไม่สามารถเข้าใจเหตผุ ล จะตอ้ งดูแลเด็กไม่ให้คลาดสายตา ในชว่ ง 6 เดอื นแรกโอกาสเกิดอุบตั ิเหตจุ ะน้อยกว่าชว่ งอนื่ ของชีวติ เนอื่ งจากเด็กยงั เคล่ือนไหวไม่มาก และการ ดูแลเดก็ ในช่วงนม้ี ักจะค่อนข้างใกล้ชดิ แต่ถา้ เกดิ อบุ ัติเหตมุ ักจะรนุ แรง เช่น ทําเด็กหลุดมือ ตกเตียง หรือมีการ อุดตนั ทางเดินหายใจจากการนอนควํา่ เนือ่ งจากมีการใชห้ มอนใหญห่ รือเบาะท่ีนิ่ม ใชผ้ า้ ห่มหนา หรือมตี ุ๊กตา นิม่ ๆ ตวั ใหญ่ เม่อื พน้ ระยะ 6 เดอื น เด็กจะเคล่ือนไหวมากขึ้น เรมิ่ สาํ รวจสง่ิ ท่อี ยู่รอบตัว เรียนรดู้ ว้ ยการเอาส่ิงท่ี สนใจเขา้ ปาก ซงึ่ อาจสาํ ลกั หรือหลดุ เข้าไปในทางเดินหายใจ ทําให้ขาดอากาศ เกดิ สมองตายหรอื เสยี ชวี ติ ได้ใน เวลาเพียง 4-5 นาที หลังระยะ 1 ปี เด็กจะเคลอื่ นไหวมากข้นึ การพลดั ตกหกล้ม การสัมผสั กบั สารพษิ การตก นา้ํ หรือจมน้ํา อุบัติเหตุจากรถยนต์ รถจกั รยาน สเก็ตบอร์ด จะเพ่ิมมากขึน้ ตามตัว ดงั นั้นข้อควรปฏบิ ัติและขอ้ หา้ มต่างๆ ท่สี ามารถปูองกันอุบัติเหตุได้ต้องไม่ถูกละเลย หลกั การปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ 1. ไม่ควรปล่อยเด็กให้อยู่คนเดียว ไม่ว่าจะมธี รุ ะยุ่งสกั เพียงใด ต้องร้วู ่าขณะนเี้ ด็กทาํ อะไร ไดแ้ ล้ว เวลาที่ ควรระวังอบุ ัติเหตุท่ีสุดคือ ตอนเย็น เนือ่ งจากความ เหน่ือยล้าของผเู้ ลี้ยงดเู ดก็ และภารกิจของครอบครวั เชน่ การเกบ็ ผา้ ทต่ี ากไว้ หรอื การประกอบอาหาร เป็นตน้ 2. การจมน้ําเปน็ สาเหตุการตายจากอบุ ัติเหตสุ ูงสุดทเี่ กิดข้นึ ในเดก็ มักเกดิ ขน้ึ ในชว่ งหน้าร้อน แมว้ ่าจะมีการหัด ให้เดก็ ว่ายน้ําเป็นตั้งแต่อายนุ ้อยๆ แต่เด็กท่ีอายุน้อยกวา่ 2 ปี มกั จะว่ายนาํ้ ต่อเม่ือได้รบั คําสง่ั เทา่ นนั้ ถา้ เด็ก เหลา่ นี้ตกนา้ํ จะไมว่ า่ ยนํา้ เอง และอาจจมนา้ํ ตายได้ จงึ ตอ้ งระมดั ระวงั ไม่ใหเ้ ดก็ เข้าใกลน้ า้ํ โดยไม่มผี ู้ดูแลใกล้ชิด

13 3. ควรเลือกของเลน่ ที่ปลอดภัยให้เดก็ หลีกเลยี่ งของเลน่ ชิน้ เล็กๆ หรือแตกงา่ ย เชน่ ของเลน่ พลาสตกิ ทเี่ ขยา่ แล้วมเี สยี งดัง เมอื่ แตกขา้ งในเปน็ พลาสตกิ กลมเล็กๆ อาจติดหลอดลมได้ รวมท้งั พวกลูกแกว้ ลกู ปัด และลกู หนิ ด้วย 7. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ อุบัติเหตุ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา โดยท่เี รามอิ าจคาดคิดได้ อีกท้งั พัฒนาการตามวยั ของลูกน้อยวัยทารก และลกู วยั ก่อนเรียน มคี วามเอ้อื อํานวยให้ลกู ประสบอบุ ัตเิ หตุตา่ ง ๆ รอบ ๆ ตวั ได้ง่าย การเจรญิ เติบโตและ พัฒนา ทักษะของกลา้ มเนื้อท่ียังไม่แขง็ แรงสมบรู ณเ์ ตม็ ที่ทําใหก้ ารคืบ การคลาน การเล่น การวง่ิ และความ ซุกซนตามวยั ของเดก็ นนั้ เปน็ เหตุของอนั ตราย อีกทั้งพัฒนาการดา้ นการเรยี นรู้ทาํ ใหเ้ ด็กได้รับอนั ตรายจากสิง่ ที่ ตนกระทําการระมัดระวงั เพื่อไมใ่ ห้เกิดขน้ึ จงึ เป็นหนทางแหง่ การปอู งกันทดี่ ีทีส่ ุด แต่อย่างไรคุณพ่อคุณแม่กไ็ ม่ สามารถทจ่ี ะปอู งกนั ได้ 100 % จึงจาํ เปน็ อยา่ งย่งิ ท่ีตอ้ งศึกษาและรจู้ ัก พร้อมรบั มือกบั อุบตั ิเหตทุ ค่ี าดไม่ถึง และ สิง่ สําคัญคือต้องร้จู ักการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นสาํ หรับเด็กท่ีถูกต้อง เพ่ือใหล้ กู น้อยปลอดภัย การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ในเด็กเลก็ ท่ีพอ่ แมค่ วรรู้ เพื่อชว่ ย รักษาชวี ิตลูก การปฐมพยาบาลเบื้องต้น คอื การใหค้ วามช่วยเหลอื เบอื้ งต้นเมื่อลูกน้อยไดร้ บั บาดเจบ็ ภายในเวลานนั้ ทันที ณ บริเวณเกิดเหตุ อาจเป็นการใชท้ ักษะความรเู้ ฉพาะทางหรือการตดั สินใจทีเ่ หมาะสมกบั สถานการณ์ ฉุกเฉิน ทัง้ นี้ในการช่วยเหลือ ณ ตอนนั้น คุณพ่อคุณแม่อาจใชเ้ พยี งอปุ กรณเ์ ท่าทีห่ าไดใ้ นขณะน้นั เพือ่ ประคับประคองอาการของลูกนอ้ ยจนกวา่ จะได้รบั การรกั ษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรือถูกสง่ ตอ่ เพ่อื เข้า รับการรักษาในโรงพยาบาลอยา่ งเรง่ ดว่ น จดุ ประสงคใ์ นการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น 1.เพอ่ื ชว่ ยลดอาการบาดเจบ็ ของลูกใหน้ ้อยลง 2.ปอู งกนั ไม่ให้มีอาการรนุ แรงขึ้น 3.ช่วยปูองกันความพกิ ารที่อาจจะเกิดข้ึนได้ 4.ช่วยให้การรกั ษาพยาบาลหายเรว็ ข้ึน 5.ชว่ ยชีวติ เด็กทปี่ ระสบอบุ ตั ิเหตทุ ร่ี า้ ยแรงได้

14 7.1 มไี ข้ เม่ือทารกเปน็ ไขส้ ําหรับทารกท่ีมอี ายุ 6 เดือนหรอื นอ้ ยกว่านั้น เมื่อมีไข้เกนิ กวา่ 37 องศาพร้อมกบั มี อาการอืน่ ทแี่ ทรกซ้อนเช่น มีอาการอาเจยี น ท้องเสีย ผ่ืนขึ้น เซ่ืองซึม ผวิ หนังเร่ิมเปลยี่ นสี การหายใจติดขดั หรอื ลกู คุณมอี าการปวดเจ็บ โดยเฉพาะบรเิ วณ คอควรพาไปพบแพทย์ทันที ทารกที่มีอายุ 6 เดอื น ถึง 1 ขวบ เดก็ ทม่ี ีอายุอยูใ่ นช่วงระหวา่ ง 6 เดอื นถึงหนึง่ ขวบ คณุ ควรจะรีบพาเขาไปพบ แพทย์ทันที ถา้ หากเขามไี ข้นานเกินกวา่ 1 วัน หรอื วา่ มีอาการแทรกซ้อนเพ่ิมเติม ตามท่ีได้ กล่าวอาการเหล่านั้นไว้ขา้ งต้น บางคนอาจจะ เถียงว่าการเปน็ ไข้ในเดก็ ไม่ได้เกิดจากการขนึ้ ของฟัน แตแ่ ม่ที่ไดผ้ า่ นพน้ ตอนนนั้ มา จะบอกคุณได้ว่าทุกครั้งที่ลกู มีฟันขึน้ เด็กจะมีอาการเป็นไขร้ ะดับต่าํ เด็กวยั เตาะแตะท่มี ีอายุ 1-2 ขวบ เดก็ วยั หดั เดนิ ถ้ามีไข้ทนี่ อ้ ยกวา่ 39 องศาและสามารถควบคุมไดโ้ ดย การทานยาลดไข้สาํ หรบั เด็ก ทีซ่ ้อื ได้จากตามร้านขายยาหรือจากยาสามัญประจาํ บา้ น ก็ไม่จําเป็นท่ีจะตอ้ งพาไป พบแพทย์ แต่อยา่ งไรก็ดี ถ้าไข้ยังสูงขึน้ ไปเร่ือย ๆ จนมากกว่า 39 องศา และไม่สามารถควบคุมไดด้ ้วยยาทว่ั ไป หรือวธิ อี น่ื ๆ และมีไขน้ านเกินกว่า 2 วัน พร้อมกบั มีอาการอ่ืนแทรกซอ้ นเข้ามากค็ วรพาไปพบแพทย์โดยทันที วธิ กี ารทีจ่ ะช่วยลดอาการปุวยของลูกน้อยอยา่ งมีประสิทธิภาพ เมอื่ ลกู มีไข้สงู มีอยู่สองวิธหี ลักคอื การ ทานยาลดไข้และเช็ดตัวลดไข้ 1. การทานยาลดไข้ ยาลดไข้สาํ หรบั เด็กท่มี ีความปลอดภัยสงู ใชไ้ ดต้ ง้ั แตเ่ ดก็ อายุ 1 เดอื นข้ึนไป และมี ผลขา้ งเคยี งน้อยถ้าใช้ไมเ่ กนิ ขนาดคือยาพาราเซตามอล ซึ่งมที ง้ั ชนดิ รูปแบบนํา้ และเม็ด โดยชนิดรปู แบบนํ้าจะมี ขนาดความเขม้ ขน้ ของยาแตกตา่ งกนั หลายชนดิ เช่น 120 มลิ ลกิ รัม, 160 มลิ ลกิ รมั , 250 มลิ ลิกรัม ตอ่ ยา 5 ซีซี หรอื 100 มิลลิกรัมต่อยา 1 ซีซี ดังน้ันคุณพ่อคุณแม่จึงควรอา่ นฉลากยาให้ดเี พื่อให้ลูกได้รับยาใน ขนาดที่ถูกต้อง 2. การเช็ดตวั ลดไข้ เป็นวิธีทท่ี าํ ใหไ้ ข้ลงได้อยา่ งรวดเรว็ โดยอาศยั หลกั การพา ความรอ้ นออกจากร่างกายดว้ ยน้ํา โดยคณุ พ่อคุณแม่ควร ใชน้ ้ําท่อี ณุ หภูมิปกติไมร่ อ้ นหรอื เย็นจนเกินไป ถอด เสื้อผา้ ลกู ออกให้หมดขณะเช็ดตัว และเชด็ แต่ละรอบ นาน 15-20 นาที จนรู้สึกวา่ ลูกตัวเยน็ ลง สามารถเชด็ ตวั ซํา้ ได้ ถา้ ภายใน 30 นาทหี ากหลังเช็ดตัวไปแล้วไข้ยงั ไม่ลง

15 นอกจากนี้การดูแลอ่นื ๆที่จะช่วยให้อาการไข้ของลูกดขี นึ้ ก็คือการให้ลูกพักผอ่ นในท่ีมีอากาศระบาย ถา่ ยเทสะดวก ไมร่ ้อนหรือหนาวเกนิ ไป ใส่เส้อื ผ้าท่ีโปรง่ สบายเพ่ือช่วยระบายความรอ้ น และด่ืมนํ้ามากๆ เพราะ ระหว่างมไี ข้รา่ งกายของลกู จะสูญเสยี น้ําเยอะกว่าปกติจึงมอี าการอ่อนเพลียจากการขาดน้ําได้ ส่ิงทค่ี วรระวงั เม่ือลูกมไี ข้สูงคือ ไม่ควรให้ลูกอย่ใู นห้องท่ีอบอ้าว อากาศร้อน หรอื ใส่เสอื้ ผา้ ทหี่ นาเกนิ ไป เพราะกลัวว่าลกู จะหนาว ซ่งึ นอกจากจะไม่ชว่ ยในการลดไข้แลว้ ยังทําให้การระบายความร้อนจากรา่ งกายทําได้ ไม่สะดวก อาการไข้จึงลดลงได้ช้า 7.2 ชกั อาการชัก (Seizure หรือ Convulsion) ในเด็กแลว้ โดยท่ัวไปจะพบในเด็กท่ีมีไข้สูงโดยเฉพาะในเด็กเล็ก และอีกส่วนหนง่ึ จะพบในเด็กท่ีมปี ัญหาของโรคอน่ื ๆ แล้วจึงมีปญั หาเร่ืองชักตามมา เด็กกลุ่มนี้มักเปน็ เด็ก ทปี่ ุวยเรอื้ รัง อาจมคี วามผิดปกติแต่กําเนดิ ร่วมด้วย เช่น เด็กทมี่ นี ํา้ ในโพรงสมองมาก (Hydrocephalus) แตส่ าํ หรับเดก็ เลก็ อายตุ ั้งแต่ 3 เดือนถงึ ไม่เกิน 6ปี มกั จะมีอาการชกั จากการมไี ข้สูง โดยสาเหตขุ องไข้ มกั จะไม่หนปี ญั หาจากโรคติดเชื้อ (ยกเวน้ ตดิ เช้ือทาง สมอง) เชน่ โรคหวดั โรคปอดบวม ทอ้ งเสีย และ อาการชักจากไข้สงู /ไขช้ ัก (Febrile convulsion) อาการชักจากไขส้ ูง มักเกดิ ขน้ึ ภายใน 24 ชั่วโมงแรกที่เริม่ มีอาการไข้ อาการชกั ของเดก็ จะสัมพันธ์กับการมี อุณหภูมิรา่ งกายท่สี ูงข้ึนอยา่ งรวดเร็ว อุณหภมู ิทพี่ บอาจสูงได้ถึง 39-40 อง ศาเซลเซยี ส (Celsius) อาการชัก จากไขส้ ูงท่ีมักเกิดในเด็กเล็กเพราะเด็กเลก็ ยงั มเี ซลส์สมองท่พี ฒั นาไมเ่ ต็มที่ จงึ ถูกกระตุ้นใหป้ ล่อยกระแสไฟฟาู ท่ี ผิดปกตไิ ดง้ ่ายจากการมีไข้ เด็กแตล่ ะคนจะมีอาการชักรนุ แรงไม่เทา่ กนั เชอ่ื ว่า มีเหตปุ จั จัยมาจาก พนั ธุกรรม อาการชกั จากไข้สงู มักจะไมร่ นุ แรง และไม่มีผลทาํ ให้สมองพิการ ถา้ ไดร้ บั การดูแลทเ่ี หมาะสม แต่

16 ถา้ เด็กเกดิ อาการชกั บ่อยๆ อาจมผี ลกระทบกระเทอื นต่อสมองท่ีกําลงั เจริญเตบิ โต และมีแนวโน้มท่ีจะเกิดเป็น โรคลมชัก (Epilepsy) ไดส้ งู กว่าเด็กทว่ั ไป ถา้ เด็กอายุเกิน 6 ปมี ีไข้แลว้ เกิดอาการชัก แสดงว่าอาการชกั ท่ี เป็นอยถู่ ูกกระตุ้นให้มีอาการโดยไข้ โอกาสทเี่ ด็กคนน้จี ะเป็นโรคลมชักในเวลาต่อมา มไี ด้มากขึ้นเป็นเงาตามตวั อาจเปอร์เซน็ ต์มากถงึ 90% เลยทเี ดียว ถ้าพบเด็กกําลงั ชักใหร้ บี อุ้มเด็กไปอย่ใู นสถานที่ที่ปลอดภัย สถานท่ที ่ี ปลอดภยั ในทน่ี ี้หมายถึงสถานทีไ่ ม่ไดใ้ กลเ้ คร่อื งจักรกล หรือพัดลม หรือเคร่อื งใชไ้ ฟฟาู ต่างๆ สิง่ ของทจ่ี ะล้ม กระแทกเด็กได้งา่ ย เชน่ โต๊ะ เกา้ อี้ ไม่อย่ใู กล้ของมคี มทกุ ชนดิ ไม่อยบู่ นเตียงท่ีไม่มีท่ีกนั้ (ถ้าเป็นเด็ดอ่อน) เพราะเดก็ อาจด้ินไปกระแทกเกิดอันตรายบาดเจ็บซาํ้ ได้อีก ลดปจั จัยเสีย่ งตา่ งๆทสี่ ง่ เสรมิ ให้ เกดิ อาการชกั -ใหเ้ ด็กพักผ่อนอยา่ งพอเพียงทุกวนั หลกี เล่ียงการอด นอน -สง่ เสริมกจิ กรรมทก่ี ่อใหเ้ กิดความสงบ และ เพลิดเพลินแก่จติ ใจของเด็ก เชน่ การปลูกต้นไม้ การสะสมแสตมป์ การนงั่ สมาธิ งานฝีมือต่างๆ หลีกเล่ยี งการชมภาพยนตร์หรอื เลน่ เกมท่ที าํ ให้เดก็ ตืน่ เต้น ตกใจ กลัว -สง่ เสรมิ การออกกําลังกายท่ีไมห่ นักมาก ห้ามเลน่ กีฬาท่ีหนกั มาก หา้ มเล่นกฬี าท่เี สี่ยงตอ่ อุบัติเหตุ เชน่ การปนื ท่ีสูง การขบั ขย่ี วดยาน การวา่ ยน้ําตอ้ งมีผใู้ กลช้ ดิ อยู่กบั เด็กตลอดเวลา -ใหเ้ ด็กรับประทานอาหารอยา่ งเพียงพอ หลีกเลยี่ งการอดอาหาร -ใหเ้ ด็กอยู่ในสถานทร่ี ่มรน่ื ไม่มีแสงจ้าเกนิ ไป หรือมีแสงกระพรบิ ของไฟฟาู -เด็กควรไดเ้ ขา้ รบั การศึกษารว่ มกับเด็กปกติ การเรียนของเดก็ จะไดผ้ ลดหี รอื ไม่ ข้ึน อยู่กับการควบคุมการชกั โดยท่ัวไประดบั สติปญั ญาของเดก็ จะเทา่ กบั เด็กท่วั ๆไป 7.3 สา้ ลักเศษอาหาร เศษของ อาการสําลักอาหารมักเกิดขึ้นกบั เด็กทมี่ ี 6 เดือน - 3 ปี เพราะเปน็ วัยท่ีกาํ ลงั ซน เด๋ียวหยบิ โนน่ หยบิ นี่เข้าปาก บา้ งใส่ในชอ่ งจมูกบา้ ง และยงั เปน็ วัยท่ฟี ันกรามยงั งอกไม่ เตม็ ท่ี ไมส่ ามารถเคยี้ วอาหารไดล้ ะเอยี ด และทางเดนิ หายใจกม็ ขี นาดเลก็ ดังน้ันเส่ียงมากท่ีจะมีสงิ่ แปลกปลอม หรอื แม้แต่อาหารช้ินเลก็ ๆ เข้าไปอุดกัน้ ในช่องทางเดนิ หายใจ ซึ่งอาจทําใหเ้ ป็นอันตรายถึงขั้นเสยี ชวี ติ ได้

17 การปฐมพยาบาลเมอ่ื ลกู สา้ ลกั นา้ ส้าลกั อาหาร - จับลกู นอนคว่ําลงบนแขน วางแขนไวบ้ นหน้าตกั ให้ศีรษะของลูกอยตู่ าํ่ กว่าลําตวั เลก็ น้อย และตบหลังลกู เบา ๆ - ไมค่ วรใช้นาํ้ ลา้ งเข้าไปในปากของลูก - ถ้าลูกดูอาการไมด่ ีขน้ึ เหมือนยังหายใจไมส่ ะดวก ไอจนหน้าแดงควรรีบพาลกู ส่งโรงพยาบาล วธิ ปี อ้ งกนั อาการส้าลกั - เริม่ จากอาหารการกนิ ของลูก โดยเฉพาะอาหารทม่ี ีเมลด็ ก้าง หรอื เปลือก คุณพ่อคุณแม่หา้ มนาํ อาหารเหล่าน้ี มาให้ลกู ทานเด็ดขาด เพราะเดก็ ในวยั น้ยี งั เลก็ เกินไปทจี่ ะหยบิ หรือคายสง่ิ แปลกปลอมออกมาไดเ้ อง - การจัดข้าวของภายในบ้านก็เป็นเรื่องทตี่ ้องคํานงึ ถึงนะคะ เพราะเดก็ จะชอบหยิบข้าวเข้าปาก และถ้าย่งิ เป็น ช้นิ เลก็ ๆ ยิง่ เสยี่ งตอ่ การกลนื และทาํ ให้ไปอดุ ทางเดนิ หายใจได้ - ลกู สาํ ลักน้าํ นม อาการนม้ี กั เกดิ ขน้ึ บ่อยกับทารกที่ดดู นมแม่ อาจเป็นเพราะหวิ หรอื ไม่เอานํ้านมไวไ้ ม่ยอมกลืน จึงทําใหส้ ําลักออกมาทางปากและจมูก ดังน้ันคุณแม่ต้องรีบใหล้ กู นอนตะแคงแล้วตบหรือลบู หลงั ลกู เบา ๆ เพือ่ ใหล้ กู สาํ ลักไดส้ ะดวก 7.4 ทอ้ งเสยี โรคทอ้ งเสยี หรืออจุ จาระร่วงเฉยี บพลันเปน็ สาเหตุ สําคญั ของการปุวยและการตายในเด็กทัว่ โลก โดยปกติเด็กท่ี อายนุ ้อยกว่า 5 ปมี ีอัตราการปุวยด้วยโรคอจุ จาระรว่ งเฉล่ีย 3 ครงั้ ตอ่ ปี ซึ่งตามคําจาํ กดั ความขององคก์ ารอนามยั โลก ทอ้ งเสีย, ทอ้ งร่วง, ท้องเดนิ หรอื อุจจารระรว่ ง หมายถึง -การถ่ายอจุ จาระเหลวปนนํ้าหรือถา่ ยเป็นนํ้าตง้ั แต่ 3 คร้ังขน้ึ ไปในหนงึ่ วัน -หรือถา่ ยเป็นมูกเลือดแม้เพียง 1 ครง้ั หรอื ถ่ายเปน็ นํา้ ปริมาณมากๆเพียงครั้งเดียวตอ่ วนั โรคท้องเสยี เฉียบพลนั หมายถึง อจุ จาระรว่ งที่มีอาการถ่ายผิดปกตนิ านไม่เกนิ 2 สัปดาห์ โดยส่วนใหญม่ กั จะ หายภายใน 7 วัน ในทารกแรกเกิดท่ีกนิ นมแม่ จะถ่ายอจุ จาระเน้อื น่ิมและวนั ละหลายครง้ั ซงึ่ ถือว่าเปน็ ปกติ การทีจ่ ะวนิ ิจฉัยทอ้ งรว่ งในทารกต้องอาศยั ขอ้ มลู เพ่ิมเต่มิ เช่น ลักษณะอุจจาระเปล่ยี นไปจากปกติ การมีไขร้ ่วม ด้วย ภาวะขาดนา้ํ ในทารก เป็นต้น

18 ท้องเสยี ในเดก็ เกดิ ไดอ้ ยา่ งไร? ท้องเสีย/ท้องร่วงในเด็กแบ่งเปน็ 2 ชนิด/แบบ คอื ชนิดถา่ ยเป็นนา้ํ และชนิดถ่ายเปน็ มูกปนเลือด ก. ถ่ายเปน็ นา้ (Watery diarrhea or non-invasive diarrhea): เกิดจากทั้งจากตวั เชอ้ื โรค/เชอื้ เองและ/หรือจากตวั สารพิษของเชอ้ื โรค (Toxin) ทาํ ให้สมดลุ การดูดซมึ เกลอื แร่และน้ําเปล่ยี นไป โดย เช้อื หรอื สารพิษแต่ละชนดิ กจ็ ะมกี ลไกท่ที าํ ให้เกิดท้องเสียต่างกนั เชน่ เชื้ออหิวาตกโรค สารพิษของมนั ทาํ ให้เกดิ การหล่งั สารโซเดียม สารคลอไลด์ (Chloride) ออกมาพร้อมกับดึงน้ํา ออกมาจากรา่ งกายดว้ ย จงึ เกิดภาวการณ์หล่งั สารน้าํ ออกมาในทางเดินอาหารมากกว่าปกติ หรือในเช้ือไวรัส ไวรสั กเ็ ข้าไปทําลายการทาํ งานของผนังลาํ ใสเ้ ล็ก ทาํ ให้การดดู ซึมอาหารบกพร่อง และทาํ ให้ การสรา้ งเอมไซมใ์ นการย่อยสารในน้าํ นมลดลง เป็นต้น และเนอื่ งจากการทอ้ งเสยี ชนดิ นไ้ี มไ่ ด้ทาํ ลายผนังลาํ ใส้ อุจจาระจงึ ไม่มีมูกเลือดเกิดข้ึน ข. ถา่ ยเปน็ มกู ปนเลอื ด (Mucous bloody diarrhea): เกิดจากเชอ้ื โรคทําลายผนงั ลาํ ใส้ (Mucosa) โดยเมื่อเชอ้ื ผา่ นลาํ ใส้เล็กก็ยบั ยงั่ การดูดซึมนํ้าและเกลือแร่ และเมอื่ เชื้อผ่านมาถงึ ลําใส้ใหญ่จะทําให้ เกดิ การอกั เสบบริเวณผนังลาํ ใส้ จึงทาํ ให้มีอาการถ่ายเปน็ มูกปนเลือด อาการปวดเบง่ เป็นต้น ตัวอยา่ งเชอ้ื โรค เช่น โปรตัวซัว (เช่น เอ็นทาโมอีบา ฮีสโตไลติกา/Entamoeba histolytica/โรคบิดมีตัว) เชอื้ จะเขา้ ไปอยู่ใน ผนังลําใสใ้ หญท่ าํ ใหเ้ กิดแผลท่ีเยอ่ื บลุ ําใส้ จงึ มีอาการถ่ายอจุ าระทล่ี ะน้อยๆปวดเบง่ และมีมูกเลือดปน เป็นตน้ อะไรเปน็ สาเหตขุ องโรคทอ้ งเสยี ในเดก็ ? อาการท้องเสีย/ทอ้ งร่วงเฉยี บพลนั ท่ีพบในเด็กมหี ลายสาเหตุ แต่เกือบท้งั หมดเกิดจากการติดเชอื้ ใน ระบบทางเดินอาหารและจากสารพิษของแบคทีเรีย (Toxin) โดยสาเหตุหลักคอื การติดเช้ือไวรสั ซง่ึ เชอ้ื ไวรัสท่ี ทําให้เกิดอาการท้องรว่ งเฉียบพลันมหี ลายชนดิ แต่ที่พบบ่อยทสี่ ดุ คือ การติดเชอ้ื ไวรัสโรตา้ (Rotavirus, โรค ท้องร่วงจากไวรัสโรตา) ซ่ึงเป็นสาเหตุของอุจจาระรว่ ง เฉยี บพลนั ในวยั เด็กท่มี ีอุบัตกิ ารณ์สูงถงึ 50 % ของทอ้ งเสยี ในเดก็ ทง้ั หมด ในปัจจบุ นั มกี ารรายงานถงึ ไวรัสชนดิ อนื่ ท่ที ําให้เกิด โรคท้องร่วงในลกั ษณะเดยี วกันเพ่ิมขนึ้ เช่น เอนเทอโรไวรสั (Enterovirus), โนโรไวรสั (Norovirus), แอสโตรไวรสั (Astrovirus), เนื่องจากมีการให้วคั ซนี โรตา้ มากขนึ้ จงึ ทําให้ พบการติดเช้อื โรตา้ ไวรสั ลดลงกว่าแตก่ ่อน สาเหตรุ องลงมาเช่น การตดิ เชอ้ื แบคทีเรยี โปรโตซัว พยาธิต่างๆ สารพิษ ยา หรือโรคทีเ่ กีย่ วกบั การดดู ซึมลดลง ของทางเดินอาหาร สาเหตุจากแบคทเี รียท่ีพบบอ่ ยเชน่ อี โคลาย (E.coli), ซานโมเนลลา (Salmonella, โรคไทฟอยด์) , ชเิ กลลา (Shigella, โรคบิดไม่มตี ัว), แคมไพโรแบคเตอร์ (Campyrobacter)

19 สาเหตุจากโปรตัวซวั เชน่ เอน็ ทาโมอบี า ฮสี โตไลตกิ า (โรคบิดมี ตวั ), ไกอาร์เดีย แลมเบลีย (Giardia lamblia) เป็นตน้ สาเหตุ อื่นๆเช่น ภาวะลาํ ไส้อักเสบ การรบั ประทานวติ ามนิ บางชนิด มากเกินไปเชน่ วิตามินซีกส็ ามารถทาํ ให้เกิดอาการท้องเสยี ได้ การรบั ประทานยาบางชนิดเช่น ยาระบาย/ยาแกท้ ้องผกู ยาแก้ อักเสบ/ยาปฏิชีวนะบางชนิด หรือ การแพ้อาหาร การแพ้นมวัว กเ็ ป็นสาเหตทุ ่ีพบไดเ้ ช่นกัน ปอ้ งกนั โรคทอ้ งเสยี ในเดก็ ไดอ้ ยา่ งไร? ปอู งกันโรคท้องเสีย/ท้องรว่ งในเด็กได้โดย -สง่ เสรมิ ให้มารดาเล้ยี งลูกดว้ ยนมแมเ่ พอ่ื ใหล้ ูกมีภมู ิคุ้มกนั ต้านทานโรค -ผกั สดหรอื ผลไม้ ก่อนให้เด็กรบั ประทาน ควรลา้ งดว้ ยนํ้าสะอาดหรือล้างด้วยด่างทับทมิ ละลายนา้ํ -กําจัดขยะมูลฝอยเพ่อื ไม่ให้เปน็ ทีเ่ พาะพนั ธ์ุของแมลงวัน -ถ่ายอุจจาระลงในสว้ มทถ่ี ูกสุขลักษณะ -ผูด้ ูแลเด็กควรลา้ งมือให้สะอาดกอ่ นปรงุ อาหาร ก่อนรบั ประทานอาหาร และหลงั จากการใชห้ ้องน้ํา -สอนเด็กใหร้ จู้ กั ล้างมือบ่อยๆโดยเฉพาะก่อนรับประทานอาหารและหลังใชห้ อ้ งน้ํา -ดม่ื น้ําและสอนเด็กให้ดื่มนํ้าที่สะอาดหรือน้ําตม้ สุก -รบั ประทานอาหารและสอนเดก็ /ดแู ลเด็กให้รบั ประทานอาหารท่ีสะอาดและปรุงสกุ ใหม่ๆ 7.5 หวดั อาการของไขห้ วดั อาการของโรคไข้หวดั ธรรมดาประกอบดว้ ย คดั จมูก น้ํามกู ไหล เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ จาม มี ไขม้ สี งู นัก และไม่อยากอาหารเนือ่ งจากมีเสมหะ ร่างกายมักแสดงอาการของโรคภายใน 3-7 วันหลังได้รับเช้อื และจะเปน็ อยู่ราว 3-5 วันก่อนจะหาย สิง่ ทไ่ี มค่ วรทา้ เมื่อลกู เปน็ หวดั ยาปฏชิ วี นะไมช่ ว่ ยรักษาโรคไข้หวัดธรรมดาและ อาจทําให้อาการทรุดหนกั ลงด้วย หลายคนมกั เขา้ ใจผดิ วา่ ตอ้ งทานยาปฏิชวี นะหากน้าํ มกู หรือ เสมหะเปน็ สเี ขียวหรือเหลือง อาการของโรค

20 ก่อใหเ้ กิดการขับน้ํามูกและเสมหะเหนียวสอี อกเหลืองหรือเขยี วเป็นปกตอิ ยู่แล้ว ไขห้ วัดธรรมดาเปน็ โรคที่เรา ตอ้ งปล่อยใหห้ ายขาดเอง เมื่อเป็นมากกวา่ แค่ไขห้ วดั ไข้หวดั อาจนําไปสปู่ ัญหาอนื่ ๆ ตวั อยา่ งเช่น การตดิ เชอ้ื ในหู การตดิ เชื้อในลาํ คอ หลอดลมอักเสบ ไซนสั อกั เสบ ปอดบวม การปอ้ งกนั คอื วธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ • หลีกเล่ียงยาปฏชิ ีวนะนอกจากจะจาํ เปน็ จรงิ ๆ โชคไม่ดนี กั ทแี่ พทย์บางคนมักสั่งยาปฏชิ ีวนะใหค้ นไข้ เปน็ ว่าเลน่ การใช้ยาปฏิชวี นะมากเกนิ ควรจะบน่ั ทอนความสามารถของร่างกายในการต่อสูก้ ับเชอ้ื โรค ทําให้ เป็นหวัดและโรคอืน่ ๆ ไดง้ ่ายยิง่ ขนึ้ • ถ้าลูกตอ้ งไปเข้าสถานรับเลี้ยงเด็ก พยายามเลอื กที่ทมี่ ีขนาดเล็กเข้าไว้ ยง่ิ จาํ นวนเด็กน้อยเท่าไร โอกาสตดิ หวดั ก็น้อยลงเท่านน้ั ค่ะ • รกั ษาความสะอาดในบา้ นสมํ่าเสมอ • ใหล้ กู นอนหลบั พักผอ่ นอย่างเพยี งพอ ทานอาหารทีม่ คี ุณค่าและด่ืมนา้ํ มาก ๆ เพื่อสรา้ งเสริมรา่ งกายให้ สมบรู ณ์แข็งแรง อาหารที่ลูกไดร้ ับควรมีโยเกิรต์ รวมอยดู่ ้วย จลุ ินทรีย์มีประโยชนใ์ นโยเกิร์ตช่วยปูองกนั โรคตา่ ง ๆ ได้ดี 8. เหน็ ความสา้ คญั ของการเอาใจใสด่ แู ลสขุ ภาพ เมอ่ื ลูกน้อยเกิดมาคุณพ่อคุณแมก่ ็ต้องดูแลใหล้ ูกมีสุขภาพทีส่ มบูรณ์แขง็ แรง รวมทั้งมีพฒั นาการในด้าน ตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสม โดยการดูแลสขุ ภาพรา่ งกาย คณุ พ่อคณุ แมส่ ามารถดูแลในด้านต่างๆ ดงั น้ี ด้านท่ีหนึง่ การใหอ้ าหารทถี่ ูกหลกั อนามยั อาหารทส่ี ําคัญสาํ หรับทารก คือ นมแม่ ทารกที่ไดร้ บั นมแม่ กจ็ ะได้รบั ภูมคิ มุ้ กัน ทาํ ให้มกี ารเจ็บปวุ ย ตดิ เชื้อ การเกดิ โรคภมู ิแพ้นอ้ ยกวา่ ทารกที่ไมไ่ ด้รับนมแม่ เมื่อลกู น้อย โตข้ึนกค็ วรไดร้ ับสารอาหารใหค้ รบ 5 หมู่ และอยา่ ลืมให้ลูกนอ้ ยไดร้ ับผัก ผลไม้ ให้เหมาะสมกับวยั เพ่ือจะได้มี การขับถ่ายทป่ี กติด้านที่สอง คณุ พ่อคุณแม่ตอ้ งดแู ลใหล้ ูกมีการนอน หลบั พักผอ่ นทีเ่ พยี งพอเหมาะกับอายุของลูกดา้ นทส่ี าม การดแู ลให้ ลูกนอ้ ยมีการออกกําลังกายอยา่ งสมํา่ เสมอใหเ้ หมาะกับวยั ของลกู นอกจากการดูแลทางร่างกายดงั ท่ีกลา่ วมา คุณพ่อคุณแมค่ วร ดูแลพัฒนาการของลูกใหเ้ หมาะกบั วยั ควบคู่ไปดว้ ย ซึ่งการ พฒั นาการแบ่งออกเป็นดา้ นต่างๆ ดังนี้ การพัฒนากล้ามเน้ือมัด ใหญ,่ การพฒั นากลา้ มเนอ้ื มัดเลก็ , การพัฒนาทางด้านภาษา, การพัฒนาทางด้านสังคม สง่ิ ท่ีคุณพ่อคณุ แมท่ ํา ได้งา่ ยท่ีสุด ในการชว่ ยในการพัฒนาการของลูกนอ้ ย คือ การเล่นกบั ลกู คณุ พอ่ คุณแมส่ ามารถหาของเล่นงา่ ยๆ ให้เหมาะสมกับวยั ของเด็ก และร่วมเลน่ กบั ลกู ซ่ึงนอกจากลกู นอ้ ยจะได้รบั การกระตุ้นพัฒนาการแล้ว ยงั จะ ได้รับความรักและความอบอุ่นจากคุณพ่อคณุ แม่อกี ด้วย อีกทงั้ ระหว่างการเล่นคุณพ่อคุณแม่สามารถสอนเร่ือง ระเบยี บวนิ ัย ความเคารพกฎเกณฑ์ การรู้แพร้ ชู้ นะ และการใหอ้ ภัย

หนังสอื อ้างองิ พญ.เสาวนีย์ จาเดมิ เผดจ็ ศึก .อุบตั ิเหตุในเด็ก.สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 5 มนี าคม 2562 จากเว็บไซต์ https://www.doctor.or.th/article/detail/3345 ธดิ า พานชิ .ดแู ลฟันลกู น้อยดว้ ยเคลด็ ลับจากคุณแม่หมอฟนั .สบื คน้ เมือ่ วันที่ 5 มนี าคม 2562 จากเว็บไซต์ https://goo.gl/hj3JvC กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . ตารางอาหาร สาหรบั ทารกแรกเกิด - 5 ขวบ.สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 5 มีนาคม 2562 จากเว็บไซต์ https://th.theasianparent.com กรมอนามัยสานกั โภชนาการ.กราฟแสดงเกณฑ์อา้ งอิงการเจรญิ เตบิ โตเด็ก.สบื ค้นเม่ือวนั ท่ี 5 มีนาคม 2562 จากเว็บไซต์ http://nutrition.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=96

จดั ทำโดย นางสาวอญั ธิอร บุญโกมล ครูอาสาสมคั รฯ กศน.อาเภอเมืองระยอง นางสาวณรรชมน บริคุต บรรณารักษป์ ฏิบตั ิการ กศน.อาเภอวงั จนั ทร์

0 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ระยอง กระทรวงศึกษาธกิ าร

0 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ระยอง กระทรวงศึกษาธกิ าร