Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

Published by feetroh klatae, 2020-12-08 06:23:38

Description: ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม

Search

Read the Text Version

ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรมประกอบดว้ ย



จัดทาโดย นางสาวฟติ เราะฮ์ กลาแต ชั้นปวส.2/1 เลขท่ี15 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาปตั ตานี

ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ประกอบด้วย

การวเิ คราะห์ปญั หา การวิเคราะห์ปญั หา ประกอบด้วยขั้นตอนตา่ งๆ ดังนี้  กาหนดวัตถุประสงคข์ องงาน เพอื่ พจิ ารณาวา่ โปรแกรมต้องทาการประมวลผลอะไรบ้าง  พิจารณาข้อมลู นาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ ข้อมูลมี คุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและรูปแบบของข้อมูลท่ีจะ นาเข้า  พิจารณาการประมวลผล เพ่ือให้ทราบว่าโปรแกรมมีขั้นตอนการประมวลผลอย่างไร และมเี งื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง  พจิ ารณาข้อสนเทศนาออก เพ่อื ให้ทราบว่ามีข้อสนเทศอะไรท่ีจะแสดง ตลอดจนรูปแบบ และสื่อทจี่ ะใช้ในการแสดงผล

การออกแบบโปรแกรม การออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมเป็น ขั้นตอนท่ีใช้ เป็นแนวทางในการลงรหัสโปรแกรม ผู้ออกแบบ ขัน้ ตอนการทางานของโปรแกรมอาจใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วยใน การออกแบบ อาทิเช่น คาสั่งลาลอง (Pseudocode) หรือ ผัง งาน (Flow chart) การออกแบบโปรแกรมนั้นไม่ต้องพะวงกับ รูปแบบคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ให้มุ่งความสนใจไปท่ีลาดับ ข้นั ตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเทา่ น้ัน

การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพวิ เตอร์ การเขียนโปรแกรมเป็นการนาเอาผลลัพธ์ของการ ออกแบบโปรแกรม มาเปล่ียนเปน็ โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ภาษา ใดภาษาหนง่ึ ผ้เู ขยี นโปรแกรมจะต้องให้ความสนใจต่อรูปแบบคาสั่ง และกฎเกณฑ์ของภาษาท่ีใช้ เพื่อให้การประมวลผลเป็นไปตาม ผลลัพธ์ที่ได้ออกแบบไว้ นอกจากน้ันผู้เขียนโปรแกรมควรแทรก คาอธิบายการทางานต่างๆ ลงในโปรแกรมเพ่ือให้โปรแกรมน้ันมี ความกระจ่างชัดและง่ายต่อการตรวจสอบและ โปรแกรมน้ียังใช้ เป็นสว่ นหนง่ึ ของเอกสารประกอบ

การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม การทดสอบโปรแกรมเป็นการนาโปรแกรมท่ีลงรหัสแล้วเข้า คอมพิวเตอร์ เพื่อตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภาษา และผลการทางานของโปรแกรมน้ัน ถ้า พบว่ายังไม่ถูกก็แก้ไขให้ถกู ตอ้ งตอ่ ไป ขั้นตอนการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม อาจแบ่งได้ เป็น 3 ข้ัน  สร้างแฟ้มเก็บโปรแกรมซงึ่ สว่ นใหญน่ ยิ มนาโปรแกรมเข้าผา่ นทางแปน้ พมิ พ์โดยใช้ โปรแกรมประมวลคา  ใช้ตวั แปลภาษาคอมพิวเตอร์แปลโปรแกรมที่สร้างขึ้นเป็นภาษาเคร่ือง โดยระหว่าง การ แปลจะมีการตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ถ้าคาส่ัง ใดมีรปู แบบไมถ่ ูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมาเพื่อให้ผู้เขียนนาไป แก้ไขต่อไป ถ้าไม่ มขี ้อผดิ พลาด เราจะได้โปรแกรมภาษาเครื่องที่สามารถให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้  ตรวจสอบความถกู ต้องของการประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมท่ถี กู ต้องตาม รูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังน้ันผู้เขียนโปรแกรมจาเป็นต้องตรวจสอบว่าโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตามต้อง การหรือไม่ วิธีการหน่ึงก็คือ สมมติข้อมูลตัวแทนจากข้อมูลจริงนาไปให้โปรแกรม ประมวลผลแล้วตรวจสอบผลลัพธ์ ว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ต้อง ดาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การสมมติข้อมูลตัวแทนเพื่อการทดสอบเป็นสิ่งท่ีมี ความสาคัญเป็นอย่างมาก ลักษณะของข้อมูลตัวแทนที่ดีควรจะสมมติท้ังข้อมูลที่ ถูกต้องและข้อมูลท่ีผิด พลาด เพื่อทดสอบว่าโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสามารถครอบคลุม การปฏิบตั ิงานในเงอ่ื นไข ต่างๆ ได้ครบถ้วน นอกจากน้ีอาจตรวจสอบการทางานของ โปรแกรมด้วยการสมมตติ ัวเองเปน็ คอมพวิ เตอรท์ ี จะประมวลผล แล้วทาตามคาสั่งทีละ คาส่ังของโปรแกรมนั้นๆ วิธีการน้ีอาจทาได้ยากถ้าโปรแกรมมีขนาดใหญ่ หรือมีการ ประมวลผลท่ซี บั ซ้อน

การทาเอกสารประกอบโปรแกรม การทาเอกสารประกอบโปรแกรมเปน็ งานท่ีสาคัญของการ พัฒนา โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรม เข้าใจวตั ถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่ จะได้จากโปรแกรม การทาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทา เอกสารกากับ เพ่ือใช้สาหรบั การอ้างอิงเม่อื จะใช้งานโปรแกรมและเม่อื ต้องการแก้ไขปรับปรุง โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมท่ีจัดทา ควรประกอบด้วยหวั ข้อตอ่ ไปนี้  วตั ถุประสงค์  ประเภทและชนดิ ของคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในโปรแกรม  วิธกี ารใช้โปรแกรม  แนวคดิ เกยี่ วกับการออกแบบโปรแกรม  รายละเอียดโปรแกรม  ข้อมูลตวั แทนทใี่ ช้ทดสอบ  ผลลัพธข์ องการทดสอบ

การบารงุ รกั ษาโปรแกรม เมื่อโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามข้ันตอนเรียบร้อยแล้ว และถูกนามาให้ผู้ใช้ได้ใช้งาน ในช่วงแรกผู้ใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจ ทาให้เกิดปัญหาขึ้นมาบ้าง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอย ตรวจสอบการทางาน การบารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นข้ันตอนที่ ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรมใน ระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิด ข้อผิดพลาดขึ้น หรือในการใช้งานโปรแกรมไปนานๆ ผู้ใช้อาจต้องการ เปล่ียนแปลงการทางานของระบบงานเดิมเพ่ือให้เหมาะกับ เหตุการณ์ นักเขียนโปรแกรมก็จะต้องคอยปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความ ต้องการของผ้ใู ช้ท่ี เปลี่ยนแปลงไปน่นั เอง

อ้างองิ http://www.bankhai.ac.th/dev_c/step_develop_program.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook