Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore G-Scout-NFE

G-Scout-NFE

Published by Napaporn Nitthiyanon, 2021-06-13 07:34:36

Description: G-Scout-NFE

Search

Read the Text Version

คำนำ คู่มือการดาเนินงานอาสายุวกาชาด ในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. เป็นเอกสารท่ีจัดทาข้ึน เพื่อใช้เป็นคู่มือการจัดค่ายอบรมอาสายุวกาชาด ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมวัตถุประสงค์ เพ่ือฝึกอบรมให้ผู้เรียนของ สานักงาน กศน. มอี ุดมคติในศานติสุข มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ มีความรู้ ความชานาญ ในการรักษาอนามัยของตนเองและของผู้อื่น มีการพัฒนาตนเองทางร่างกาย จิตใจ คุณธรรม และธารงไว้ ซ่ึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติ ความมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจเมตตา กรุณาต่อเพ่ือนมนุษย์ รู้จัก บาเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืน ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ตลอดจนความมสี มั พันธภาพและมิตรภาพที่ดี ต่อบุคคลทั่วไป ซ่ึงมีความสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสานักงาน กศน. และ นโยบายของสานักงานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย สานักงาน กศน. หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สาหรับสถานศึกษาในสังกัด สานักงาน กศน. ในการจัดกิจกรรมค่ายอบรมอาสายุวกาชาดได้อย่างถูกต้อง ขอขอบคุณสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยที่ร่วมจัดทาและสนับสนุนข้อมูลในการจัดทาคู่มือเล่มนี้ และขอขอบคุณคณะผู้จัดทาทุกท่าน ทม่ี สี ว่ นรว่ มให้คู่มือเล่มนสี้ าเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ก

คำชแี้ จง คู่มือการดาเนินงานอาสายุวกาชาด ในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ฉบับนี้ เป็นกิจกรรมหนึ่ง ท่ีสถานศึกษา ในสังกัดสานักงาน กศน. สามารถเลือกเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในด้านการส่งเสริมคุณธรรม นาความรู้สูช่ มุ ชนได้ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี 1. การดาเนินงานตามคู่มือเล่มน้ี เหมาะสาหรับกลุ่มผู้เรียนของสานักงาน กศน. ที่เป็นเยาวชน ซึ่งมุ่งเน้นตามวัตถุประสงค์เพ่ือฝึกอบรมเยาวชนชายและหญิงตามข้อบังคับสภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 68) พทุ ธศักราช 2550 หมวดท่ี 9 ว่าด้วยยวุ กาชาด 6 ประการ คือ (1) มีอดุ มคติในศานติสุข มีความจงรกั ภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ (2) มีความรู้ความชานาญในการรักษาอนามัยของตนเองและของผู้อื่น ตลอดจนการพัฒนา ตนเองทางร่างกาย จิตใจ คุณธรรม และธารงไวซ้ งึ่ เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติ (3) มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการและอุดมการณ์กาชาด มีคุณธรรมจริยธรรม และ มีจติ เมตตา กรุณาต่อเพือ่ นมนุษย์ (4) บาเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่นื ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (5) มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม (6) มีสมั พันธภาพ และมิตรภาพท่ดี ีต่อบคุ คลทว่ั ไป 2. เน้ือหาในคู่มอื เลม่ น้ีแบง่ เปน็ 5 ตอน คือ ตอนที่ 1 ความสาคญั ของงานยวุ กาชาด แนวคิด นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสานักงาน กศน. และนโยบาย ของสภากาชาดไทย ตลอดจนบทบาทของหน่วยงาน และสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ในการส่งเสริม สนับสนนุ การจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด รวมถงึ การแบง่ ประเภทของยุวกาชาด ตอนที่ 2 การจดั กิจกรรมอาสายุวกาชาดในสถานศกึ ษาสากดั สานักงาน กศน. ความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด การจัดตั้งชมรมอาสายุวกาชาด และ การพัฒนาบุคลากรสังกัดสานกั งาน กศน. ทีเ่ กยี่ วข้องกับการจดั กจิ กรรมอาสายุวกาชาด ตอนท่ี 3 การจัดคา่ ยอบรมอาสายวุ กาชาด แนวทางการจัดค่ายอบรมอาสายุวกาชาด ประกอบด้วย การดาเนินการก่อนการจัดค่าย ระหว่างการจัดค่าย และหลังเสร็จสิ้นการจัดค่าย รวมถึงความรู้ ด้านหลักสูตรการอบรม ซ่ึงมี 2 ประเภท คือ หลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด และหลักสูตรเฉพาะทาง รวมทั้งแนวทางการจัดกิจกรรมต่อเนื่อง ได้แก่ กิจกรรม เรยี นรตู้ ามรอยพระยคุ ลบาท กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ เปน็ ต้น ข

ตอนท่ี 4 แนวทางการบริหารจดั การกิจกรรมอาสายุวกาชาด ในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ว่าด้วยระเบียบการบริหารยุวกาชาด ตามข้อบังคับสภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 68) พุทธศักราช 2550 หมวดท่ี 9 ว่าด้วยยุวกาชาด แนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด เก่ียวกับการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) รายละเอียดเก่ียวกับ เครอ่ื งแบบยุวกาชาด ตอนที่ 5 การส่งเสรมิ และยกย่องผปู้ ฏบิ ัติกจิ กรรมอาสายุวกาชาด ในส่วนที่เก่ียวข้องกับ สานักงาน กศน. ได้แก่ รางวัลอาสายุวกาชาดดีเด่น รางวัล ส่งเสรมิ มาตรฐานชมรมอาสายวุ กาชาด และเหรียญกาชาดสมนาคณุ 3. การจัดกิจกรรมตามคู่มือเล่มน้ี สถานศึกษาสามารถเลือกรูปแบบการจัดกิจกรรมได้ตาม ความเหมาะสม และตามบริบทของสถานศึกษา รายละเอียดศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก คู่มือวิทยากรยุวกาชาด สาหรับการอบรมอาสายุวกาชาด หลกั สตู รพ้นื ฐานยวุ กาชาด ของสานกั งานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย 4. สถานศึกษาสามารถบูรณาการการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดร่วมกับกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผเู้ รียน และสนบั สนนุ ใหผ้ ูเ้ รียนทากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) ได้ ค

สำรบญั คำนำ หน้า คำช้แี จง ก สำรบญั ข พระบรมรำโชบำย ของรชั กำลท่ี 10 เกีย่ วกบั กำรศกึ ษำและพระรำชกรณยี กิจ ง พระรำชดำรสั ของสมเดจ็ พระกนิษฐำธริ ำชเจำ้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ฉ ช ตอนท่ี 1 ควำมสำคัญของงำนยุวกำชำด 1 นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกบั งานยุวกาชาด 1 นโยบายของสานกั งาน กศน. และบทบาทท่ีเกี่ยวกบั งานยุวกาชาด 1 นโยบายของสภากาชาดไทย 2 บทบาทของหน่วยงานและสถานศึกษาสงั กดั สานักงาน กศน. ในการส่งเสรมิ 2 สนับสนุนการจดั กจิ กรรมอาสายวุ กาชาด 3 ประเภทของยุวกาชาด ตอนที่ 2 กำรจัดกิจกรรมอำสำยวุ กำชำดในสถำนศกึ ษำสงั กัดสำนักงำน กศน. 4 การพฒั นาบคุ ลากรสงั กัดสานักงาน กศน. ท่เี กยี่ วข้องกับการจัดกิจกรรมอาสายวุ กาชาด 4 การจดั กจิ กรรมอาสายุวกาชาด สาหรับผเู้ รียนของสานักงาน กศน. 10 การจดั ตงั้ ชมรมอาสายุวกาชาด 11 ตอนที่ 3 กำรจัดค่ำยอบรมอำสำยวุ กำชำด 13 การดาเนินการกอ่ นจัดค่ายอบรมอาสายวุ กาชาด 13 การดาเนนิ การระหวา่ งจัดค่ายอบรมอาสายวุ กาชาด 15 การดาเนินการหลงั เสรจ็ สน้ิ ค่ายอบรมอาสายุวกาชาด 18 หลักสตู รการจดั ค่ายอบรมอาสายุวกาชาด 23 - หลักสูตรพ้ืนฐานยุวกาชาด 23 - หลักสูตรเฉพาะทาง 30 การจัดกิจกรรมต่อเนือ่ งในชมุ ชน 34 ง

ตอนที่ 4 แนวทำงกำรบรหิ ำรจัดกำรกจิ กรรมอำสำยุวกำชำดในสถำนศกึ ษำสังกดั สำนักงำน กศน. 36 ระเบยี บการบรหิ ารยุวกาชาด (ข้อบังคบั สภากาชาดไทยแก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ 68) 36 พุทธศกั ราช 2550 หมวดท่ี 9 วา่ ดว้ ยยวุ กาชาด) การบริหารการจดั กิจกรรมอาสายวุ กาชาด 38 - การจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน 38 - การจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต (กพช.) 39 เคร่อื งแบบยุวกาชาด 41 ตอนท่ี 5 กำรสง่ เสรมิ และยกยอ่ งผู้ปฏิบัตกิ ิจกรรมอำสำยุวกำชำด 47 รางวลั อาสายุวกาชาดดเี ด่น 47 รางวลั สง่ เสรมิ มาตรฐานชมรมอาสายุวกาชาด 51 เหรยี ญกาชาดสมนาคณุ 51 บรรณำนกุ รม 58 ภำคผนวก 59 60 รายชื่อคณะจัดทาคู่มือการดาเนนิ งานอาสายุวกาชาดในสถานศึกษาสังกัด สานกั งาน กศน. 61 คารอ้ งขอจดั ตั้งชมรมอาสายุวกาชาด (แบบอาสายวุ . 1) 63 ใบสมัครอาสายุวกาชาด (แบบอาสายุว. 2) 65 ตัวอยา่ งหนงั สือสาคัญการจดั ตงั้ ชมรมอาสายวุ กาชาด (แบบอาสายุว. 3) จ

+ พระบรมรำโชบำยรชั กำลที่ 10 เกยี่ วกบั กำรศกึ ษำและพระรำชกรณียกิจ ระบบการศึกษาต้องใช้ศรัทธาสร้างเด็ก เยาวชน เป็นผู้ใหญ่ ท่ีฝากบ้านเมือง : งานของครูจะเป็นเรื่องยาก ช่วยก่อสร้างคนดีแก่บ้านเมือง ต้องสอนให้เด็กรู้ถูก รู้ผิด ยึดม่ันในส่ิงที่ถูกต้องในเร่ืองความเป็นชาติ สถาบัน ประวัติศาสตร์ การสร้างเด็กเพ่ือเป็นคนในอนาคตของชาติท่ีมีการศึกษา และพบว่าความคาดหวังในเด็กของ ประเทศไทย คอื ซอื่ สตั ย์ รบั ผิดชอบ มีน้าใจ พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอย่หู วั 2 กมุ ภาพันธ์ 2560 ฉ

สมเด็จพระกนิษฐำธริ ำชเจ้ำ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนรำชสดุ ำ ฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี อุปนำยิกำผูอ้ ำนวยกำรสภำกำชำดไทย ช

พระรำชดำรัส สมเดจ็ พระกนษิ ฐำธริ ำชเจำ้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี อุปนำยกิ ำผู้อำนวยกำรสภำกำชำดไทย ในกำรประชุมคณะกรรมกำรสภำกำชำดไทย เมือ่ วนั ที่ 20 กันยำยน พ.ศ. 2550 การประชุมคณะกรรมการสภากาชาดไทย เม่ือวันที่ 20 กันยายน 2550 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในฐานะองค์อุปนายิกาสภากาชาดไทย ประธาน ที่ประชมุ ทรงมีพระราชดารัสให้สภากาชาดไทย และกระทรวงศกึ ษาธิการรว่ มกนั สนับสนุน 6 ประการ ดังน้ี 1. ให้เน้นความรู้สุขภาพอนามัยให้ดูแลตนเองและผู้อื่นท่ีเป็นรูปธรรม เช่น ยุวกาชาด ช้ัน ป.4 สามารถนานมผงมาชงละลายน้าและใชเ้ ล้ียงน้องได้ 2. ความรู้ดา้ นโภชนาการทถี่ ูกต้อง เช่น เรือ่ งสารอาหารไอโอดนี เรื่องการปอ้ งกันพยาธิ 3. เรอ่ื งเพศศกึ ษา ใหน้ าสกู่ ารจัดทาหลักสูตรและฝึกอบรม 4. เรื่องยวุ เกษตรกร 5. วิชาพี่เลย้ี งเด็ก 6. ให้ปรับปรุงหลักสตู รยวุ กาชาดใหท้ ันสมัยและน่าเรียน กระตุ้นให้นักเรยี นชายหันมาสนใจเรียน ยวุ กาชาดมากข้นึ ช

ตอนท่ี 1 ควำมสำคญั ของงำนยวุ กำชำด นโยบำยของกระทรวงศึกษำธิกำรกบั งำนยวุ กำชำด กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศนโยบายปี พ.ศ. 2559 ในสว่ นของสานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั (สานกั งาน กศน.) ในการดาเนินการปลูกฝัง สรา้ งอดุ มการณ์ ผลิตคนดีสู่สังคม และมี ความเป็นพลเมืองให้กับผู้เรียนของสานักงาน กศน. ให้มีความตระหนักในความเป็นชาติ กระตุ้นให้เกิด ความรักชาตแิ ละเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ และความรัก ความสามัคคีของประชาชนในชาติ สามารถนาไปถ่ายทอด ขยายผลในวงกว้าง ดังนั้นเพ่ือให้การดาเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประสบความสาเร็จสามารถนาไปสู่การปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรมจึงควรเร่งปลูกฝงั คุณธรรมพืน้ ฐาน 11 ประการ คือ ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้าใจ กตัญญูกตเวที รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์และ รักความเป็นไทย ยึดม่ันในวิถีชีวิต และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษิตริย์ทรงประมุข ควบคู่ไปกับค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ โดยจะสร้างเยาวชนของชาติให้มีความรู้ ทักษะ เพียงพอที่จะ ดูแลตนเอง ครอบครัว และเป็นท่ีพึ่งของชุมชนได้ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้และฝึกทักษะตามกระบวนการ ของยุวกาชาด เพอื่ ให้มจี ิตอาสา เพอ่ื บรกิ ารชมุ ชนอยา่ งต่อเนือ่ ง นโยบำยของสำนกั งำน กศน. และบทบำททีเ่ กี่ยวกบั งำนยุวกำชำด การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวติ ท่ีมุ่งให้ ประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียนได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึง โดยจัดการศึกษาท้ังการศึกษานอกระบบ ระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต โดยเฉพาะการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2555 เป็นการจดั การศึกษาท่ีมงุ่ ที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม สติปัญญา และคุณภาพชีวิตท่ีดี มีทักษะในการดาเนินชีวิตท่ีดี สามารถจัดการกับชีวิต ชุมชน และสังคมได้อย่างมีความสุข ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มคี วามภูมใิ จในความเป็นไทยและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สามารถบูรณาการความรู้มาใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติได้ ประกอบกับเงื่อนไขของการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555 ผู้เรียนจะต้องทากิจกรรมเพื่อพัฒนา คณุ ภาพชวี ิต (กพช.) ไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมงในระหว่างการเรียน โดยกิจกรรม กพช. ต้องเป็นกิจกรรมทส่ี ่งเสริม การพัฒนาคุณลักษณะที่พ่ึงประสงค์ของผู้เรียนของสานักงาน กศน. เพื่อให้คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น โดยใช้ กระบวนการแก้ปัญหาในการทางานรว่ มกันในระบบกลมุ่ หรือรายบุคคล หรือทากิจกรรมร่วมกบั สถานศึกษา เช่น กจิ กรรมลูกเสือ กจิ กรรมชมรมอาสายวุ กาชาด เป็นตน้ สานักงาน กศน. ไดก้ าหนดยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนนิ งานท่เี กีย่ วข้องกับกิจกรรมลูกเสอื ยุวกาชาด ไว้ในเร่ืองการสร้างอุดมการณ์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยส่งเสริมการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การสร้างจิตสาธารณะ การต้านยาเสพติด ในรูปแบบกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด 1

กิจกรรมค่าย การแข่งขันกีฬา ซ่ึงสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมของยุวกาชาดในการพัฒนาผู้เรียน และได้นา นโยบายสู่การปฏิบัติ ซึ่งกาหนดให้สถานศึกษา กศน.อาเภอ/เขต พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกิจกรรม ลูกเสือ ยุวกาชาด เพอื่ พัฒนาผ้เู รยี น ดงั น้ี 1. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดทาหลกั สูตรรายวชิ าเลือก 2. ให้สถานศึกษาจดั ต้ังกองลกู เสอื และ/หรือ ชมรมอาสายวุ กาชาด 3. ใหส้ ถานศึกษาจัดการอบรม เรื่องปฐมพยาบาล การดแู ลผูส้ งู อายุ การเตรยี มความพร้อมรับภัยพิบตั ิ 4. ส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาเข้ารว่ มกิจกรรมโครงการเรยี นรู้ตามรอยพระยุคลบาท 5. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้บุคลากรในสังกัดไดร้ บั การพัฒนาบคุ ลากรทางการลูกเสอื และยวุ กาชาด นโยบำยของสภำกำชำดไทย สภากาชาดไทย โดยสานักงานยุวกาชาดมีภารกิจในการปลูกฝังและเผยแพร่ให้ เยาวชนมีความรู้ ความเขา้ ใจในหลักการและอดุ มการณข์ องกาชาดในด้านมนษุ ยธรรม การดูแลสุขภาพ การบรกิ ารอาสาสมัครและ การส่งเสริมการมีสัมพันธภาพท่ีดี มีศรัทธาต่อกาชาด และเข้าร่วมกจิ กรรมของกาชาดได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต กิจการยุวกาชาดเป็นส่วนหนึ่งของสภากาชาดไทยท่ีมีความสาคัญตอ่ ระบบการจัดการศกึ ษา เก่ียวกับการพฒั นาคน และสังคมทม่ี ีคุณภาพ โดยยุวกาชาดมีวัตถุประสงค์ มุ่งปลูกฝังให้เยาวชนมีอดุ มการณ์ในศานติสขุ มีความชานาญ ในการรักษาอนามัยของตนเองและของผู้อื่น รู้จักบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืน และมีสัมพันธภาพอันดีกับ บุคคลทั่วไป งานยุวกาชาด จึงเปน็ งานทีพ่ ัฒนาเยาวชน โดยใช้คุณธรรมและคา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ เป็นพ้ืนฐานในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเยาวชน ซึ่งเป็นอนาคตของชาติให้เป็นคนดี รอบรู้ สุขภาพดี และพงึ่ พาได้ บทบำทของหน่วยงำนและสถำนศึกษำสังกัดสำนักงำน กศน. ในกำรส่งเสริมสนับสนุนกำรจัด กจิ กรรมอำสำยุวกำชำด 1. สานักงาน กศน. มีบทบาทหน้าท่ี ดงั นี้ 1.1 วางแผนและกาหนดนโยบายการจัดกิจกรรมชมรมอาสายุวกาชาด สาหรับหน่วยงานและ สถานศึกษาในสังกดั 1.2 จดั สรรงบประมาณสนับสนนุ การจัดกจิ กรรม 1.3 กาหนดเป้าหมายเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ 1.4 การตดิ ตามผลและประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม 1.5 เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์การจัดกิจกรรม 1.6 ประสานแผนกับสานกั งานยุวกาชาด สภากาชาดไทยเพือ่ การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากร 2. สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. มีบทบาทหน้าท่ี ดังนี้ 2.1 สร้างความเข้าใจในการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดแก่บุคลากรในสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และสถานศกึ ษาในสงั กดั 2.2 วางแผน กาหนดเปา้ หมาย และสนบั สนนุ งบประมาณการจดั กจิ กรรมอาสายวุ กาชาด 2.3 นิเทศ กากบั ติดตาม การจัดกจิ กรรมของสถานศึกษาในสงั กัด 2

2.4 จดั ทาทาเนียบการจัดต้ังชมรมอาสายุวกาชาด 2.5 พัฒนาบคุ ลากรในสังกัด เพอื่ รองรับการจัดกจิ กรรมอาสายุวกาชาด 2.6 สรปุ และรายงานผลการจดั กจิ กรรมของชมรมอาสายุวกาชาด และนาเสนอ สานักงาน กศน. 2.7 เผยแพร่ ประชาสัมพันธก์ ารจดั กิจกรรมอาสายุวกาชาด 2.8 ประสานงานกับสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย และหน่วยงานเครือข่ายในการจัด กจิ กรรมอาสายวุ กาชาด 3. สถานศกึ ษาสังกดั สานักงาน กศน. มบี ทบาทหนา้ ที่ ดังน้ี 3.1 สรา้ งความเขา้ ใจในการจัดกจิ กรรมอาสายุวกาชาดแก่บคุ ลากร 3.2 วางแผนการจัดทาโครงการและขอความเห็นชอบจากสานักงาน กศน.จงั หวดั /กทม. 3.3 สนบั สนนุ งบประมาณ และจัดกจิ กรรมอาสายุวกาชาด 3.4 นเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม การจดั กิจกรรมภายในสถานศกึ ษา 3.5 สง่ เสรมิ สนบั สนุน พฒั นาบุคลากร เพอื่ รองรบั การจัดกิจกรรมอาสายวุ กาชาด 3.6 สรุปและรายงานผลการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด และนาเสนอ สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และหนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้อง 3.7 เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธก์ ารจดั กิจกรรมอาสายุวกาชาด 3.8 ประสานงานกับสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย และหน่วยงานเครือข่ายในการจัด กจิ กรรมอาสายวุ กาชาด เช่น การขอเลขรุ่น วุฒบิ ัตร และค่มู อื ฯลฯ ประเภทของยวุ กำชำด ในการปลูกฝังและเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจหลักการและอุดมการณ์ของกาชาดตามวัตถุประสงค์ของ ยวุ กาชาดนั้นมกี ลมุ่ เป้าหมายเยาวชนท่เี ป็นยวุ กาชาด 2 ประเภท ดงั น้ี 1. สมาชิกยุวกาชาด คือ เยาวชน ชายและหญิง อายุ 7-18 ปี ที่กาลังศึกษาอยู่ระดับประถมศึกษาถึงระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย และเลือกเรียนยุวกาชาดตามหลักสูตรการเรียนการสอนยวุ กาชาดของกระทรวงศึกษาธิการ 2. อาสายุวกาชาด คือ เยาวชน ชายและหญิง อายุ 15-30 ปี ที่ศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาข้ึนไป ตลอดจนเยาวชนนอกสถานศึกษา ที่มคี วามสนใจสมคั รเป็นสมาชิกสังกดั ชมรมอาสายุวกาชาด โดยผ่านการอบรม อาสายุวกาชาดหลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด และร่วมกิจกรรมเพื่อบริการชุมชนตามภารกิจของกาชาด อยา่ งต่อเน่ือง ซ่งึ ผเู้ รยี นของสำนักงำน กศน. เปน็ กลุ่มเป้ำหมำยประเภทนี้ ในการดาเนินงานอาสายุวกาชาดนั้น นอกจากผู้เรียนจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรม ทาให้มี การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม มีจิตอาสาแล้ว ยังเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจ ที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น และ สถานศกึ ษายังเกดิ ความภาคภูมิใจทส่ี ามารถผลิตผู้เรียน ที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นคนดขี องสังคมดว้ ย 3

ตอนท่ี 2 กำรจดั กิจกรรมอำสำยวุ กำชำดในสถำนศึกษำสังกดั สำนกั งำน กศน. การจัดกิจกรรมของสานักงาน กศน. โดยสถานศึกษาในสังกัดน้ัน มุ่งหวังเติมเต็มโอกาสทางการศึกษา ให้กับคนไทยทั่วประเทศ ให้ได้รับการศึกษาทักษะชีวิต พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม เพื่อนาไปสู่การพัฒนา คุณภาพชีวิต โดยสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ต้องตระหนักในบทบาทภารกิจที่จะสร้างและพัฒนาคน ใหเ้ ปน็ มนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความรคู้ วบคู่คุณธรรม ต้องสง่ เสริมให้ผเู้ รียนได้พฒั นาเต็มศักยภาพ พัฒนาคุณภาพชวี ิต เป็นคนดี เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีใหก้ ับสังคมได้ กิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมท่ีปลูกฝังผู้เรียนของสานักงาน กศน. ให้มีระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ในตนเองและมีความเข้าใจในการปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เป็นปัญหาของสังคม ตลอดจนสามารถ สร้างจิตอาสาให้เกิดกับผู้เรียนในสังคมที่จะช่วยเหลือผู้อ่ืน และส่งผลทาให้ครอบครัว สังคม ชุมชน อยู่ร่วมกัน อยา่ งมคี วามสขุ ในการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดให้กับผเู้ รยี นน้ันมแี นวทางในการจดั ดงั นี้ 1. การพัฒนาบุคลากรสังกัดสานักงาน กศน. ท่ีเก่ียวข้องกับการจดั กิจกรรมอาสายุวกาชาด ให้มีความรู้ ทักษะ ถ่ายทอดและจดั กิจกรรมที่หลากหลายในหลักสูตรต่างๆ ของสานักงานยวุ กาชาด สภากาชาดไทยกาหนดขึ้น 2. การจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด สาหรับผู้เรียนของสานักงาน กศน. ซ่ึงจะมีแนวทางในการจัดตาม หลักสูตรท่ีสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยได้กาหนดไว้ท้ังหลักสูตรพ้ืนฐานอาสายุวกาชาด และหลักสูตร เฉพาะทางท่จี ะเป็นประโยชน์กบั ผเู้ รียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ 3. การจัดต้ังชมรมอาสายุวกาชาด เพ่ือให้สมาชิกอาสายุวกาชาดได้มีโอกาสร่วมคิด ร่วมทา ร่วมสรา้ งจิตอาสาในบทบาทของอาสายุวกาชาด แนวทางในการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ท้ัง 3 แนวทางน้ัน หากสถานศึกษาได้ดาเนินการตามแนวทางดังกล่าว จะส่งผลให้สถานศึกษามีการพัฒนาบุคลากรในการจัด กิจกรรมอาสายุวกาชาด มีชมรมอาสายุวกาชาดที่ให้สมาชิกได้มีโอกาสสร้างจิตอาสา โดยมีกิจกรรมบาเพ็ญ ประโยชน์ต่างๆ และสถานศึกษาจะมีหลักสูตรท่ีเป็นประโยชน์ให้กับผู้เรียนของสานักงาน กศน. ได้เลือกเรียน ตามความสนใจ ซึง่ มรี ายละเอียดดังน้ี กำรพัฒนำบคุ ลำกรสงั กัดสำนกั งำน กศน. ท่เี กีย่ วข้องกับกำรจดั กิจกรรมอำสำยุวกำชำด ในการจดั กิจกรรมอาสายวุ กาชาดของสถานศึกษา ควรมีบุคลากรทม่ี ีความรู้ความเขา้ ใจในการจัดกิจกรรม อาสายุวกาชาดใหก้ ับผ้เู รยี น ทไี่ ดร้ บั การอบรมทาความเขา้ ใจหลกั สูตรอาสายุวกาชาดหลกั สูตรพนื้ ฐาน ซึ่งจะมเี นือ้ หา ในการฝึกอบรมตรงกับตาแหน่งและหน้าท่ีในการปฏิบัติกิจกรรมอาสายุวกาชาด ได้แก่ หลักสูตรผู้อานวยการ ฝึกอบรมอาสายุวกาชาด หลักสูตรวิทยากรยุวกาชาด หลักสูตรครูที่ปรึกษาชมรมอาสายุวกาชาด นอกจากนี้ยังมี หลักสูตรเฉพาะทาง ซ่ึงเป็นหลักสูตรเพิ่มเติมจากหลักสูตรพ้ืนฐาน เพื่อให้วิทยากรยุวกาชาดมีความรู้เฉพาะทาง ได้แก่ หลักสูตรปฐมพยาบาล หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตรการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ หลักสูตรความรู้ เพ่ือชีวิต (Fact for Life) ซึ่งหลักสูตรท้ังหมดน้ี เป็นหลักสูตรท่ีสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยเป็นผู้กาหนด หลกั สูตร พรอ้ มท้งั เปน็ หน่วยงานหลักในการพัฒนาบคุ ลากรทางการยุวกาชาดโดยตรง 4

ทั้งน้ีสานักงาน กศน. ควรพัฒนาบุคลากรให้มีความเข้าใจในทุกระดับก่อน เพ่ือให้มีความพร้อมที่จะ ดาเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมอาสายุวกาชาด เพราะหลักสูตรดังกล่าวมีมาตรฐานในการดาเนินการ ซึ่งสานักงาน ยุวกาชาด สภากาชาดไทย พร้อมที่จะพัฒนาบุคลากรให้กับสานักงาน กศน. ให้มีความเข้าใจในกิจกรรมอาสา ยุวกาชาด และสามารถเข้ารับการพัฒนาในหลักสูตรต่างๆ โดยติดต่อประสานขอรับการอบรมได้ท่ีสานักงาน ยุวกาชาด สภากาชาดไทย โดยมีหลกั สตู รทบ่ี ุคลากรสังกดั สานักงาน กศน. ควรได้รบั การพัฒนา ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. หลักสูตรผู้อำนวยกำรฝึกอบรมอำสำยวุ กำชำด หลักสูตรผู้อานวยการฝึกอบรมอาสายุวกาชาดที่ได้จัดทาขึ้นนี้ เป็นหลักสูตรหน่ึงของสานักงาน ยุวกาชาด สภากาชาดไทย ที่ใช้ในการอบรมผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารหน่วยงาน เพ่ือให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องและเนื้อหาท่ีเกี่ยวข้องกับการกาชาด ยุวกาชาด ซึ่งเป็นพ้ืนฐาน ที่เครือข่ายทุกคนควรมีความรู้ ความเข้าใจในองค์กร และหน้าที่ขององค์กรการกุศลเพ่ือมนุษยธรรมแห่งน้ี นอกจากน้ียังมีรายละเอียดเกี่ยวกับข้อบังคับสภากาชาดไทย ระเบียบคณะกรรมการบริหาร ว่าด้วยการปฏิบัติ เก่ียวกับยุวกาชาด ซึ่งเปรียบเสมือนกฎหมายท่ีใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านยุวกาชาด ท่ีผู้อานวยการ ฝึกอบรมอาสายุวกาชาด ควรต้องรู้และเข้าใจมีกระบวนการและขั้นตอนท่ีจะเสริมสร้างทักษะ และแลกเปลี่ยน ประสบการณใ์ นการวางแผนและการบริหารโครงการฝกึ อบรม รวมถึงกิจกรรมท่ีจะทาให้ผ้เู ข้ารับการอบรมรู้ และ สามารถปฏิบัติตนในบทบาทหน้าท่ีของผู้อานวยการฝึกอบรมอาสายุวกาชาดท่ีชัดเจน พร้อมท้ังเสริมสร้าง ศักยภาพ ความสามารถที่มีอยู่แล้วให้เข้มข้นมากย่ิงข้ึน เพ่ือที่จะได้นาความรู้ ความเข้าใจและทักษะต่างๆ ไปปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการฝึกอบรมในโครงการอบรมต่างๆ และสามารถให้คาปรึกษา แนะนาในการบริหาร จัดการโครงการให้กบั หนว่ ยงานอนื่ ๆ ไดด้ ้วย วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรม 1. สามารถปฏบิ ัตหิ น้าท่ผี ู้อานวยการฝึกอบรมอาสายุวกาชาดได้ 2. สามารถบริหารจดั การโครงการอบรมตา่ งๆ ได้ 3. สามารถใหค้ าปรึกษา แนะนาในการบริหารจดั การฝึกอบรมแก่บคุ ลากรในสถานศกึ ษาได้ คณุ สมบัติ 1. ผูบ้ รหิ ารการศึกษา ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา หรอื ผู้บริหารหนว่ ยงาน 2. ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่สาเร็จการอบรมหลักสูตรวทิ ยากรยวุ กาชาดแล้ว ไปปฏิบัติหนา้ ทีว่ ทิ ยากรยวุ กาชาด จานวน 3 ครง้ั ข้ึนไป โดยส่งสาเนาคาส่ังแต่งต้ังเพื่อเป็นหลักฐานรับรอง 3. ผทู้ ่เี ปน็ วิทยากรแกนนายวุ กาชาด ทใ่ี ห้การอบรมวิทยากรยวุ กาชาด 4. บุคคลที่ได้รับการพิจารณาจากผู้อานวยการสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยว่ามีความรู้ ความสามารถ และประสบการณเ์ หมาะสมจะเป็นผู้อานวยการฝึกอบรมได้ เกณฑก์ ำรรบั รองผลกำรอบรม 1. มีเวลาในการอบรมรอ้ ยละ 80 ของระยะเวลาการอบรม 2. ผ่านการทดสอบข้อเขียนข้ันปลาย รอ้ ยละ 60 ขึ้นไป 3. ผ่านการทดสอบรายบุคคลและกลุ่ม ตามหลกั สูตรทก่ี าหนด 4. สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยมอบวุฒิบัตรให้สาหรับผู้เข้ารับการอบรมท่ีผ่านตาม เกณฑ์ท่กี าหนด 5

2. หลกั สตู รวทิ ยำกรยุวกำชำด หลักสูตรวิทยากรยุวกาชาดท่ีได้จัดทาขึ้นน้ี เป็นหลักสูตรหนึ่งของสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ที่ใช้ในการอบรมผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารหน่วยงาน ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา เพื่อให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองหลักการและอุดมการณ์ของกาชาดในด้านมนุษยธรรม การดูแลสุขภาพอนามัย การบริการอาสาสมัคร และการส่งเสริมการมีสัมพันธภาพที่ดี มีศรัทธาต่อกาชาด และ ร่วมกิจกรรมของสภากาชาดไทยได้อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นพื้นฐานท่ีเครือข่ายทุกคนควรมีความรู้ความเข้าใจ ในองค์กร และหน้าที่ขององค์กรการกุศลเพ่ือมนุษยธรรมแห่งน้ี นอกจากน้ียังมีรายละเอียดเกี่ยวกับข้อบังคับ สภากาชาดไทย ระเบียบคณะกรรมการบริหารว่าด้วยการปฏิบัติเกี่ยวกับยุวกาชาด ซ่ึงเปรียบเสมือนกฎหมาย ที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านยุวกาชาด ที่วิทยากรยุวกาชาดควรต้องรู้และเข้าใจ มีกระบวนการและ ข้ันตอนที่จะเสริมสร้างทักษะในการวางแผน การจัดอบรม และฝึกการเป็นวิทยากรในการจัดกิจกรรมตาม หลักสตู รเพือ่ การอบรมอาสายวุ กาชาด วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรม 1. สามารถปฏิบตั ิหน้าทว่ี ิทยากรใหก้ ารฝึกอบรมอาสายุวกาชาดได้ 2. สามารถบริหารจัดการโครงการอบรมอาสายุวกาชาดหลกั สตู รต่างๆ ได้ 3. สามารถให้คาปรึกษา แนะนา การจัดกจิ กรรมการฝึกอบรมได้ คณุ สมบตั ิ 1. ผู้บรหิ ารการศึกษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หรือผู้บริหารหนว่ ยงาน 2. ขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เกณฑ์กำรรับรองผลกำรอบรม 1. มีเวลาในการอบรมร้อยละ 80 ของระยะเวลาการอบรม 2. ผา่ นการทดสอบข้อเขยี นขน้ั ปลาย รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป 3. ผ่านการทดสอบรายบคุ คลและกลุ่ม ตามทห่ี ลักสตู รกาหนด 4. สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยมอบวุฒิบัตร เข็มวิทยากร ให้สาหรับผู้เข้ารับการอบรม ที่ผา่ นตามเกณฑท์ ก่ี าหนด 3. หลกั สตู รครทู ่ปี รกึ ษำชมรมอำสำยวุ กำชำด สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยได้มีนโยบายท่ีจะเชิญชวนหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอก ชน ให้จัดตั้งชมรมอาสายุวกาชาดให้ครอบคลุมท่ัวประเทศอย่างน้อย 1 อาเภอ 1 ชมรม ซ่ึงในปัจจุบันมีหน่วยงาน ต่างๆ สนใจกิจกรรมของอาสายุวกาชาดและตั้งชมรมอาสายุวกาชาดเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง เพ่ือสร้างเครือข่ายใน การทากิจกรรมกาชาด ยุวกาชาด ทั้งนี้เพื่อให้ชมรมอาสายุวกาชาดมีการขับเคลื่อนได้อย่างเข้มแข็ง เพ่ืออบรม ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่บุคลากรจากหน่วยงานพัฒนาเยาวชนต่างๆ ได้ทราบถึงบทบาทหน้าท่ีของท่ีปรึกษา ชมรมอาสายุวกาชาด เกิดทักษะ ความชานาญ ในการบริหารงานชมรมอาสายุวกาชาดและสามารถประยุกต์ งานอาสายุวกาชาดเข้ากับงานในความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังเป็นเครือข่ายท่ีสาคัญใน การเผยแพร่กิจกรรมกาชาด อาสายุวกาชาดร่วมกับสภากาชาดไทย ต่อไป 6

วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพที่ปรึกษาชมรมอาสายุวกาชาด ตลอดท้ังบุคลากรของหน่วยงานพัฒนา เยาวชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติท่ีดี และสามารถทาหน้าท่ีเผยแพร่กิจกรรมกาชาด ยุวกาชาด ให้กับ เยาวชนท่อี ยใู่ นความรบั ผิดชอบ 2. เพ่ือให้ที่ปรึกษาชมรมอาสายุวกาชาด สามารถนาเทคนิควิธีการ กระบวนการ การประสานงานไปเป็นแนวทาง เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมของชมรมอาสายุวกาชาดได้อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพและมคี วามยั่งยนื คุณสมบตั ิ 1. ครูอาจารย์ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ทีเ่ ปน็ ท่ปี รึกษาชมรมอาสายุวกาชาด 2. สามารถเขา้ รับการอบรมไดค้ รบตามหลักสตู ร 4. หลักสตู รเฉพำะทำง สำหรับวทิ ยำกรยุวกำชำด 4.1 หลกั สตู รปฐมพยำบำล สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยปฏิบัติงานภายใต้นโยบายของสภากาชาดไทย มีภารกิจหลัก ในการปลูกฝังและเผยแพร่ให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ และอุดมการณ์ของกาชาด ใน ดา้ นมนุษยธรรมการดูแลสุขภาพอนามัย การบริการอาสาสมัคร ส่งเสริมการมีสัมพันธภาพที่ดี รวมถึงการพัฒนา และส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนท่ัวไป ซึ่งจากข้อมูลข่าวสารและสถิติของการเกิดอุบัติเหตุ การปฐม พยาบาลก่อนการนาผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลเป็นเรื่องท่ีมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อการดารงชีวิต ถ้าประชาชนมีความรู้ด้านปฐมพยาบาล จะช่วยลดปัญหาในเร่ืองการเสียชีวิต การป้องกันความพิการ การบรรเทาความเจ็บปวด และการป้องกนั อันตรายที่จะเกิดข้นึ กับผู้บาดเจ็บก่อนส่งถงึ โรงพยาบาล การส่งเสริมให้หน่วยงานพัฒนาเยาวชนเห็นความสาคัญในเรื่องปฐมพยาบาล จะทาให้เกิด การพัฒนาศักยภาพของครู อาจารย์ บุคลากรของหน่วยงาน พัฒนาเยาวชนในเรอ่ื งปฐมพยาบาล ซึ่งจะเป็นผู้นา ความรู้ที่ได้รับไปอบรมให้กับอาสายุวกาชาดท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ เพ่ือให้ เยาวชนได้ใช้ความรู้เรื่อง ปฐมพยาบาลไปดูแลตนเอง ดูแลคนในชุมชน คนท่ีต้องการความช่วยเหลือ สามารถเป็นท่ีพ่ึงพาของผู้อื่นและ ชุมชนได้ ทาให้เยาวชนเกิดความภาคภูมิใจ มีความมั่นใจท่ีจะปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมภายใต้ หลักการและอุดมการณ์ของกาชาด ทาหน้าที่ดูแลและช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ต่อไป ทั้งนี้เพ่ือเป็นการพัฒนา ศักยภาพและขยายเครือข่ายดา้ นการปฐมพยาบาล สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยจึงได้กาหนดจดั โครงการ อบรมวิทยากรยุวกาชาดหลักสูตรปฐมพยาบาลตามมาตรฐานสภากาชาดไทยข้ึน ถือว่าเป็นการพัฒนาศักยภาพ วิทยากรยุวกาชาดให้มีความรู้ ทักษะด้านปฐมพยาบาล เพ่ือเป็นกาลังสาคัญในการถ่ายทอดเร่ืองปฐมพยาบาล ส่อู าสายุวกาชาดตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านปฐมพยาบาลของวิทยากรยุวกาชาด ท่ีปรึกษาชมรมอาสา ยุวกาชาด จะได้นาความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้รับไปเผยแพร่ และให้ความช่วยเหลือ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน เพื่อเป็นทพี่ ่งึ พาได้ต่อไป 2. เพื่อให้อาสายุวกาชาดนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ท่ีได้รับไป ชว่ ยเหลือตนเอง ครอบครัว และชุมชนอนั เป็นการพง่ึ พาไดจ้ ริง 7

คณุ สมบัติ 1. ตอ้ งสาเรจ็ การอบรมหลกั สูตรวิทยากรยวุ กาชาด ทป่ี รกึ ษาชมรมอาสายุวกาชาด 2. สามารถเขา้ รับการอบรมไดค้ รบตามหลักสตู ร 4.2 หลกั สตู รกำรเตรยี มพร้อมรับภยั พบิ ัติ สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยมีภารกิจหลักในการปลูกฝังและอบรมให้เยาวชนมีความรู้ มีศรัทธาต่อกาชาด เข้าใจในหลักการและอุดมการณ์ของกาชาดด้านมนุษยธรรม การดูแลสุขภาพอนามัย การบริการอาสาสมัคร การมีสัมพันธภาพที่ดี และสร้างสรรค์กิจกรรมเพ่ือชักชวนให้เยาวชนได้ร่วมทางานกับ สภากาชาดไทยอย่างต่อเน่ือง นับเป็นแนวทางหน่ึงของการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนให้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีการอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน พัฒนาเยาวชนให้มีศักยภาพ มีทัศนคติที่ดี และมีจิตอาสาในการทาหน้าท่ีเผยแพร่ถ่ายทอดทักษะความรู้ความเข้าใจในเร่ืองต่างๆ ตามกระบวนการกาชาด ยุวกาชาด ไปสู่เยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด ตรงตามแผนยุทธศาสตร์ท่ี 4 ของ สภากาชาดไทย วา่ ดว้ ยเร่อื ง “การสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน” สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยได้กาหนดนโยบายท่ีจะให้ความรู้ ความเข้าใจ และทาให้ เยาวชนซ่ึงเป็นกลุ่มเป้าหมาย ของสานักงานมีความรู้เร่ืองการเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติ ท่ีนับวันจะทวี ความรุนแรงและมีความถี่เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มทักษะ กระบวนการ ถ่ายทอดให้กับครู อาจารย์ เพื่อเป็นวิทยากรยุวกาชาดและนาเร่ืองดังกล่าวไปขยายผลสู่ เยาวชนใน ความรับผิดชอบให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ ที่อาจจะเกิดข้ึนในพื้นท่ีหรือ ชุมชนและสามารถปรับใช้ในชีวิตประจาวัน รวมถงึ มจี ิตอาสาพร้อมทจี่ ะให้การช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั ได้ต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหว้ ิทยากรยวุ กาชาดมีความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะ เรอ่ื งการเตรยี มพร้อมรับภัยพิบัติ 2. เพ่ือให้วิทยากรยุวกาชาดสามารถนาความรู้ ความเข้าใจไปเผยแพร่ และถ่ายทอดให้กับ เยาวชน ในความรบั ผิดชอบของตนเองได้ คุณสมบัติ 1. ต้องสาเร็จการอบรมหลักสตู รวทิ ยากรยุวกาชาด ท่ปี รกึ ษาชมรมอาสายุวกาชาด 2. สามารถเขา้ รับการอบรมไดค้ รบตามหลักสตู ร 4.3 หลักสตู รกำรดูแลผูส้ งู อำยุ สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยได้ทางานร่วมกับบุคลากรของหน่วยงานภาคีเครือข่าย พฒั นาเยาวชนทงั้ ภาครฐั และเอกชน เพอ่ื ปลูกฝังและเผยแพร่ให้เยาวชนเปน็ คนดี มคี ุณธรรม มคี วามรูค้ วามเข้าใจ ในหลักการและอุดมการณ์ของกาชาดในด้านมนุษยธรรม การดูแลสุขภาพอนามัย การบริการอาสาสมัคร และ การส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดี มีจิตศรัทธาต่อกาชาด และเข้าร่วมกิจกรรมกับกาชาดได้อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้ง เชิญชวนและรณรงค์ให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมกิจกรรมของสภากาชาดไทยได้อย่างต่อเน่ือง สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยมีเป้าหมายในการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานภาคีเครือข่าย พัฒนาเยาวชนให้มีศักยภาพเป็น ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ มีคุณธรรมในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะในเร่ืองการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งบุคลากร เหลา่ นน้ั จะเป็นกาลงั สาคญั ในการเผยแพรข่ ยายผลกจิ กรรมกาชาดสู่เยาวชนได้ 8

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนให้ วิทยากรยุวกาชาด มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลผู้สูงอายุ และนาไปใช้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้ 2. เพ่ือให้วิทยากรยุวกาชาดสามารถนาความรู้ ความเข้าใจด้านการดูแลผู้สูงอายุ ไปเผยแพรแ่ ละถา่ ยทอดใหก้ ับผูเ้ ข้ารับการอบรม คุณสมบัตขิ องผ้เู ข้ำร่วมโครงกำร 1. ตอ้ งสาเรจ็ การอบรมหลกั สูตรวทิ ยากรยวุ กาชาด ที่ปรึกษาชมรมอาสายุวกาชาด 2. สามารถเขา้ รับการอบรมได้ครบตามหลักสตู ร 4.4 หลักสูตรควำมร้เู พื่อชวี ิต (Fact for Life) เด็กและเยาวชนถือเป็นกาลังสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ แต่สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีปัจจัยหลายด้านที่ส่งผลกระทบให้เยาวชนมีปัญหาท่ีรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากการเปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็วท้ังด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบกับวัยของเยาวชนเป็นช่วงวัยท่ีมีความเปล่ียนแปลง ด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงประสบปัญหาต่างๆ ได้ง่าย เช่น ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ปัญหาการทาแท้ง ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาการใช้ความรุนแรง ปัญหายาเสพติด ปัญหาเรียนไม่จบ ปัญหาต่างๆ ท่ีกล่าวมา ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งต่อตัวเด็กและสังคมอย่างมาก ทาให้สูญเสียงบประมาณของชาติในการดูแล รักษาพยาบาล กอ่ ใหเ้ กดิ อาชญากรรม รวมถึงเกดิ ปญั หาเดก็ ทารกถูกทอดทงิ้ เป็นต้น ดังน้ัน สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในเร่ืองดังกล่าวและ ถอื เป็นปัญหาเรง่ ด่วน ที่จะต้องรีบดาเนินการเพ่ือให้เด็กและเยาวชนเหล่านี้ มีภูมิต้านทานต่อปัญหาต่างๆ ที่อาจ เกิดข้ึน หรือถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นจริงก็ควรมีทักษะและกระบวนการคิดที่จะแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ รวมทั้ง ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นหรือมีความเส่ียงน้อยที่สุด “ความรู้เพ่ือชีวิต (Fact for Life)” เป็นการฝึกทักษะชีวิต เพื่อให้เยาวชนมีความสามารถในการปรับตัวและเลือกทางเดินชีวิต ที่เหมาะสม พร้อมท่ีจะเผชิญปัญหารอบตัวในสภาวะปัจจุบันและเตรียมพร้อมสาหรับอนาคตได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการถ่ายทอดเนื้อหา กิจกรรมเร่ืองความรู้เพ่อื ชีวิต (Fact for Life) 2. เพ่อื สามารถนาไปปรับใช้ในชวี ติ และบูรณาการกบั งานในความรับผิดชอบได้ คณุ สมบตั ิ 1. ต้องสาเร็จการอบรมหลักสูตรวทิ ยากรยุวกาชาด ทปี่ รึกษาชมรมอาสายุวกาชาด 2. สามารถเขา้ รบั การอบรมได้ครบตามหลักสูตร 9

4.5 หลกั สตู รกฎหมำยมนษุ ยธรรมระหว่ำงประเทศ (IHL) ตามหลักการกาชาด ยึดหลักมนุษยธรรมในการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ โดยใช้กลยุทธ์ใน การเผยแพร่ ให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการกาชาด ยุวกาชาด และกฎหมายมนุษยธรรมระหว่าง ประเทศ (IHL) อันเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างความตระหนักในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ให้กับเยาวชนเกิด ความตระหนัก มีความคิด ที่จะไม่ใช้ความรนุ แรงในการแก้ปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้ง และร่วมกันคุ้มครองชีวิต ศักดศิ์ รีความเป็นมนุษย์ เพ่ือการอยู่ร่วมกันอยา่ งสันติสุข กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศจึงเป็นกฎเกณฑ์ที่ ใช้ในภาวะสงคราม เพ่ือคุ้มครองบุคคลท่ีไม่มีส่วนร่วมในการสู้รบ เป็นเร่ืองท่ีองค์กรกาชาดท่ัวโลกให้ความสาคัญ และพยายามรณรงค์ให้เยาวชน ซึ่งเป็นพลังอันสาคัญได้เกิดความตระหนัก ในการลดใช้ความรุนแรงในสังคม ท่เี กดิ ขึ้น วตั ถุประสงค์ เพ่ือให้วิทยากรยุวกาชาดมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการกาชาดและกฎหมายมนุษยธรรม ระหว่างประเทศ (RC&IHL) และพรอ้ มท่ีจะเผยแพรค่ วามรู้ขยายผลให้แก่อาสายวุ กาชาดท่ีอยู่ในความรับผดิ ชอบ คณุ สมบตั ิ 1. ต้องสาเรจ็ การอบรมหลกั สูตรวทิ ยากรยุวกาชาด ท่ีปรกึ ษาชมรมอาสายุวกาชาด 2. สามารถเข้ารบั การอบรมไดค้ รบตามหลกั สูตร กำรจัดกิจกรรมอำสำยุวกำชำด สำหรบั ผู้เรียนของสำนกั งำน กศน. กิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังผู้เรียนของสานักงาน กศน. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้มี ความรู้และความเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ของกาชาดในด้านมนุษยธรรม การดูแลสุขภาพของตนเองและผู้อ่ืน รวมทั้งมีจิตอาสาในการช่วยเหลือผู้อ่ืนและบริการชุมชน ดังน้ัน การท่ีจะส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามค่านิยมหลัก 12 ประการของคนไทย อีกท้ังเป็นคนดีของครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ สถานศกึ ษาสังกัดสานักงาน กศน. จงึ ควรมบี ทบาทในการจดั กิจกรรมอาสายวุ กาชาด หลักสตู รต่างๆ ดังนี้ 1. หลักสูตรพนื้ ฐำนยุวกำชำด เป็นหลกั สตู รทีจ่ ดั สาหรับผเู้ รยี นท่สี นใจ โดยมีวตั ถุประสงค์ ดงั นี้ 1.1 เพื่อเป็นการเผยแพรอ่ ุดมการณ์ของกาชาดและยวุ กาชาด 1.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการกาชาดและยุวกาชาด ตลอดจนการดารงชีวิต ทั้งในปจั จุบนั และอนาคต 1.3 เพื่อเสรมิ สรา้ งความศรทั ธาและเจตคติท่ดี ีต่อการกาชาดและยุวกาชาด 1.4 เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบที่จะช่วยเหลือสังคมส่วนรวมมีคุณธรรม เป็นคนของสังคม ตารางการฝกึ อบรมมี 6 แบบ คือ แบบท่ี 1 ตารางอบรมแบบค่ายพักแรม 2 วัน 1 คนื แบบที่ 2 ตารางอบรมแบบคา่ ยพักแรม 3 วนั 2 คืน แบบท่ี 3 ตารางอบรมแบบคา่ ยพกั แรม 4 วัน 3 คืน แบบท่ี 4 ตารางแบบค่ายกลางวัน 2 วัน แบบท่ี 5 ตารางแบบค่ายกลางวัน 3 วัน แบบที่ 6 ตารางแบบค่ายกลางวัน 4 วนั (สามารถเลอื กได้ตามความเหมาะสม) 10

2. หลักสูตรเฉพำะทำง สำหรับผู้เรียนของสำนักงำน กศน. เป็นหลักสูตรท่ีจัดสาหรับผู้เรียนที่ผ่าน การอบรมในหลักสูตรพ้ืนฐานยุวกาชาดแล้ว เป็นการเพิม่ ศักยภาพและทักษะเฉพาะทางในเร่ืองต่างๆ ดงั น้ี 2.1 การปฐมพยาบาล 2.2 การดแู ลผู้สงู อายุ 2.3 การเตรยี มพรอ้ มรบั ภัยพบิ ตั ิ 2.4 การกาชาดและกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) 2.5 ความรเู้ พื่อชวี ติ (Fact for Life) กำรจัดตั้งชมรมอำสำยุวกำชำด กิจกรรมอาสายุวกาชาดเป็นกิจกรรมหนง่ึ ของสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ทจ่ี ัดขน้ึ เพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนชาย-หญิง ที่อยู่ในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. หรือคณะบุคคลทุกสังกัด ได้มีโอกาสพัฒนา คุณภาพชีวิตท่ีดี มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจิตใจเสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมตามอุดมการณ์ของ กาชาดและยุวกาชาด ตลอดทั้งได้เพ่ิมพูนความรู้ และทักษะท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดารงชีวิตและช่วยเหลือผู้อื่น ได้ตามกาลังความสามารถ หน่วยงาน สถานศึกษา หรือคณะบุคคลทม่ี ีความประสงคจ์ ะจัดตั้งชมรมอาสายุวกาชาดสามารถดาเนินการ โดยศึกษาข้อมูลในการจัดตั้งชมรมอาสายุวกาชาดตามข้อบังคับสภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 68) พทุ ธศกั ราช 2550 หมวดที่ 9 ว่าด้วยยวุ กาชาด และระเบยี บปฏิบตั ยิ วุ กาชาด ว่าดว้ ยอาสายุวกาชาด ดังน้ี 1. คณะกรรมการทีป่ รึกษาชมรมอาสายวุ กาชาด ประกอบดว้ ย 1.1 ผู้บริหารหน่วยงาน สถานศึกษา หรือคณะบุคคล เป็นประธานกรรมการท่ีปรึกษาชมรมอาสา ยุวกาชาด 1.2 กรรมการอนื่ อกี ไมเ่ กนิ 10 คน เปน็ กรรมการทป่ี รึกษาชมรมอาสายวุ กาชาด 1.3 ทปี่ รึกษาชมรมอาสายวุ กาชาด เปน็ กรรมการทป่ี รกึ ษาชมรมอาสายุวกาชาดและเลขานุการ 2. คณะกรรมการทปี่ รกึ ษาชมรมอาสายวุ กาชาด มีหนา้ ท่ี 2.1 กากับ ดูแล และพิจารณาให้มีการจัดต้ังอาสายุวกาชาด โดยใช้ช่ือว่า \"ชมรมอาสายุวกาชาด (ระบุช่อื ชมรม) \" 2.2 สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการดาเนนิ กิจกรรมของชมรมอาสายวุ กาชาด 2.3 จัดทารายงานประจาปีของชมรมอาสายุวกาชาดเสนอต่อผู้อานวยการสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย 3. ชมรมอาสายุวกาชาด 3.1 คณะกรรมการชมรมอาสายุวกาชาด หมายถึงผู้เรียนของสานักงาน กศน. ท่ีเป็นอาสา ยวุ กาชาด และได้รับการแต่งต้ัง หรือเลือกตั้งเป็นกรรมการ ประกอบด้วย ประธานชมรมฯ และกรรมการจานวน อยา่ งนอ้ ย 10 คน 3.2 สมาชิกชมรมอาสายุวกาชาดจานวนอย่างน้อย 20 คน ท่ีมีคุณสมบัติการสมัครเป็นอาสา ยุวกาชาด 11

3.3 ที่ปรึกษาชมรมอาสายุวกาชาด คือ ครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา หรือบุคลากรของ หน่วยงานทไ่ี ด้รับการแต่งตง้ั ใหท้ าหน้าที่ ส่งเสรมิ สนับสนุน การดาเนินกจิ กรรมของชมรมอาสายวุ กาชาด 4. คณะกรรมการและสมาชิกชมรมอาสายุวกาชาด มีหน้าที่ดาเนินกิจกรรมให้เป็นตามวัตถุประสงค์ของ กิจการยุวกาชาด เพ่อื ให้อาสายุวกาชาด 4.1 มอี ุดมคตใิ นศานตสิ ขุ มคี วามจงรักภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ 4.2 มีความรู้ ความชานาญในการรักษาอนามยั ของตนเองและของผู้อน่ื ตลอดจนการพัฒนาตนเอง ทางร่างกาย จติ ใจ คุณธรรม และธารงไวซ้ ึ่งเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติ 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและอุดมการณ์กาชาด มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจ เมตตากรุณาต่อเพ่ือนมนุษย์ 4.4 บาเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ืน่ ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ 4.5 มีจิตสานึกในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ เเวดล้อม 4.6 มสี มั พันธภาพและมติ รภาพท่ดี ตี อ่ บุคคลทว่ั ไป 5. คุณสมบตั ิ และการสมคั รเปน็ อาสายวุ กาชาด 5.1 เป็นผูเ้ รียนชาย-หญิง ทม่ี ีอายรุ ะหวา่ ง 15-30 ปี 5.2 มคี วามสนใจสมัครเป็นอาสายวุ กาชาด 5.3 เข้ารับการอบรมหลักสูตรพ้นื ฐานยุวกาชาด 5.4 การสมัครเข้าเป็นสมาชิกชมรมอาสายุวกาชาด ผู้สมัครต้องย่ืนใบสมัครเข้าเป็นอาสา ยุวกาชาด (แบบอาสายวุ . 2) ตอ่ ทปี่ รึกษาชมรมอาสายวุ กาชาดท่ีตน้ สังกดั 6. การขอจดั ตั้งชมรมอาสายวุ กาชาด 6.1 ประธานกรรมการท่ีปรึกษาชมรมอาสายุวกาชาด (ผู้บริหารสถานศึกษา) ย่ืนคาร้อง การขอจัดตั้งชมรมฯ (แบบอาสายุว. 1) พร้อมสาเนาใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกอาสายุวกาชาด (แบบอาสายุว. 2) ต่อสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เลขท่ี 1871 อาคารเฉลิม บูรณะนนท์ ชั้น 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่ เขตปทมุ วัน กรงุ เทพฯ 10330 6.2 สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยจะมอบหนังสือสาคัญการจัดตั้งชมรมอาสายุวกาชาด (แบบอาสายุว. 3) พร้อมเคร่ืองหมายอาสายุวกาชาดสาหรับคณะกรรมการชมรมอาสายุวกาชาด และให้ติดตั้ง ป้ายชอ่ื ชมรมอาสายวุ กาชาดน้ันๆ ไวใ้ นสถานทที่ สี่ ามารถเหน็ ได้อยา่ งชดั เจน หมายเหตุ ตวั อยา่ งแบบอาสายวุ . 1, แบบอาสายุว. 2 และแบบอาสายุว. 3 แนบท้ายในภาคผนวก 12

ตอนที่ 3 กำรจัดค่ำยอบรมอำสำยุวกำชำด หน่วยงาน สถานศึกษาหรือคณะบุคคล ผู้ดาเนินการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด เม่ือขอจัดตั้งชมรมฯ เรียบร้อยแล้ว คณะกรรมการท่ีปรึกษาชมรมฯ ประชุมหารือวางแผนจัดโครงการอบรม ควรจะมีกลุ่มเป้ำหมำย เข้ำรับกำรอบรม อย่ำงน้อย 40 คน และไม่เกิน 80 คน ซ่ึงเป็นผู้เรียนของสานักงาน กศน. อายุระหวา่ ง 15-30 ปี ทงั้ เพศชายและหญงิ โดยดาเนนิ การแบง่ เป็น 3 ระยะ ดงั น้ี ระยะท่ี 1 การดาเนนิ การก่อนจดั คา่ ยอบรมอาสายุวกาชาด ระยะท่ี 2 การดาเนินการระหวา่ งจัดคา่ ยอบรมอาสายุวกาชาด ระยะท่ี 3 การดาเนินการหลงั เสรจ็ ส้ินคา่ ยอบรมอาสายุวกาชาด กำรดำเนนิ กำรก่อนจดั คำ่ ยอบรมอำสำยุวกำชำด 1. เขียนโครงกำร เสนอผู้มีอานาจอนุมัติ โดยระบุเหตุผลความจาเป็น ความต้องการจัดการอบรม อาจเป็น นโยบายของหน่วยงาน สถานศกึ ษา หรือความต้องการของชมุ ชน ท่ีจะให้ผู้เรียนในสถานศึกษาน้ัน ไดใ้ ช้กิจกรรม ยุวกาชาดปลูกฝัง กล่อมเกลาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าความสาคัญของตนเอง เพ่ือจะเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนา ชุมชนนั้นๆ มีรายละเอียดของโครงการ ซ่ึงประกอบด้วย วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา การอบรม สถานที่อบรม เนื้อหากิจกรรมในการอบรม วิธีดาเนินการ แหล่งวิทยากร งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ การประเมนิ ผล ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ กิจกรรมหรือโครงการตอ่ เนอ่ื งหลงั จากจัดอบรม 2. เตรียมรำยชือ่ คณะกรรมกำรฝกึ อบรม ประกอบดว้ ยบคุ คลซ่งึ ทาหนา้ ที่ ดังนี้ 2.1 ที่ปรกึ ษา 2.2 ผ้อู านวยการฝกึ อบรม 2.3 รองผอู้ านวยการฝึกอบรม 2.4 ฝ่ายวิชาการ-วดั ผลและประเมินผล 2.5 ฝ่ายกจิ กรรม-นันทนาการ 2.6 ฝ่ายสวัสดิการ-อาหาร 2.7 ฝา่ ยสถานที่-อุปกรณ์ 2.8 ฝ่ายเลขานกุ าร 2.9 ฝ่ายอ่นื ๆ 3. เสนอโครงกำรฝกึ อบรมและรำยช่อื คณะกรรมกำร เพื่อขออนุมตั ไิ ปยงั ผ้มู ีอานาจอนมุ ตั ิ กลา่ วคือ 3.1 สว่ นกลาง เสนอผ้บู ริหารต้นสังกัดตามลาดับ หรือผอู้ านวยการสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย 3.2 ส่วนภูมิภาค เสนอผูบ้ ริหารตน้ สังกดั ตามลาดับ หรือนายกยุวกาชาดจงั หวัด 4. ทำหนังสือขออนุญำตต้นสังกัด ของคณะกรรมการฝึกอบรม เพื่อขอความร่วมมือให้บุคลากรมาร่วม เปน็ คณะกรรมการ หรือวทิ ยากรฝกึ อบรม 13

5. กำรขอรบั สนับสนนุ เสนอโครงการฝกึ อบรมท่ีไดร้ ับการอนมุ ตั แิ ล้วไปยังแหล่งสนับสนุน เชน่ 5.1 หน่วยงานตน้ สงั กัด 5.2 ผู้อานวยการสานกั งานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย 5.3 นายกเหล่ากาชาดจังหวัด ก่ิงกาชาดอาเภอ สถานีกาชาด 5.4 พัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ 5.5 สมาคม องค์กรการกุศล สโมสร 5.6 ธนาคาร ห้างรา้ นในท้องถิ่น 5.7 ผมู้ ีจติ กุศล 5.8 อื่นๆ (ถา้ ม)ี 6. ทำหนงั สอื เชิญ หรอื แจ้งไปยังหนว่ ยงาน องค์กร หรอื บุคคลท่เี กีย่ วข้อง โดยแนบโครงการอบรม คาส่งั แต่งตง้ั คณะกรรมการฝกึ อบรม กาหนดวนั เวลา สถานท่ี ในกรณที ่ีมีการประชมุ ปรึกษาเพ่อื เตรียมงานก่อนการอบรม 7. ประชำสัมพันธ์โครงกำรอบรมไปยังสื่อมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ท้องถ่ิน เพ่ือเสนอข่าวการจัดอบรม ควรแจ้งวัตถุประสงค์การจัดอบรม กาหนดการ สถานท่ี ตลอดจนคาชี้แจง การรับสมัคร เพ่ือการเตรยี มตัวเขา้ ร่วมโครงการอบรม จัดทาปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ตามสถานท่ีต่างๆ เชน่ ด้านหน้า หนว่ ยงานที่จัด ทางเขา้ สถานที่จัดอบรม เป็นตน้ 8. จัดทำเอกสำรประกอบกำรอบรม สาหรับผู้เข้ารับการอบรมและคณะกรรมการฝึกอบรม โดยให้มี เนื้อหาสาระประกอบดว้ ย 8.1 คาแถลงสภากาชาดไทย 8.2 วัตถุประสงคย์ วุ กาชาด 8.3 คาปฏิญาณตนยวุ กาชาด 8.4 หลกั ปฏบิ ัติในการอย่คู ่ายพกั แรม 8.5 กาหนดเวลากจิ กรรมประจาวนั 8.6 สัญญาณนกหวีด 8.7 หนา้ ทีห่ นว่ ยบรกิ าร 8.8 หลักเกณฑ์การตัดสนิ การอบรม 8.9 แบบวัดผลผเู้ ขา้ รบั การอบรม 8.10 เพลงพิธีการ 8.11 เพลงประกอบบทเรยี น 8.12 เพลงเบ็ดเตล็ด 8.13 เน้ือหาวชิ าในการอบรม (พิจารณาตามความเหมาะสม) 9. จัดหำอุปกรณ์สำหรบั กำรอบรม อาจประสานงานกับสถานศึกษา หน่วยงาน องคก์ รต่างๆ ซึ่งอุปกรณ์ ท่ีจาเปน็ มดี ังตอ่ ไปน้ี 14

9.1 พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง สภานายิกาสภากาชาดไทย สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผู้อานวยการสภากาชาดไทย และพระฉายาลักษณ์ หรือ พระสาทิสลักษณ์ของจอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ผ้ใู ห้กาเนดิ กจิ การยุวกาชาดไทย (ถ้ามี) 9.2 รปู ภาพบุคคลสาคัญ เช่น นายองั รี ดูนังต์ ผู้ให้กาเนิดกาชาดสากล หรอื ภาพท่านผู้หญงิ เปลีย่ น ภาสกรวงษ์ ผู้ริเริ่มการกาชาดไทย เปน็ ต้น 9.3 ธงชาติ และธงยุวกาชาด อย่างละ 2 ผืน 9.4 ธงมาตรฐานใหญ่ 1 ผนื และธงมาตรฐานเล็ก เท่ากับจานวนหน่วยสีที่จัดอบรม 9.5 ผ้าผูกคอสี ป้ายชอ่ื เครอื่ งหมายหวั หน้าหนว่ ย เคร่อื งหมายรองหัวหน้าหน่วย เคร่อื งหมายบริการ 9.6 อุปกรณ์เคร่ืองเขียน และอุปกรณ์สาหรับปฏิบัติกิจกรรมยามว่าง เช่น กระดาษเทาขาว กระดาษฟลิปชาร์ท กระดาษโปสเตอร์ สีเมจิก ฯลฯ 9.7 อปุ กรณ์ไฟฟ้าแสงสวา่ ง เครอ่ื งเสียง และเครอื่ งโสตทัศนูปกรณ์ 9.8 อปุ กรณ์เครือ่ งนอน เครอ่ื งครัว และอุปกรณ์พัฒนาคา่ ย 10. กำรประชุมคณะกรรมกำรฝึกอบรม ควรเตรียมแผนงาน วาระการประชุมเพ่ือมอบหมายภารกิจ และหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบแก่คณะกรรมการฝกึ อบรม เตรียมพร้อมด้านเอกสารการประชมุ 11. ทำหนังสือเชิญประธำน แขกผู้มีเกียรติจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องร่วมพิธีการสาคัญในการอบรม เช่น พธิ ีเปิด-ปิดการอบรม กิจกรรมรอบกองไฟ ควรแจ้งกาหนดการ สถานท่ีให้ชดั เจน และติดต่อประสานงานอีกคร้ัง เพื่อให้แน่ใจวา่ บุคคลทเี่ ชิญเปน็ ประธานน้นั สามารถมารว่ มพธิ ีสาคัญดงั กล่าวไดห้ รอื ไม่ 12. เตรียมคำกล่ำวรำยงำน คากล่าวประธาน พิธีเปิด-ปิดการอบรม และของท่ีระลึก (ถ้ามี) ควรเตรียม ไว้ให้พรอ้ มเสรจ็ ก่อนถงึ วันจัดอบรม 13. จดั ทำปำ้ ยงำนอบรม เพ่อื ใชใ้ นหอ้ งประชุม โดยใชข้ อ้ ความดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี้ สำนกั งำนยวุ กำชำด สภำกำชำดไทย ร่วมกับ (รำยชื่อหน่วยงำน/สถำนศึกษำ) จัดกำรอบรมอำสำยุวกำชำดหลกั สูตรพ้ืนฐำนยุวกำชำด รนุ่ ท่ี ระหวำ่ งวนั ที่ ณ อำเภอ จงั หวดั กำรดำเนนิ กำรระหว่ำงจัดคำ่ ยอบรมอำสำยุวกำชำด การดาเนินการเฉพาะในส่วนน้ีจะเน้นการอานวยความสะดวกด้านต่างๆ ของผู้ทาหน้าที่เลขานุการ โครงการ ดังน้ี 15

1. ประชุมคณะกรรมกำร วิทยากรและผู้เกี่ยวข้องเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของ คณะกรรมการฝึกอบรม ผู้อานวยการฝึกอบรมเป็นประธานการประชุมกล่าวต้อนรับ แนะนาคณะผู้เข้าร่วม ประชุม คณะกรรมการฝึกอบรมฝ่ายต่างๆ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการอบรมคร้ังนี้ และมอบหมายผู้รับผิดชอบ กิจกรรมตา่ งๆ เชน่ 1.1 ผูร้ ับรายงานตวั 1.2 พิธีกรประจาวนั 1.3 วิทยากรประจาหนว่ ยสี 1.4 วทิ ยากรตรวจเย่ียม 1.5 วทิ ยากรนันทนาการ 1.6 วิทยากรฝึกระเบียบแถว และนากายบรหิ าร 1.7 วทิ ยากรประจาวิชาต่างๆ 1.8 วิทยากรกิจกรรมต่างๆ ตามตารางอบรม ควรมีการประชมุ วิทยากรทกุ วนั หลงั เสรจ็ ส้ินกิจกรรม ภาคบา่ ย คือ เวลา 17.00 น. โดยประมาณ 2. จัดสง่ิ ของเครอ่ื งใชแ้ ละอุปกรณ์ สาหรับใช้ดาเนินการระหว่างการอบรม 2.1 สงิ่ ของและอุปกรณ์ทตี่ ้องมอบให้ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมในการรบั รายงานตัวหรอื ปฐมนิเทศ คือ 2.1.1 ผา้ ผูกคอสี กาหนดสีตามวัน และจัดให้มีหน่วยสีละเทา่ ๆ กนั ประมาณสีละ 8-10 ผืน 2.1.2 ป้ายชอื่ ผ้เู ข้ารบั การอบรม 2.1.3 เครอื่ งหมายหวั หนา้ หน่วยสแี ละรองหัวหน้าหนว่ ยสี 2.1.4 เคร่ืองหมายบริการสาหรับมอบให้หน่วยสีท่ีทาหน้าท่ีบริการในแต่ละวันของการอบรม ควรจดั เตรยี มไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 20 อัน 2.1.5 เอกสารสาหรบั ผู้เข้ารบั การอบรมมอบให้กับทุกคนและเตรียมไวใ้ หส้ าหรับวิทยากรทุกคน 2.2 จดั สถานทีอ่ บรมและสถานที่ใชร้ ว่ มกัน 2.2.1 หอ้ งประชุมอบรม จัดห้องประชมุ สาหรับพิธกี าร คือ 1) ในพิธีเปดิ การอบรม จัดสถานทหี่ นา้ เวที ประกอบด้วย ธงชาติ ธงยุวกาชาด พระพทุ ธรูป โต๊ะหมู่บูชา พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว จดั ชุดรบั แขกสาหรับประธานและแขกผู้มีเกียรติ จัดเก้าอ้ีสาหรับคณะวิทยากรไว้ดา้ นหลังชุดรับแขก การจัดเก้าอ้ี ผู้เขา้ รบั การอบรมใหจ้ ัดเปน็ แถวตอนลกึ สาหรบั ให้ผู้เข้ารับการอบรมน่ังเปน็ หน่วยสี 2) ในพิธีปดิ การอบรม จดั สถานท่ีเช่นเดยี วกบั ในพธิ เี ปิดการอบรม 2.2.2 สถานทพ่ี ักสาหรับผเู้ ขา้ รับการอบรม ให้แยกชาย–หญิง พักเปน็ สัดส่วน หน่วยสีเดียวกัน ใหพ้ ักรวมกัน อาจพักในตัวอาคารหรือกางเตน็ ท์พกั แรม ใหพ้ จิ ารณาตามความเหมาะสม 2.2.3 สถานที่รับประทานอาหาร ในกรณีให้ประกอบอาหารเองควรจัดสถานท่ีให้เป็นสัดส่วน แยกตามหน่วยสี หากจัดอาหารให้ควรมีสถานที่รับประทานอาหารร่วมกันเป็นหน่วยสี และให้ตัวแทนหน่วยสี ดูแลรกั ษาภาชนะใส่อาหารให้สะอาดเรยี บร้อยและเป็นระเบยี บ 16

2.3 วุฒิบัตรสาหรับผู้สาเร็จการอบรม สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เป็นผู้ออกให้ ดังนั้น เลขานุการโครงการอบรม หรือผู้ได้รับมอบหมายจะต้องจัดพิมพ์ ชื่อ-นามสกุล เลขที่รุ่นของการอบรม ระยะเวลา อบรม โดยมีผู้อำนวยกำรฝึกอบรม ผู้อำนวยกำรหน่วยงำน สถำนศึกษำ นำยกยุวกำชำดจังหวัด หรือนำยก เหลำ่ กำชำดจังหวัด เป็นผลู้ งนามในวุฒิบัตร ตามความเหมาะสม 2.4 บอร์ดกจิ กรรม ให้มีรายช่อื คณะกรรมการฝึกอบรม ตารางการอบรม ตารางกิจกรรมประจาวัน ตารางคะแนนกิจกรรมประจาวัน คาปฏิญาณตนยุวกาชาด วัตถุประสงค์ของยุวกาชาดสากล ติดไว้ในสถานท่ี ทีผ่ ้เู ขา้ รบั การอบรมเห็นไดช้ ดั เจน 2.5 ป้ายชื่อวิทยากรผู้บรรยายวิชาหรือกิจกรรมในระหว่างการอบรม ควรจัดเตรียมให้พร้อมและ ติดต้ังหรือวางไวใ้ หเ้ หน็ ได้ชัดเจน 3. แบบวดั ผลและประเมนิ ผล 3.1 แบบวัดผล จัดทาแบบวัดผลโดยจัดรวมไว้ในเอกสารประกอบการอบรม หรือจะแยกไว้เพื่อใช้ วัดผลตามเกณฑท์ ี่กาหนดไว้ คือ การวดั ผลเป็นรายบุคคล และการวดั ผลระบบหน่วย 3.2 แบบประเมินผล จัดทาแบบประเมินผลโดยพิจารณ าตามความเหมาะสมหรือใช้ แบบการประเมินผลผู้เข้ารับการอบรม และรวบรวมผลการประเมิน รายงานผู้บังคับบัญชาตามลาดับ พร้อมท้ัง สง่ ไปยังสานกั งานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ภายใน 15 วัน หลงั เสร็จส้นิ การอบรม 4. เตรียมพร้อมด้ำนยำนพำหนะ เพื่ออานวยความสะดวกตลอดการอบรม รบั ส่งวิทยากรภายนอก และ ใช้ในกรณเี กิดเหตฉุ กุ เฉนิ 5. กำรบรหิ ำรงบประมำณ 5.1 การรับเงิน ท่ีได้มาจากการสนับสนุนของสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เหล่ากาชาด จังหวัด ผู้มีจิตศรัทธาบริจาค ผู้บังคับบัญชาและรายได้อ่ืนๆ ทั้งหมดต้องออกใบเสร็จทุกคร้ังท่ีได้รับเงิน โดยใช้ ใบเสร็จรับเงินในราชการของส่วนราชการระดับกรม กรณรี ับเงินสนับสนนุ จากสานกั งานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ใหอ้ อกใบเสรจ็ รับเงินในนาม “สานักงานยุวกาชาด” และส่งใบเสรจ็ รับเงินไปยังสำนักงำนยุวกำชำด สภำกำชำดไทย ภำยใน 15 วัน นับจำกวันออกใบเสร็จรบั เงิน และให้นาเงนิ สนบั สนุนฝากคลงั ทง้ั หมด โดยดาเนนิ การดังนี้ 5.1.1 กรณีส่วนราชการผูร้ ับเงินเป็นหน่วยงานเบกิ ให้เปิดบัญชีเงินฝากคลังสาหรับเงินที่ได้รับ การสนับสนุนเพียงหนงึ่ บญั ชี ชอื่ บัญชี “เงนิ สนบั สนนุ กิจกรรมอาสายวุ กาชาด” และให้จดั ทาทะเบียบคุม 5.1.2 กรณหี น่วยงานย่อยเปน็ ผูร้ ับเงินให้นาฝากในนามหน่วยงานผู้เบิกทต่ี นสังกดั 5.2 การรับ-จ่ายเงิน การเบิกเงินจากคลัง การนาเงินส่งคลัง และการเก็บรักษาเงินและหลักฐาน การจ่าย ให้ถือปฏบิ ัติตามระเบยี บการเบกิ จ่ายเงนิ จากคลงั การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงินส่งคลงั พ.ศ.2551 5.3 การจดั ซ้ือ-จัดจา้ ง ใหถ้ ือปฏิบัติตามระเบียบวา่ ดว้ ยการพัสดุของทางราชการ 5.4 การบญั ชีใหป้ ฏบิ ตั ิตามวิธกี ารบันทึกรายการบัญชีทกี่ รมบัญชกี ลางกาหนด 5.5 กรณีหนว่ ยงานย่อยเปน็ ผดู้ าเนนิ โครงการ เม่อื ไดม้ ีการใช้จา่ ยเงนิ ไปแลว้ ใหห้ น่วยงานย่อยจัดทา รายงานการรับ-จ่ายเงนิ สง่ ให้หน่วยงานผูเ้ บิกท่ีสังกดั พร้อมหลกั ฐานใบสาคญั ตน้ ฉบับ เพอ่ื ดาเนินการบันทึกบัญชีต่อไป 5.6 เม่ือดาเนินงานในแต่ละโครงการได้เสร็จส้ินลง ให้นาเงินที่เหลือจ่ายในแต่ละโครงการส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดนิ ประเภทรายไดเ้ บ็ดเตลด็ อนื่ 6. รวบรวมส่ิงของเครื่องใช้ เช่น ผ้าผูกคอสี เคร่ืองหมายต่างๆ เคร่ืองนอน เคร่ืองครัว เครื่องเขียน (ถ้ามี) คืนจากทกุ หน่วยสเี มอื่ เสรจ็ การอบรม (ก่อนพิธปี ิดการอบรม) 17

กำรดำเนนิ กำรหลังเสร็จส้ินคำ่ ยอบรมอำสำยุวกำชำด 1. นาส่ิงของและอุปกรณ์สง่ คืนหนว่ ยงานที่ให้ยืมใช้ระหว่างการอบรม 2. ทาหนังสอื ขอบคุณ บุคลากรและหนว่ ยงานท่ใี ห้การสนับสนนุ การจดั อบรม 3. รวบรวมหลักฐาน ใบสาคัญค่าใช้จ่ายเสนอผู้บริหารสถานศึกษา และหน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณ การจดั อบรม 4. ประชุมสรปุ ผลการอบรม และรายงานการอบรมไปยังหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง 5. รายงานผลการอบรม พรอ้ มภาพกิจกรรมไปยงั สานักงานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย และสานักงาน กศน. จงั หวดั /กทม. ภายใน 15 วนั หลังเสรจ็ สนิ้ การอบรม 6. รวบรวมเอกสารการอบรม ภาพกิจกรรมจัดทาเป็นรูปเล่มเพ่ือใช้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้า ควรมี ขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะของผู้จัดอบรม เพือ่ เปน็ ข้อมลู การจดั อบรมหรอื การจดั กจิ กรรมต่อเนื่องในครัง้ ต่อไป ลำดบั ขัน้ ตอนกำรจัดคำ่ ยอบรมอำสำยุวกำชำด กำรดำเนินกำร 1. เขยี นโครงการและดาเนนิ การขออนุมัติ ก่อน 2. ดาเนนิ การแต่งตัง้ คณะกรรมการฝกึ อบรม 3. ขอความร่วมมือไปยงั แหลง่ สนับสนนุ ต่างๆ กำรอบรม 4. ทาหนงั สือแจ้งไปยังหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง 5. ประชาสัมพนั ธโ์ ครงการฝกึ อบรม 6. จดั ทาเอกสารฝึกอบรม 7. จดั หาอุปกรณ์สาหรับการฝึกอบรม 8. ประชมุ คณะกรรมการฝึกอบรม 9. ทาหนงั สือเชญิ ต่างๆ 10. จดั ทาคากลา่ วพิธเี ปิด-ปิดการฝกึ อบรม 11. เตรียมสถานที่ ป้ายงาน นิทรรศการ ฯลฯ 18

กำรดำเนนิ กำร 1. ประชุมคณะกรรมการฝึกอบรม ระหวำ่ ง 2. ความพร้อมด้านส่ิงของ เคร่ืองใช้และ กำรอบรม อปุ กรณ์ กำรดำเนินกำร 3. ความพร้อมด้านสถานท่ีอบรม ที่พัก และ หลังเสร็จส้ิน กำรอบรม สถานที่ใช้รว่ มกัน 4. ความพร้อมด้านอาหาร นา้ ดื่ม สวสั ดกิ าร 5. ความพร้อมด้านยานพาหนะอานวย ความสะดวก 6. การวดั ผลและประเมินผล 7. จัดเตรียมวฒุ บิ ตั ร 8. บริหารงบประมาณ 1. นาอุปกรณส์ ่ิงของส่งคนื 2. ทาหนังสือขอบคุณ 3. รวบรวมหลกั ฐาน ใบสาคัญค่าใช้จา่ ย 4. สรุปประเมินผลการอบรมและรายงาน 5. รวบรวมเอกสาร จดั ทาเปน็ รูปเล่ม เพ่ือการศึกษาปรับปรงุ และพัฒนาครั้งต่อไป 19

ตัวอย่ำง โครงกำรอบรมอำสำยวุ กำชำดหลักสตู รพื้นฐำนยุวกำชำด 1.ชื่อโครงกำร โครงการฝกึ อบรมอาสายุวกาชาดหลกั สูตรพน้ื ฐานยุวกาชาด 2.หลักกำรและเหตผุ ล กิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนของสานักงาน กศน. อายุ 15-30 ปี ให้มีโอกาสพฒั นาคุณภาพชีวิตของตนทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะ ในด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านการปลูกฝังให้เป็นผู้เสียสละ ทาตนให้เป็นประโยชน์ มีระเบียบวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ สามารถทางานและอยู่ร่วมกันผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข นอกจากน้ีกิจกรรมอาสายุวกาชาดยังสอดคล้องกับกิจกรรม..................... .......................................จึงควรมีโอกาสให้ผู้เรียนของสานกั งาน กศน. ในความรับผดิ ชอบ ได้รับการปลูกฝังอุดมการณ์กาชาดและยุวกาชาด อุทิศตนเพ่ือประโยชน์ต่อสังคม การดารงชวี ติ และเป็นทพ่ี ่ึงพาของชมุ ชนในโอกาสต่อไป (ชื่อหน่วยงานท่ีจัด...................................) เห็นความสาคัญและประโยชน์ ของกิจกรรมอาสายุวกาชาดเป็นอย่างดียิ่ง จึงจัดโครงการอบรมอาสายุวกาชาด หลักสูตรพืน้ ฐานยุวกาชาดข้นึ เพ่อื ส่งเสริมให้ผู้เรยี นของสานักงาน กศน. เป็นคนดี คนเก่ง มีความรอบรู้ มีสุขภาพดีและเป็นที่พึ่งพาของชุมชน รวมทั้งสามารถสร้างสรรค์กิจกรรม อันก่อให้เกิดประโยชน์แกต่ นเองและผ้อู นื่ ไดอ้ ีกด้วย 3.วตั ถปุ ระสงค์ 3.1 เป็นการเผยแพรอ่ ุดมการณข์ องกาชาดและยุวกาชาด 3.2 ให้ผู้เรียนของสานักงาน กศน. มีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองการกาชาดและ ยวุ กาชาด ตลอดจนการดารงชีวติ ทง้ั ในปจั จบุ ันและอนาคต 3.3 เพื่อเสริมสร้างความศรทั ธาและเจตคตทิ ด่ี ีต่อกิจการกาชาดและยุวกาชาด 3.4 เพื่อให้ผู้เรียนของสานักงาน กศน. ตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ รู้จัก การเสยี สละและพรอ้ มที่จะชว่ ยเหลือสงั คมสว่ นรวม 20

4.เปำ้ หมำย 4.1 เชงิ ปรมิ ำณ ผู้เรียนของสานักงาน กศน. อายุ 15-30 ปี ในจังหวดั ............................เขา้ รับ การอบรม จานวน............................คน 4.2 เชงิ คุณภำพ ผู้เรียนของสานักงาน กศน. ที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจใน อุดมการณ์ของกาชาดและยวุ กาชาด ทั้งสามารถนาความรู้และประสบการณท์ ่ีไดร้ บั ไปใช้ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อตนเอง ครอบครวั และสงั คมได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 5.ระยะเวลำกำรฝกึ อบรม ระหว่างวนั ท่ี ...................เดือน........................พ.ศ................ 6.สถำนทฝี่ ึกอบรม ณ...................................................................................... ................ อาเภอ........................................จงั หวดั ............................................ 7.วธิ ดี ำเนินกำร 7.1 เสนอและขออนุมตั ิโครงการ 7.2 ประสานงานสานกั งานยุวกาชาด สภากาชาดไทย 7.3 ประสานงานสานักงานเหลา่ กาชาดจังหวัด 7.4 ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านสถานท่ี วิทยากร และอุปกรณ์ ฝึกอบรม ฯลฯ 7.5 จดั เตรยี มสถานท่ีฝกึ อบรม 7.6 ดาเนินการฝึกอบรมแบบอยูค่ ่ายพกั แรม/คา่ ยกลางวนั 7.7 สรุปและรายงานผลการฝกึ อบรม 8. งบประมำณ 8.1 ขอรบั การสนับสนนุ จากสภากาชาดไทย จานวน..............................บาท 8.2 ขอรบั งบประมาณสนบั สนนุ จาก เหล่ากาชาดจงั หวดั จานวน..............................บาท 21

8.3 ขอรับงบประมาณสนบั สนุนจากแหลง่ อน่ื ๆ ..............................................บาท (ให้ระบแุ หล่งทมี่ าของงบประมาณ และจานวนงบประมาณในแต่ละแหลง่ ที่มา) ประมาณการค่าใชจ้ า่ ย 1) ค่าวสั ดุฝึกอบรม เปน็ เงนิ ....................................บาท 2) คา่ ตอบแทนวิทยากร เป็นเงนิ ....................................บาท 3) คา่ นา้ มันเชอื้ เพลงิ เปน็ เงนิ ....................................บาท 4) คา่ อาหารเจา้ หนา้ ท/่ี วิทยากร ผู้เขา้ รบั การอบรม (.....คน/.....บาท/.....ม้ือ) เป็นเงิน....................................บาท 5) คา่ เครือ่ งดื่มเจ้าหนา้ ท่ี วิทยากร ผเู้ ขา้ รบั การอบรม (.....คน/.....บาท/.....มื้อ) เปน็ เงนิ ....................................บาท 6) คา่ ใชจ้ า่ ยเบ็ดเตลด็ เป็นเงนิ ....................................บาท รวม เปน็ เงนิ ....................................บำท (ขอถวั จ่ายทุกรายการทจ่ี าเป็นและจา่ ยจรงิ ) 9. หน่วยงำนรับผดิ ชอบโครงกำร (หนว่ ยงานทีจ่ ดั /ผจู้ ดั โครงการ/เลขาโครงการ) 10. หน่วยงำนสนับสนนุ 10.1 สานักงานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย 10.2 สานักงานเหลา่ กาชาดจงั หวัด 10.3 อ่ืนๆ 11. กำรประเมนิ ผล 11.1 สงั เกตพฤติกรรม 11.2 จากการทดสอบ 11.3 จากแบบประเมินผล 22

12. ผลทีค่ ำดว่ำจะได้รบั 12.1 อาสายุวกาชาดมีความศรัทธาต่อกิจการกาชาดและเข้าร่วมกิจกรรม อยา่ งต่อเนอ่ื ง 12.2 อาสายุวกาชาดได้มีโอกาสพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองตามอุดมการณ์ ของกาชาด 12.3 อาสายุวกาชาดได้รับความรู้และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเอง ชมุ ชนและประเทศชาติไดม้ ากขนึ้ ผเู้ สนอโครงการ ผ้อู นมุ ัตโิ ครงการ (....................................................) (....................................................) ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาท่จี ดั อบรม หลกั สตู รกำรจัดคำ่ ยอบรมอำสำยวุ กำชำด มี 2 หลักสตู ร ดังนี้ 1. หลักสตู รพ้ืนฐานยุวกาชาด 2. หลักสตู รเฉพาะทาง หลกั สตู รพื้นฐำนยวุ กำชำด การจัดอบรมค่ายอาสายุวกาชาดหลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด จัดตามวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ยุวกาชาดซึง่ มี 6 ประการ คือ เพ่อื ฝึกอบรมให้ผ้เู รยี นของสานักงาน กศน. ดงั นี้ 1. มีอดุ มคตใิ นศานตสิ ุขมีความจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ 2. มีความรู้ ความชานาญ ในการรักษาอนามยั ของตนเองและของผู้อ่นื ตลอดจนการพัฒนาตนเอง ทางรา่ งกาย จิตใจ คุณธรรม และธารงไว้ซ่ึงเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมของชาติ 3. มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการและอุดมการณ์กาชาด มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจ เมตตา กรณุ าตอ่ เพ่ือนมนุษย์ 4. บาเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชนต์ ่อผ้อู ืน่ ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ 5. มีจติ สานกึ ในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม 6. มีสมั พันธภาพ และมีมิตรภาพท่ดี กี บั บุคคลท่ัวไป หลักสตู รพื้นฐานยุวกาชาด มีตารางการอบรม 6 แบบ ผู้ดาเนินการจดั อบรมอาสายวุ กาชาด สามารถเลอื ก ตารางการอบรมให้เหมาะสมกับความพร้อมของสถานศึกษา สามารถดูรายละเอียดได้จาก คู่มือวิทยากร ยุวกาชาด สาหรับการอบรมอาสายุวกาชาดหลักสูตรพ้ืนฐานยุวกาชาด (เอกสารหมายเลข 32 ฝ่ายวิชาการ) ของสานกั งานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย (http://thaircy.redcross.or.th/) 23

แบบที่ 1 ตำรำงกำรอบรมอำสำยวุ กำชำด หลกั สตู รพ้ืนฐำนยุวกำชำด แบบคำ่ ยกลำงวัน 2 วัน เวลำ 10.30-12.00 น. 12.00- 13.30-15.00 น. 15.00-16.30 น. วัน 08.00-10.30 น. 13.30 น. วันท่ี 1 ลงทะเบียน/ รอบโลกกับกาชาด กาชาดไทย บทบาทหนา้ ท่ขี อง วันที่ 2 ปฐมนิเทศ/ขอ้ ตกลง และกฎหมาย และยวุ กาชาด อาสายวุ กาชาดและ ในการอยูร่ ว่ มกัน/ การบรกิ ารชุมชน พิธีเปิด/กลุ่มสมั พนั ธ์/ มนุษยธรรมระหว่าง ประเทศ ทดสอบขน้ั ตน้ รับประทาน 08.00–09.00 น. 09.00-12.00 น. อาหาร 13.30-16.00 น. 16.00-16.30 น. กลางวัน การปฐมพยาบาล 13.00 น. การปฐมพยาบาล ทดสอบขั้นปลาย/ กจิ กรรม 1. การเป็นลม การชกั ประเมินผล/พิธปี ิด 1. หลกั การปฐมพยาบาล 2. การปฏบิ ัตกิ ารช่วยชวี ติ นนั ทนาการ ข้นั พน้ื ฐานในผ้ใู หญ่ 08.00 น. การประเมินผู้บาดเจ็บ 3. การสาลกั ในผ้ใู หญ่ พิธหี นา้ เสาธง และการจดั ท่านอน 08.30 น. ทป่ี ลอดภัย กจิ กรรม 2. แผลไหม้ นนั ทนาการ 3. บาดแผลชนิดตา่ งๆ 4. บาดแผลถกู สตั ว์กดั 5. ขอ้ เคลด็ กระดูกหัก 24

แบบท่ี 2 ตำรำงกำรอบรมอำสำยุวกำชำด หลกั สตู รพืน้ ฐำนยุวกำชำด แบบคำ่ ยกลำงวัน 3 วัน เวลำ 08.00-10.30 น. 10.30-12.00 น. 12.00- 13.30-15.00 น. 15.00-16.30 น. วัน 13.30 น. วนั ที่ 1 ลงทะเบยี น/ รอบโลกกับกาชาด กาชาดไทย บทบาทหน้าที่ของ ปฐมนเิ ทศ/ขอ้ ตกลง และกฎหมาย รับประทาน และยุวกาชาด อาสายวุ กาชาดและ วนั ที่ 2 ในการอยูร่ ว่ มกนั / อาหาร การบริการชมุ ชน พิธเี ปดิ /กลมุ่ สมั พันธ์/ มนษุ ยธรรมระหว่าง กลางวนั วันที่ 3 ประเทศ 13.00 น. ทดสอบขน้ั ตน้ กจิ กรรม 08.00–09.00 น. 09.00-12.00 น. นนั ทนาการ 13.30-16.30 น. การปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาล (เช่นเดยี วกับแบบคา่ ยกลางวัน 2 วนั ) 08.00 น. (เชน่ เดียวกับ 13.30-16.00 น. 16.00-16.30 น. พิธีหน้าเสาธง แบบคา่ ยกลางวัน 2 วัน) การพฒั นาคุณภาพชวี ิต ทดสอบขนั้ ปลาย/ 08.30 น. (ตามหมายเหตดุ า้ นล่าง) ประเมินผล/พธิ ปี ิด กิจกรรม การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ นนั ทนาการ (ตามหมายเหตดุ ้านลา่ ง) หมำยเหตุ ในวันท่ี 3 ของการอบรม สามารถเลอื กจดั ความร/ู้ ฝกึ ปฏบิ ัติ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ โดยให้คานึงถึง ความเหมาะสมของทอ้ งถิน่ และแหล่งวิทยากร ดงั น้ี 1. การดแู ลผสู้ งู อายุ 2. การป้องกันชวี ิตและสุขภาพ : ความรู้เพ่อื ชีวิต (Fact for lift) 3. การเตรยี มความพรอ้ มรบั ภยั พิบัติ 25

แบบที่ 3 ตำรำงกำรอบรมอำสำยวุ กำชำด หลกั สูตรพืน้ ฐำนยุวกำชำด แบบคำ่ ยกลำงวนั 4 วัน เวลำ 08.00–10.30 น. 10.30-12.00 น. 12.00- 13.30-15.00 น. 15.00-16.30 น. วนั 13.30 น. วนั ที่ 1 ลงทะเบยี น/ รอบโลกกบั กาชาด กาชาดไทย บทบาทหนา้ ที่ของ ปฐมนิเทศ/ข้อตกลง และกฎหมาย รับประทาน และยวุ กาชาด อาสายวุ กาชาดและ วนั ท่ี 2 ในการอย่รู ่วมกนั / อาหาร การบริการชมุ ชน วนั ท่ี 3 พิธีเปิด/กลุ่มสมั พนั ธ์/ มนุษยธรรมระหวา่ ง กลางวนั วนั ท่ี 4 ประเทศ 13.00 น. ทดสอบข้นั ต้น กจิ กรรม 08.00–09.00 น. 09.00-12.00 น. นันทนาการ 13.30-16.30 น. การปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาล (เช่นเดยี วกับแบบค่ายกลางวนั 2 วัน) (เช่นเดยี วกบั 08.00 น. แบบคา่ ยกลางวัน 2 วนั ) พธิ หี นา้ เสาธง การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ การพัฒนาคุณภาพชวี ิต 08.30 น. (ตามหมายเหตดุ า้ นล่าง) (ตามหมายเหตดุ ้านล่าง) กจิ กรรม 13.30-16.00 น. 16.00-16.30 น. นนั ทนาการ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต การพัฒนาคุณภาพชวี ิต ทดสอบขน้ั ปลาย/ (ตามหมายเหตดุ า้ นล่าง) (ตามหมายเหตดุ ้านล่าง) ประเมนิ ผล/พิธปี ิด หมำยเหตุ ในวันที่ 3 และที่ 4 ของการอบรม สามารถเลือกจดั ความร/ู้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตโดยให้คานึงถงึ ความเหมาะสมของท้องถน่ิ และแหล่งวทิ ยากร ดังนี้ 1. การดูแลผสู้ ูงอายุ 2. การปอ้ งกนั ชีวิตและสุขภาพ : ความร้เู พื่อชีวติ (Fact for lift) 3. การเตรยี มความพร้อมรับภยั พบิ ัติ 26

แบบท่ี 4 ตำรำงกำรอบรมอำสำยวุ กำชำด หลกั สตู รพ้นื ฐำนยวุ กำชำด แบบคำ่ ยพักแรม 2 วนั 1 คืน เวลำ 10.30-12.00 น. 12.00- 13.30- 15.00-16.30 น. 16.30- 19.30- 08.00–10.30 น. 13.30 น. 15.00 น. 19.00 น. 21.00 น. วัน ลงทะเบยี น/ บทบาทหนา้ ท่ี รบั ประทาน ของ อาหารเย็น พธิ ีต้อนรบั ปฐมนิเทศ/ขอ้ ตกลง รอบโลกกับกาชาด 19.00 น. และ อาสายวุ กาชาด กิจกรรม กลมุ่ สมั พนั ธ์ วนั ท่ี 1 ในการอย่รู ว่ มกนั / และกฎหมาย กาชาดไทย และ นันทนาการ พิธีเปดิ / มนุษยธรรมระหว่าง และยวุ กาชาด การบริการ กลุ่มสมั พนั ธ์/ ประเทศ ชมุ ชน ทดสอบขั้นต้น 05.30– 09.00-12.00 น. รบั 13.30-16.00 น. 16.00- 09.00 น. 16.30 น. 05.30 น. ประทาน กายบรหิ ารและ อาหาร ฝกึ ระเบียบแถว/ การปฐมพยาบาล กลางวัน ภารกจิ ส่วนตวั 1. หลักการปฐมพยาบาล การประเมนิ ผู้บาดเจ็บ 13.00 น. การปฐมพยาบาล 07.00 น. และการจัดทา่ นอน รบั ประทาน ทปี่ ลอดภัย กจิ กรรม 1. การเปน็ ลมการชัก อาหารเชา้ 2. แผลไหม้ วนั ที่ 2 07.30 น. 3. บาดแผลชนดิ ตา่ งๆ นันทนาการ 2. การปฏิบัตกิ าร ทดสอบ การตรวจเยี่ยม 4. บาดแผลถูกสตั ว์กดั 08.00 น. 5. ข้อเคลด็ กระดกู หัก ชว่ ยชวี ิตขน้ั พ้ืนฐาน ขนั้ ปลาย/ พธิ ีหนา้ เสาธง 08.30 น. ในผใู้ หญ่ ประเมนิ ผล/ 3. การสาลกั ใน พิธปี ิด ผใู้ หญ่ กจิ กรรม นนั ทนาการ 27

แบบท่ี 5 ตำรำงกำรอบรมอำสำยวุ กำชำด หลกั สูตรพน้ื ฐำนยุวกำชำด แบบค่ำยพักแรม 3 วนั 2 คืน เวลำ 10.30-12.00 น. 12.00- 13.30- 15.00-16.30 น. 16.30- 19.30- 08.00–10.30 น. 13.30 น. 15.00 น. 19.00 น. 21.00 น. วัน ลงทะเบยี น/ บทบาทหนา้ ท่ี ปฐมนเิ ทศ/ข้อตกลง รอบโลกกับกาชาด ของ พธิ ตี ้อนรบั และกฎหมาย อาสายวุ กาชาด วนั ที่ 1 ในการอย่รู ่วมกัน/ กาชาดไทย และ พิธเี ปิด/ มนุษยธรรมระหว่าง และยวุ กาชาด และ ประเทศ การบรกิ าร รบั ประทาน กล่มุ สมั พันธ์ กลมุ่ สมั พันธ์/ 09.00-12.00 น. ชมุ ชน อาหารเยน็ ทดสอบขน้ั ต้น การปฐมพยาบาล 19.00 น. 05.30–09.00 น. (เชน่ เดยี วกับ 13.30-16.30 น. แบบคา่ ยพกั แรม กจิ กรรม 05.30 น. 2 วนั 1 คืน) รับ การปฐมพยาบาล นันทนาการ การแสดง กายบรหิ ารและ ประทาน (เช่นเดียวกับ เงยี บหรือ วนั ท่ี 2 ฝกึ ระเบยี บแถว/ อาหาร ภารกิจสว่ นตัว กลางวนั แบบคา่ ยพกั แรม 2 วนั 1 คนื ) การแสดง 13.00 น. 07.00 น. กจิ กรรม รอบกองไฟ รับประทาน นนั ทนาการ อาหารเช้า 13.30-16.00 น. 16.00- 16.30 น. 07.30 น. วนั ที่ 3 การตรวจเยีย่ ม การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ การพฒั นา ทดสอบ 08.00 น. (ตามหมายเหตดุ ้านล่าง) คณุ ภาพชวี ิต ขั้นปลาย/ (ตามหมายเหตุ ประเมนิ ผล/ พิธหี น้าเสาธง ด้านลา่ ง) พิธีปดิ 08.30 น. กิจกรรม นนั ทนาการ หมำยเหตุ ในวนั ท่ี 3 ของการอบรม สามารถเลือกจดั ความร/ู้ ฝกึ ปฏิบัติ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ โดยใหค้ านงึ ถึง ความเหมาะสมของท้องถ่ิน และแหล่งวทิ ยากร ดงั น้ี 1. การดแู ลผสู้ ูงอายุ 2. การปอ้ งกันชีวิตและสขุ ภาพ : ความรู้เพ่ือชวี ติ (Fact for lift) 3. การเตรียมความพร้อมรับภยั พิบตั ิ 28

แบบที่ 6 ตำรำงกำรอบรมอำสำยวุ กำชำด หลักสูตรพื้นฐำนยวุ กำชำด แบบค่ำยพกั แรม 4 วัน 3 คนื เวลำ 12.00- 13.30- 15.00- 16.30- 19.30- 08.00–10.30 น. 10.30-12.00 น. 13.30 น. 15.00 น. 16.30 น. 19.00 น. 21.00 น. วัน ลงทะเบยี น/ บทบาทหน้าที่ ปฐมนเิ ทศ/ขอ้ ตกลง รอบโลกกบั กาชาด ของ พธิ ตี อ้ นรับ อาสายุวกาชาด และ วันที่ 1 ในการอยู่ร่วมกัน/ และกฎหมาย กาชาดไทย และการบรกิ าร พธิ เี ปดิ / มนษุ ยธรรมระหว่าง และยุวกาชาด กลมุ่ สมั พนั ธ์ กลุ่มสมั พนั ธ์/ ประเทศ ชุมชน รับประทาน ทดสอบขน้ั ต้น 05.30–09.00 น. 09.00-12.00 น. 13.30-16.30 น. อาหารเย็น ฝึกปฏิบัติ 19.00 น. ปฐม วันท่ี 2 05.30 น. การปฐมพยาบาล รบั การปฐมพยาบาล (เช่นเดียวกบั กิจกรรม กายบรหิ ารและ (เช่นเดยี วกบั แบบคา่ ย ประทาน แบบคา่ ยพักแรม 2 วนั 1 คืน) นนั ทนาการ พยาบาล อาหาร ฝกึ ระเบยี บแถว พักแรม 2 วนั 1 คนื ) /ภารกจิ ส่วนตัว กลางวนั 13.30-15.00 น. 15.00-16.30 น. การแสดง เงียบหรอื 07.00 น. การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 13.00 น. การพฒั นา การแสดง รบั ประทาน (ตามหมายเหตดุ ้านลา่ ง) รอบกองไฟ วนั ที่ 3 อาหารเช้า กจิ กรรม คณุ ภาพชีวิต RCY Game นันทนาการ (ตามหมายเหตุ 07.30 น. ด้านล่าง) การตรวจเย่ยี ม 13.30-16.00 น. 16.00-16.30 น. 08.00 น. การพฒั นา ทดสอบขั้นปลาย/ คุณภาพชีวิต ประเมนิ ผล / วันที่ 4 พิธีหน้าเสาธง การพัฒนาคุณภาพชีวิต (ตามหมายเหตุ พิธรี ับผา้ ผกู คอ 08.30 น. (ตามหมายเหตดุ ้านล่าง) ด้านล่าง) พระราชทานฯ/ พธิ ปี ดิ กิจกรรม นันทนาการ หมำยเหตุ ในวันที่ 3 และท่ี 4 ของการอบรม สามารถเลือกจดั ความร/ู้ ฝึกปฏิบตั ิ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิต โดยใหค้ านงึ ถึงความ เหมาะสมของทอ้ งถนิ่ และแหล่งวทิ ยากร ดังนี้ 1. การดูแลผสู้ งู อายุ 2. การป้องกนั ชีวิตและสขุ ภาพ : ความรู้เพอ่ื ชีวิต (Fact for lift) 3. การเตรยี มความพร้อมรบั ภยั พิบตั ิ 29

หลักสูตรเฉพำะทำง สาหรบั ผู้เรยี นของสานักงาน กศน. สถานศึกษาท่ีจะจัดอบรมหลักสูตรเฉพาะทางให้กับอาสายุวกาชาด ควรให้อาสายุวกาชาดได้ผ่าน การอบรมหลักสตู รพ้ืนฐานยวุ กาชาดกอ่ น โดยมีหลักสูตรเฉพาะทาง 5 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลกั สูตร กำรปฐมพยำบำล วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้อาสายุวกาชาดตระหนักถึงความสาคญั ของการปฐมพยาบาล 2. เพื่อให้อาสายุวกาชาดมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี ตลอดจนสามารถนาความรู้ไปใช้ไปปฏิบัติ ในการชว่ ยเหลือตนเอง และผู้อ่นื ได้ ตำรำงกำรอบรมอำสำยุวกำชำด หลักสตู รอบรมอำสำยุวกำชำดเรอื่ งกำรปฐมพยำบำล เวลำ 08.00- 09.00-12.00 น. 12.00- 13.30-16.30 น. 16.30- 19.30- วนั 09.00 น. 13.30 น. 19.00 น. 21.00 น. วันที่ 1 ลงทะเบียน/ ระบบสาคญั ของร่างกาย/ วันที่ 2 ปฐมนิเทศ/ กลุม่ สมั พันธ์/ หลกั การปฐมพยาบาล/ บาดแผล/แผลใหม่/การหา้ มเลือด/ รบั พธิ ีต้อนรบั วันที่ 3 /พิธเี ปดิ การประเมนิ อาการ การใชผ้ ้าพันคอและการป้องกนั ประทาน และ อาหารเย็น 08.00 น. ผบู้ าดเจ็บ/ภาวะหมดสติ ภาวะชอ็ กจากการเสียเลือด กลุ่มสมั พันธ์ พธิ หี นา้ เสาธง และการจัด 08.30 น. ท่านอนทปี่ ลอดภัย รบั 19.00 น. กจิ กรรม ประทาน นนั ทนาการ การปฏบิ ตั ิการชว่ ยชีวติ อาหาร การปฏบิ ัตกิ ารชว่ ยชีวติ ขั้นพืน้ ฐาน กิจกรรม ทบทวน พืน้ ฐานและการสาลกั กลางวนั และการสาลักในเดก็ ทารก นนั ทนาการ ความรเู้ รอ่ื ง 13.00 น. ในผู้ใหญ่ กาชาด กิจกรรม 13.30-15.00 น. 15.00-16.30 น. นนั ทนาการ การเปน็ ลม ทดสอบ ภาคปฏบิ ตั ิ การบาดเจบ็ ของกระดูก ชอ็ กชกั / รายบุคคล/ ประเมนิ ผล/ และข้อ/การเคลือ่ นย้าย สง่ิ แปลกปลอม มอบวุฒบิ ัตร/ ผ้บู าดเจบ็ เข้าสรู่ ่างกาย/ พธิ ปี ิด พิษจากสตั ว์ 30

2. หลักสตู ร กำรดูแลผู้สงู อำยุ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ให้อาสายุวกาชาดมคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการเปลี่ยนแปลงของผสู้ งู อายุทั้งทางร่างกาย จติ ใจ และสังคม 2. เพื่อใหอ้ าสายวุ กาชาดไดฝ้ กึ ทักษะการดูแลผู้สูงอายุ ตำรำงกำรฝึกอบรมอำสำยุวกำชำด หลักสตู รกำรดูแลผ้สู ูงอำยุ (T4V) (ยุวกำชำด) เวลำ 08.00 – 09.00-10.30 น. 10.30-12.00 น. 12.00- 13.30-15.00 น. 15.00-16.30 น. วนั 09.00 น. 13.30 น. วนั ที่ 1 ลงทะเบียน/ บทบาทของ การส่งเสรมิ สขุ ภาพ รับ อาหารและโภชนา การออกกาลงั กาย วนั ท่ี 2 ปฐมนเิ ทศ/ สภาการชาดไทย ของผูส้ งู อายุ ประทาน กลุ่มสมั พนั ธ์/ กบั การพฒั นา อาหาร - อารมณ์/อุบตั ิเหตุ/ พิธีเปิด คณุ ภาพชวี ิต อดเิ รก/อนามัย/ ผูส้ ูงอายุและการอยู่ อุจจาระ/อากาศ กลุ่มสมั พันธ์/ นันทนาการ รว่ มกบั ผสู้ ูงอายุ 09.00--12.00 น. กลางวนั 13.30-15.30 น. 15.30- 13.00 น. 16.30 น. - การปฐมพยาบาล กิจกรรม (การห้ามเลือด ประเมินผล/ มอบวฒุ บิ ัตร/ นันทนาการ การเข้าเฝือก การสาลัก)/ การวัดสญั ญาณชพี พธิ ปี ดิ ทกั ษะพื้นฐานในการดูแลผู้สงู อายุ และการใช้ยา 31

3. หลกั สตู ร กำรเตรียมพร้อมรับภยั พิบตั ิ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้อาสายุวกาชาดมีทักษะการดูแลสุขภาพอนามัย รู้จักโรคที่มาจากภัยพิบัติ และรู้จักวิธีป้องกัน เมื่อเกิดภัยพิบตั ิ 2. เพือ่ ให้อาสายวุ กาชาดสามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ ตำรำงกำรฝึกอบรมอำสำยุวกำชำด หลักสตู รกำรเตรยี มควำมพร้อมรบั ภัยพิบัติ เวลำ 08.00 – 09.00-10.30 น. 10.30-12.00 น. 12.00- 13.30-15.30 น. 15.30-17.00 น. วนั 09.00 น. 13.30 น. กาชาดกับ งานภยั พิบตั ิ วันที่ 1 ลงทะเบยี น/ - ภารกจิ ของ ความรู้ท่วั ไป รับ การเตรียมพร้อม3 การใช้เคร่อื งมอื วันท่ี 2 ปฐมนเิ ทศ/ สภากาชาดไทย/ เกยี่ วกับภยั พบิ ตั ิ ประทาน รบั ภัยพิบตั ิและ กลมุ่ สมั พนั ธ์/ องคก์ รกาชาด - ความหมาย/ อาหาร การประเมนิ 15.30 – ในการจัดการภยั / กลางวัน 16.30 น. พธิ เี ปดิ หน่วยงานภาคีและ ประเภท/ 13.00 น. ความเสย่ี ง ประเมนิ ผล/ ผลกระทบ กจิ กรรม มอบวฒุ ิบัตร/ กลมุ่ สมั พนั ธ์/ หน่วยงาน นนั ทนาการ 13.30-15.30 น. พธิ ีปิด นันทนาการ ชว่ ยเหลือฉุกเฉิน อาสายุวกาชาด 09.00-12.00 น. พึ่งพาได้ เรือ่ งภัยพบิ ัติ การปฐมพยาบาลและการดแู ลสขุ ภาพ และสถานการณ์ โรคท่ีมากบั ภยั พิบตั /ิ กิจกรรมเสนอแนะ จาลอง 32

4. หลักสูตร กำรกำชำดและกฎหมำยมนษุ ยธรรมระหวำ่ งประเทศ (IHL) วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้อาสายุวกาชาดมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการกาชาดและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (RC&IHL) 2. เพ่ือให้อาสายุวกาชาดสามารถตอบคาถามเรื่องการกาชาดและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (RC&IHL) ตำรำงกำรฝกึ อบรมอำสำยุวกำชำด หลกั สตู รกำรกำชำดและกฎหมำยมนษุ ยธรรมระหว่ำงประเทศ (IHL) เวลำ 08.00– 09.00-10.00 น. 10.00-11.00 น. 11.00-12.00 น. 12.00- 13.30- 15.00- วัน 09.00 น. 13.30 น. 15.00 น. 16.30 น. ผจู้ ดุ ประกาย เครื่องหมายและ วนั ที่ 1 ลงทะเบยี น/ ปฐมนิเทศ/ กาชาด/ เคร่อื งกาชาด หลกั กาชาด ต้นไม้ พิธีเปดิ กลมุ่ สมั พันธ์ มนษุ ยธรรม องค์กรกาชาด สถานการณ์ 09.00-10.30 น. 10.30-12.00 น. รบั สถานการณ์ ควนั หลงจาก ประทาน เสยี่ ง วนั ท่ี 2 มนุษยธรรมในสภาวะ มุมมองของศักดศ์ิ รี อาหาร สงคราม 08.00 น. สงคราม กลางวนั ความแตกต่าง พธิ หี นา้ 13.00 น. ระหว่าง ประเมนิ ผล/ เสาธง 09.00-10.00 น. 10.00-11.00 น. 11.00-12.00 น. กิจกรรม กฎหมาย มอบวฒุ ิบัตร/ 08.30 น. นันทนาการ มนษุ ยธรรม สาระสาคญั อาวธุ ต้องหา้ ม ระหวา่ ง พิธีปิด วันที่ 3 กจิ กรรม หลกั พนื้ ฐานกฏ ทหารเดก็ กับระเบดิ นนั ทนาการ และข้อห้ามของ กฎหมาย ประเทศ (IHL) 33

5. หลกั สูตร ควำมรูเ้ พอื่ ชวี ิต (Fact for lift) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้อาสายวุ กาชาดมีความรพู้ ื้นฐานในเรือ่ งโภชนาการ สารอาหาร และโรคที่เกดิ จากการขาดสารอาหาร 2. เพื่อให้อาสายุวกาชาดสามารถนาความร้ไู ปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ ตำรำงกำรฝกึ อบรมอำสำยุวกำชำด หลกั สูตรควำมรเู้ พอ่ื ชวี ติ (Fact for Life) เวลำ 08.00 - 09.00-12.00 น. 12.00- 13.30-16.00 น. 16.00- วัน 09.00 น. 13.30 น. 16.30 น. ชวี ติ และความหวงั / ละครโรงเลก็ ลงทะเบียน/ ทางส่คู วามหวงั / รบั - เอดส์/สารเสพตดิ / ประเมินผล/ ปญั หาชีวติ และการแกไ้ ข/ ประทาน การท้องก่อนวยั อันควร/ มอบวุฒิบัตร/ วันท่ี 1 ปฐมนเิ ทศ/ ปรึกษากับคนใกลช้ ดิ อาหาร เพ่ือนกับการเลอื กค่ชู วี ติ / กล่มุ สมั พันธ์/ กลางวนั การวางแผนครอบครวั / พิธปี ดิ 13.00 น. ทัศนคตทิ ด่ี ีตอ่ ผตู้ ิดเช้อื พิธีเปิด กิจกรรม นนั ทนาการ กำรจดั กจิ กรรมต่อเน่อื งในชมุ ชน การอบรมอาสายุวกาชาด เป็นการจุดประกายความคิดให้ผู้เรียนประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นพลเมืองดีของ สังคม โดยอุทิศตนร่วมทาประโยชน์เพื่อส่วนรวมในโอกาสต่างๆ หน่วยงานที่จัดอบรม ควรส่งเสริมสนับสนุนให้ อาสายุวกาชาดได้รวมตัวกันเป็นคณะกรรมการดาเนินกิจกรรมต่อเนื่อง ในรูปแบบของชมรมอาสายุวกาชาด ซึ่งคณะกรรมการ และสมาชิกที่อยู่ในชมรม จะมีบทบาทหน้าท่ีในการคิดริเริ่ม สร้างสรรค์กิจกรรมต่อเนื่องด้วย ตวั ผู้เรียนเอง โดยมีเจา้ หนา้ ท่ีของหน่วยงานเปน็ ทีป่ รกึ ษาในชมรมนน้ั ๆ การจัดกิจกรรมต่อเนื่องสาหรับชมรมอาสายุวกาชาดในพื้นท่ีส่วนภูมิภาค ควรมี กำรประสำนสัมพันธ์กับ สำนักงำนเหล่ำกำชำดจังหวัด ซึ่งเป็นหน่วยงานของสภากาชาดไทยในแต่ละจังหวัด มีบทบาทหน้าที่สนับสนุน ส่งเสริมกิจกรรมของสภากาชาดไทยในด้านยุวกาชาดของจังหวัดน้ันๆ ตลอดจนทั้งบรรเทาทุกข์และเป็นท่ีพ่ึงพา ของผู้ประสบภัยเม่ือเกิดภัพพิบัติต่างๆ บทบาทหน้าที่ดังกล่าวน้ี จาเป็นต้องประสานความร่วมมือจากบุคลากร ของกาชาดในจังหวัด ดังนั้น หากได้มีการประสานแผนการทางานร่วมกับสานักงานเหล่ากาชาดจังหวัด ถือเป็น โอกาสอันดีของชมรมอาสายุวกาชาดท่ีจะได้ร่วมปฏิบัติงานในฐานะที่เป็นส่วนหน่ึงของสภากาชาดไทย เพื่อเป็น กาลังสาคัญของจังหวัด และสภากาชาดไทยในการดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเน่ืองต่อไปในอนาคต ก่อให้เกิดผลดี ท้ังองค์กรสภากาชาด และชมรมอาสายุวกาชาด เกิดความภูมิใจท่ีได้บาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมตาม หลักการของกาชาด ท้ังนี้ กิจกรรมต่อเน่ืองสาหรับชมรมอาสายุวกาชาดสามารถพิจารณาดาเนินกิจกรรมจาก ตัวอย่างทเ่ี สนอแนะ ดังต่อไปน้ี 34

1. กจิ กรรมส่งเสริมสถาบนั ของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์และบคุ คลสาคัญ เชน่ 1.1 รว่ มพิธกี ารสาคญั ทางศาสนา 1.2 รว่ มพิธกี ารหรอื กจิ กรรมเพื่อเฉลิมพระชนมพรรษาหรอื น้อมระลึกในพระมหากษตั ริย์ 1.3 รว่ มกิจกรรมวันกาชาดโลก วันท่ี 8 พฤษภาคม ของทุกปี 1.4 ร่วมกิจกรรมวันคลา้ ยวนั สถาปนายวุ กาชาดไทย วนั ท่ี 27 มกราคม ของทกุ ปี 2. กจิ กรรมบริการชมุ ชน สามารถจัดกิจกรรม โดยประสานกับสานักงานเหล่ากาชาดจังหวัด หรือหน่วยงานเครือข่าย ดา้ นสาธารณกศุ ล โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม ดังกิจกรรมซงึ่ นาเสนอตอ่ ไปน้ี 2.1 รณรงคห์ าผบู้ ริจาคโลหิตชว่ ยชวี ติ เพือ่ นมนุษย์ 2.2 รณรงค์บรจิ าคสิ่งของช่วยผปู้ ระสบภยั พบิ ัติ 2.3 การจดั กิจกรรมฟ้ืนฟจู ติ ใจสาหรับผู้สงู อายุ เด็กกาพร้า ผพู้ ิการ ฯลฯ 2.4 เป็นแกนนากลุ่มในการเป็นที่พ่ึงพาของชุมชน ช่วยเหลือองค์กรการกุศลต่างๆ ปฏิบัติงาน บรรเทาทกุ ข์ผู้เดือดร้อน หรือรณรงค์รว่ มกนั รักษาความสะอาดสถานที่ทใี่ ชร้ ว่ มกนั 3. กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งสันติภาพและสมั พนั ธภาพ กิจกรรมของกาชาดและยุวกาชาดปลูกฝังให้คนทุกคนมีความรักในสันติสุข มีสัมพันธภาพอันดี ต่อกันในมวลมนุษย์ท่ัวโลก กิจกรรมเสริมสร้างสัมพันธภาพ จึงเป็นกิจกรรมหน่ึงท่ีจะนาไปสู่เป้าหมายดังกล่าว เพ่ือให้มวลมนุษย์มีความรัก ความเข้าใจ ความเห็นอกเห็นใจ และความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อกัน ซึ่งมีกิจกรรม นาเสนอต่อไปน้ี 3.1 งานชมุ นุมยวุ กาชาดระดบั จงั หวดั 3.2 งานชมุ นุมยุวกาชาดภมู ิภาคสัมพนั ธ์ 3.3 งานชุมนุมยุวกาชาดกลมุ่ ประเทศเอเชียแปซิฟกิ 3.4 การศกึ ษาดูงานกจิ กรรมกาชาด และยุวกาชาดในประเทศและตา่ งประเทศ ฯลฯ 4. กจิ กรรมเสริมความรู้ กิจกรรมต่อเนื่องอีกลักษณะหนึ่งในการเพ่ิมพูนประสบการณ์ความรู้สาหรับอาสายุวกาชาด เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเองและเผยแพร่ประชาสมั พันธ์แก่ผู้อื่นต่อไป กิจกรรมเสรมิ ความรู้ มีดังนี้ 4.1 การอบรมความรู้ด้านสุขภาพอนามยั 4.2 การอบรมความรู้เพอื่ พฒั นาอาชพี 4.3 การจดั กจิ กรรมทศั นศกึ ษา แหล่งความรู้ต่างๆ กิจกรรมต่อเน่ืองสาหรับชมรมอาสายุวกาชาดทั้ง 4 ลักษณะ ดังกล่าว เป็นเพียงกจิ กรรมเสนอแนะสาหรับ การดาเนินการหลังจัดอบรมแล้ว นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น หน่วยงานหรือชมรมอาสายุวกาชาดสามารถ พิจารณาได้ตามความเหมาะสม โดยที่หากมีปัจจัยต่างๆ เอื้ออานวยให้จัดกิจกรรมใดก็ตามสามารถเลือก ดาเนินการได้ เพื่อใหอ้ าสายุวกาชาดไดท้ าประโยชน์รว่ มกับสงั คมมากท่สี ดุ 35

ตอนที่ 4 แนวทำงกำรบริหำรจัดกำรกจิ กรรมอำสำยวุ กำชำดในสถำนศกึ ษำสังกัดสำนกั งำน กศน. สถานศึกษาท่ีจะจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด ต้องบริหารจัดการในเรื่องวิชาการและงบประมาณ ให้สอดคล้องกับระเบียบและนโยบายทีก่ าหนด การประสานงานกับหนว่ ยงานที่เก่ียวข้องในพื้นท่ี โดยการทางาน ในรูปแบบของเครือข่าย ในแง่ของงบประมาณ บุคลากร และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน รวมถึงควรต้องทราบ บทบาทหนา้ ท่ขี องหนว่ ยงานและสถานศึกษาในการสง่ เสริมกิจกรรมอาสายุวกาชาด ระเบียบกำรบริหำรยวุ กำชำด (ขอ้ บงั คบั สภำกำชำดไทยแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 68) พทุ ธศกั รำช 2550 หมวดที่ 9 วำ่ ด้วยยวุ กำชำด) ระเบียบกำรบริหำรยุวกำชำด ตามข้อบังคับของสภากาชาดไทย สถานศึกษาท่ีจะจัดกิจกรรมอาสา ยุวกาชาดสามารถประสานงานกับหน่วยงานยุวกาชาดในพื้นที่เพื่อเป็นเครือข่ายการทางานร่วมกัน รวมถึง การสนับสนุนในด้านต่างๆ ในพ้ืนที่ นอกจากนี้การบริหารยุวกาชาดในสถานศึกษาดาเนินการโดยคณะกรรมการ ตามโครงสร้างการบริหารยุวกาชาดตามข้อบังคับสภากาชาดไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 68) พุทธศักราช 2550 หมวดท่ี 9 ว่าด้วยยวุ กาชาด ดงั นี้ 1. คณะกรรมกำรยวุ กำชำดจังหวดั (ข้อบงั คับฯ ขอ้ 64) ประกอบดว้ ย (1) นายกยุวกาชาดจงั หวัด เป็นประธานกรรมการ (2) นายกเหลา่ กาชาดจังหวดั รองผ้วู า่ ราชการจงั หวัด และปลดั จังหวดั เป็นรองประธานกรรมการ (3) นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด พัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์จังหวัด ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัด นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล และผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขต นอกจากเขต 1 เปน็ กรรมการ (4) ผ้ทู รงคุณธรรม จานวนไมเ่ กินหา้ คน เปน็ กรรมการ (5) ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา เขต 1 ของจงั หวัดน้นั เปน็ กรรมการและเลขานุการ (6) หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 ของจังหวัดน้ันและกรรมการ เหลา่ กาชาดจงั หวัดท่เี ปน็ ผู้ประสานงานยุวกาชาด เปน็ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่บริหารงานยุวกชาดในเขตที่ตนรับผิดชอบให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของยุวกาชาด และนโยบายของคณะกรรมการบรหิ ารยุวกาชาด และมีอานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปนี้ (ข้อบังคับฯ ข้อ 65) 1. วางแนวการฝึกอบรมยวุ กาชาดใหเ้ หมาะกบั สภาพของจังหวัดนัน้ 2. กากับดูแลการดาเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของยุวกาชาดและนโยบายของ คณะกรรมการบริหารยวุ กาชาด 3. พิจารณารายงานประจาปีของยุวกาชาดจงั หวัด 36

4. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ กจิ การยุวกาชาดให้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องยุวกาชาด 5. ดารแิ ละวนิ ิจฉยั ปัญหาต่างๆ ในการดาเนนิ งานยวุ กาชาด 6. ดาเนินการอ่ืนตามท่ีกาหนดไว้ในข้อบังคับหรือระเบียบหรือตามท่ีคณะกรรมการสภากาชาด ไทยหรอื คณะกรรมการบริหารยุวกาชาดมอบหมาย 2. คณะกรรมกำรยวุ กำชำดในสถำนศึกษำ ตามข้อบังคับฯ ข้อ 72 กาหนดให้ผู้บริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งเป็นนายกหมู่ของสถานศึกษานั้น มีหนา้ ท่ีบริหารงานยุวกาชาดในสถานศกึ ษาทต่ี นรบั ผดิ ชอบ คณะกรรมการยุวกาชาดในสถานศกึ ษา (ข้อบังคบั ฯ ขอ้ 73) ประกอบด้วย (1) นายกหมขู่ องสถานศึกษา ประธานกรรมการ (2) รองนายกหมู่ รองประธานกรรมการ (3) ผนู้ ากลมุ่ กรรมการ (4) รองผูน้ ากลุ่ม กรรมการ (5) ผู้ทรงคณุ ธรรมจานวนไม่เกินห้าคน กรรมการ (6) ผ้นู ากล่มุ คนหน่ึง เปน็ กรรมการและเลขานุการ ในกรณีที่เห็นว่าจาเป็นจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการไม่เกินสองคน ให้ประธานกรรมการยุวกาชาด จังหวัดเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณธรรม มีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละส่ีปี และอาจได้รับการแต่งต้ังใหม่ได้ คณะกรรมการยุวกาชาดในสถานศึกษา มหี น้าที่บริหารงานยวุ กาชาดในสถานศึกษาที่ตนรับผดิ ชอบให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของยุวกาชาดและนโยบายของคณะกรรมการบริหารงานยุวกาชาด และมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปน้ี (ตามข้อบงั คับฯ ข้อ 74) (1) ดาเนินงานยุวกาชาดในสถานศึกษาท่ีตนรับผิดชอบให้เป็นไปตามนโยบายของสภากาชาดไทย และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2) วางแนวการฝกึ อบรมยวุ กาชาดภายในสถานศกึ ษาทต่ี นรับผดิ ชอบ (3) กากับดูแลการดาเนินงานยุวกาชาดภายในสถานศึกษาท่ีตนรับผิดชอบให้เป็นไปตาม วัตถปุ ระสงคข์ องยวุ กาชาดและนโยบายของคณะกรรมการบรหิ ารยวุ กาชาด (4) พิจารณารายงานประจาปขี องหมยู่ วุ กาชาดในสถานศึกษาที่ตนรบั ผดิ ชอบ (5) จดั ทารายงานประจาปีเสนอตอ่ ยวุ กาชาดจังหวัด (6) สง่ เสรมิ และสนับสนนุ กิจการยวุ กาชาดใหเ้ ป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของยุวกาชาด (7) ดาริและวนิ จิ ฉยั ปญั หาต่างๆ ในการดาเนนิ งานยวุ กาชาดในสถานศกึ ษาทต่ี นรบั ผดิ ชอบ (8) ดาเนินการอื่นๆ ตามท่ีกาหนดไว้ในข้อบังคับหรือระเบียบตามท่ีคณะกรรมการสภากาชาดไทย คณะกรรมการบรหิ ารงานยวุ กาชาด คณะกรรมการยุวกาชาดจังหวดั มอบหมาย 37

3. คณะกรรมกำรท่ีปรึกษำอำสำยุวกำชำด ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นประธานกรรมการ ที่ปรึกษา และกรรมการอ่ืนอีกไม่เกินสิบคนเป็นกรรมการที่ปรึกษา โดยให้ท่ีปรึกษาของชมรมอาสายุวกาชาด เป็นกรรมการที่ปรึกษาและเลขานกุ าร มหี น้าท่ี ดงั ต่อไปนี้ (ตามขอ้ บงั คับฯ ข้อ 78) 1. กากับ ดูแล และพิจารณาให้มีการจัดตั้งอาสายุวกาชาด โดยใช้ชื่อว่า “ชมรมอาสา ยวุ กาชาด (ระบุชอ่ื ชมรม) ” แลว้ นาเสนอสานกั งานยุวกาชาด สภากาชาดไทยเพ่ือพิจารณาอนมุ ตั ิ 2. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการดาเนินกจิ กรรมชมรมอาสายุวกาชาด 3. จัดทารายงานประจาปีของชมรมอาสายุวกาชาดเสนอต่อผู้อานวยการสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย กำรบริหำรกำรจัดกจิ กรรมอำสำยวุ กำชำด กำรจดั กจิ กรรมอำสำยวุ กำชำด สามารถดาเนนิ การได้ 2 แนวทาง ดงั น้ี 1. กำรจดั กจิ กรรมพัฒนำคณุ ภำพผเู้ รียน 1.1 สานักงาน กศน. ได้กาหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามนโยบายการจัด การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน จานวน 14 กจิ กรรม ดงั นี้ 1.1.1 กจิ กรรมพัฒนาวชิ าการ 1.1.2 กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชวี ติ 1.1.3 กิจกรรมท่ีแสดงออกถงึ ความจงรักภกั ดีต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ 1.1.4 กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1.1.5 กิจกรรมลกู เสือและกจิ กรรมยุวกาชาด 1.1.6 กจิ กรรมกีฬาและส่งเสริมสขุ ภาพ 1.1.7 กิจกรรมเพือ่ พัฒนาความรู้ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 1.1.8 กิจกรรมเพ่ือพฒั นาความรู้สปู่ ระชาคมโลก 1.1.9 กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทาความดีด้วยหวั ใจ” 1.1.10 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านและพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ 1.1.11 กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทักษะอาชพี 1.1.12 กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม 1.1.13 กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข และกฎหมายที่เก่ยี วข้องในชีวิตประจาวนั 1.1.14 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความสามารถพเิ ศษ 1.2 โดยมีรูปแบบการจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ดงั นี้ 1.2.1 แบบการจดั ค่ายวชิ าการ คา่ ยกจิ กรรม คา่ ยกลางวนั และคา่ ยพักแรม 1.2.2 แบบชั้นเรียนโดยครู กศน. หรือวิทยากรท่ีมีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอน วชิ าน้ันๆ เปน็ ผู้จัดกจิ กรรมหรอื ร่วมกบั เครอื ขา่ ย 38

1.2.3 แบบศึกษาดูงาน ในพ้ืนท่ีใกล้เคียงหรือภายในจงั หวัด/ภาคเดียวกนั กรณีออกนอกพื้นที่ให้ ขอความเห็นชอบจากผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม. 1.2.4 แบบอ่ืนๆ โดยพิจารณารูปแบบท้งั 3 ขอ้ ข้างต้นกอ่ น แล้วจงึ ดาเนนิ การแบบอนื่ ๆ กิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีจิตอาสา มีความเสียสละในการช่วยเหลือผู้อ่ืน สังคม และชุมชน โดยให้สถานศึกษาดาเนินการร่วมกับสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ในการจัดต้ังชมรมอาสายุวกาชาด และการจัดกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ตามนโยบายด้านกิจกรรม อาสายวุ กาชาด สานกั งาน กศน สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดเป็นกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้รูปแบบ “คา่ ยกิจกรรม” ทั้งคา่ ยกลางวนั และค่ายพกั แรม ตามความพร้อมของสถานศกึ ษาในหลกั สูตรต่อไปนี้ 1. หลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด แบบ 2 วัน 3 วัน และ 4 วัน 2. หลักสูตรเฉพาะทาง 2.1 หลักสูตรการปฐมพยาบาล 2.2 หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ 2.3 หลักสูตรการเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติ 2.4 หลักสูตรการกาชาดและกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL) 2.5 หลักสูตรความรู้เพื่อชีวิต (Fact for lift) 2. กำรจดั กิจกรรมพัฒนำคุณภำพชีวติ (กพช.) กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เป็นกิจกรรมท่ีเป็นองค์ประกอบสาคัญส่วนหนึ่งในโครงสร้าง ที่กาหนดไว้ในหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ผู้เรียนต้องทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต จานวนไม่น้อยกว่า 100 ช่ัวโมง เป็นเงื่อนไขในการจบหลักสูตร และตามประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 18 มีนาคม 2557 ให้เพิ่มจานวนช่ัวโมงกิจกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิตจาก 100 ช่ัวโมง เป็น 200 ช่ัวโมง โดยให้ใช้กับผู้เรียนท่ีขึ้นทะเบียนเรียนต้ังแต่ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2556 เป็นตน้ มา ลักษณะกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ (กพช.) แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 2.1 กิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะชีวิตของตนเองและครอบครัว โดยใช้ กระบวนการเรยี นร้แู บบมสี ่วนรว่ มของผู้เรียน และตอ้ งพิจารณาในประเดน็ สาคญั ๆ ดงั นี้ 2.1.1 ประโยชน์ท่ีตนเอง ครอบครัวได้รับ ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีสามารถสร้าง/พัฒนาทักษะ การดาเนนิ ชวี ิตให้ตนเอง/ครอบครัวอยู่ได้อย่างมีความสุข 2.1.2 การมีส่วนร่วมของผู้เรียนและครอบครัว เป็นกิจกรรมท่ีดาเนินการแล้วผู้เรียนและ ครอบครวั เห็นความสาคญั และใหค้ วามรว่ มมือ 2.1.3 การใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นกิจกรรมท่ีทาให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินงาน มกี ารประสานงานความรบั ผิดชอบ เสยี สละ และจติ บรกิ าร 2.1.4 ความเหมาะสมในการใช้ระยะเวลาในการปฏิบัตงิ านตามโครงการ 39

2.1.5 ปัจจัยท่ีเอ้ือต่อความสาเรจ็ ได้แก่ ความรู้ แหล่งข้อมูล วสั ดุ งบประมาณและการเลือกใช้ ทรพั ยากรได้อยา่ งเหมาะสม 2.1.6 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นการคิดส่ิงใหม่ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ ครอบครวั 2.2 กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาชุมชนและสังคม โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม ของชุมชน และพิจารณาในประเดน็ สาคัญๆ ดงั น้ี 2.2.1 ประโยชน์ที่ชุมชนและสังคมจะได้รับหรือบริการท่ีช่วยเสริม หรือพัฒนาคุณภาพชีวิต ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ตลอดจนสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั และอืน่ ๆ ทีต่ อบสนองนโยบายการพฒั นาประเทศ 2.2.2 การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เป็นกิจกรรมที่ดาเนินการแล้วคนในชุมชน เห็นความสาคญั และใหค้ วามรว่ มมอื ทั้งด้านความคิด แรงงาน วัสดุอปุ กรณ์ และอ่นื ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.2.3 การใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นกิจกรรมที่ทาให้เกิดความร่วมมือในการทางาน เสียสละ จิตบริการตามวถิ ีประชาธิปไตย 2.2.4 การใช้ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน เป็นกิจกรรมที่ใช้ระยะเวลาในการปฏิบัติงานให้มี ความเหมาะสมกบั กจิ กรรมโครงงานทีน่ าเสนอ 2.2.5 ปัจจัยท่ีเอ้ือต่อความสาเร็จในการจัดกิจกรรม เช่น บุคคลากร วัสดุ งบประมาณ และ การใช้ทรพั ยากรท่ีมอี ย่ใู นชุมชนให้เปน็ ไปอย่างประหยัด และประยกุ ต์ใช้อยา่ งเหมาะสม 2.2.6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นการคิดสิ่งใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์และทาให้เกิด การพัฒนาไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องและอย่างยงั่ ยนื หลักการทากจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ (กพช.) 1. สถานศึกษาให้ผู้เรียนวางแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ร่วมกับ ครู กศน. เพ่ือให้ผเู้ รียนเสนอโครงการจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ การเข้าร่วมกจิ กรรม ให้เป็นไปตามแนวทาง ขน้ั ตอนท่สี ถานศกึ ษากาหนด 2. สถานศึกษาจัดให้มีการลงทะเบียนกิจกรรมพัฒ นาคุณ ภาพชีวิต ในภาคเรียนแรก เพ่ือทาความเข้าใจให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต จนเกิดความตระหนัก และเห็นความสาคัญของกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ สามารถเข้าร่วมกิจกรรม การเขียน โครงการ และดาเนินการจดั กจิ กรรมตามโครงการได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและต่อเน่อื ง 3. สถานศึกษาและผู้เรียนสามารถนากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ของอาสายุวกาชาดมาจัดทา โครงการ ดาเนินการจัดกิจกรรมทั้งในลักษณะค่าย หรือแบบศึกษาด้วยตนเอง จะปฏิบัติเป็นกลุ่มหรือ เปน็ รายบคุ คลกไ็ ด้ สามารถดาเนนิ การได้อย่างตอ่ เนอ่ื ง 4. การประเมินผลกจิ กรรม ให้ประเมินจากการดาเนินการจัดกจิ กรรมท่ีผู้เรียนเสนอโครงการ หรือ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมตามกรอบที่สถานศึกษากาหนด โดยเน้นการประเมินแบบมสี ว่ นร่วม 40

เครื่องแบบยวุ กำชำด เคร่ืองแบบท่ีใช้ในการแต่งกายของอาสายุวกาชาด และเคร่ืองแบบเจ้าหน้าที่ ท่ีปรึกษาชมรมอาสา ยุวกาชาด วทิ ยากรยุวกาชาด ผ้อู านวยการฝึกอบรมอาสายุวกาชาด มรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. เครอ่ื งแบบอำสำยุวกำชำด มี 3 แบบ แบบที่ 1 ให้แต่งกายด้วยเคร่ืองแบบนักศึกษา ผูกผ้าผูกคอพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (สาหรับอาสายุวกาชาดท่ีสาเร็จการอบรมหลักสูตร พ้นื ฐานยวุ กาชาดหลกั สตู ร 4 วนั ) 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook