Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อเสมือนจริง - Copy

สื่อเสมือนจริง - Copy

Published by ธนวัฒน์ พันธุ์เทศ, 2020-01-12 01:51:48

Description: สื่อเสมือนจริง - Copy

Search

Read the Text Version

วฒั นธรรมและประเพณที ้องถนิ่ คำว่ำ “ทอ้ งถิ่น” หมำยถงึ พื้นที่และขอบเขตทีช่ ุมชน หมบู่ ้ำน เมือง มกี ำรปะทะสรรค์กนั ทำงด้ำนสงั คม เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม จนปรำกฏ รปู แบบทำงวฒั นธรรมที่เหมือนกนั และแตกต่ำงกันไปจำกชมุ ชน หมบู่ ำ้ น และ เมอื ง ในทอ้ งถ่ินอ่ืน ดังนั้นวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถน่ิ แต่ละแห่งอำจมี รูปแบบแตกต่ำงกันไปตำมสภำพทำงภูมศิ ำสตร์ ทรัพยำกรธรรมชำติและ สภำพแวดล้อม ซ่ึงเรำพอจะสรปุ ลักษณะสำคญั ของวฒั นธรรมและประเพณี ทอ้ งถิ่นของไทยไดด้ งั น้ี ลักษณะของวัฒนธรรมไทย ควำมหมำยของวัฒนธรรม หมำยถงึ ทกุ สิ่ง ทุกอย่ำงทมี่ นุษย์ สร้ำงขึ้นมำ นบั ต้ังแต่ภำษำ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศำสนำ กฎหมำย ศลิ ปะ จริยธรรม ตลอดจนวทิ ยำกำรและเทคโนโลยตี ่ำง ๆ ขนบธรรมเนยี มประเพณี สง่ิ ท่ีดงี ำม สง่ิ ทีไ่ ดร้ บั กำรปรงุ แต่งใหด้ ีแล้ว หรือสง่ิ ท่ีได้รับกำรยอมรบั และยกยอ่ ง มำเป็นเวลำนำนแลว้ เชน่ ค่ำนยิ ม ควำมคิดเหน็ วทิ ยำกำรต่ำง ๆ เป็นต้น วัฒนธรรมไทยในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ จะมคี วำมคล้ำยคลึงและ แตกตำ่ งกันไปข้ึนอยู่กบั ปจั จัยต่ำง ๆ และยงั มกี ำรเปลีย่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลำ ทั้งนี้เป็นเพรำะมกี ำรเปลี่ยนแปลงทำงดำ้ นสังคม เศรษฐกิจ กำรเมืองกำร ปกครอง และกำรดำเนินชวี ิตของคนไทยอยตู่ ลอดเวลำ ประเทศไทยเปน็ ประเทศ ที่มวี ัฒนธรรมเก่ำแกส่ ืบสำนตอ่ กนั มำเปน็ เวลำยำวนำน มีวฒั นธรรมหลกั ทีถ่ อื ว่ำ เป็นวัฒนธรรมประจำชำตไิ ทย และแสดงใหเ้ ห็นถึงควำมเปน็ ไทย ไดแ้ ก่ 1. ศำสนำ คนไทยส่วนใหญ่นบั ถือพระพทุ ธศำสนำ แต่กม็ ไิ ด้ กีดกันผ้ทู ีน่ บั ถือศำสนำอื่นแต่อยำ่ งใด 2. ภำษำ คนไทยมีภำษำและตวั อักษรไทย ซึ่งพอ่ ขนุ รำมคำแหงได้ประดษิ ฐข์ นึ้ ในสมัยสุโขทัยเมอ่ื พ.ศ. 1826 3. ประเพณไี ทย เปน็ สิง่ ที่แสดงถงึ วิถชี ีวิตของคนไทยทเ่ี คย ปฏิบัติสบื เนอ่ื งกนั มำต้ังแต่บรรพบรุ ษุ และไดส้ บื ทอดกนั มำจนถงึ ลูกหลำน ท่ี เรียกกันว่ำขนบธรรมเนยี มประเพณนี น่ั เอง เช่น กำรไหว้ กำรเซน่ ไหว้บรรพบรุ ษุ เป็นตน้

ภำคเหนอื ประเพณปี อยนอ้ ย เป็นประเพณบี วช หรือกำรบรรพชำของชำวเหนอื จะมชี ือ่ เรยี ก ต่ำงกันในบำงทอ้ งถ่นิ เชน่ ปอยน้อย ปอย บวช ปอยลูกแกว้ ปอยส่ำงลอง นยิ ม จัดภำยในเดอื นกมุ ภำพันธห์ รือมนี ำคม ซงึ่ เก็บเก่ียวพชื ผลเสร็จแลว้ ใน พธิ บี วชจะ มกี ำรจดั งำนเฉลิมฉลองอยำ่ งยิ่งใหญ่ มีกำรแห่ลูกแกว้ หรือผู้บวชที่จะตกแตง่ ขบวนสวยงำมแบบ กษตั ริยห์ รือเจ้ำชำย เพรำะถอื คตินิยมว่ำเจำ้ ชำยสิทธตั ถะได้ เสด็จออกบวชจนตรัสรู้

ประเพณยี เี่ ป็ง เปน็ ประเพณลี อยกระทงตำมประเพณลี ้ำนนำทจี่ ดั ทำข้นึ ในวนั เพญ็ เดือน 2 ของชำวล้ำนนำ ยเี่ ป็ง เปน็ ภำษำคำเมืองในภำคเหนอื คำว่ำ \"ย\"ี่ แปลว่ำ สอง และคำวำ่ \"เปง็ \" ตรงกบั คำวำ่ \"เพ็ญ\" หรือพระจนั ทร์เตม็ ดวง ซ่งึ ชำว ไทยในภำคเหนอื จะนบั เดอื นทำงจันทรคตเิ รว็ กวำ่ ไทยภำคกลำง 2 เดือน ทำให้ เดือนสบิ สองของไทยภำคกลำง ตรงกับเดอื นย่ี หรือเดอื น 2 ของไทยลำ้ นนำ ประเพณียเี่ ปงจะเร่ิมต้งั แต่ วนั ขนึ้ 13 คำ่ ซึง่ ถือว่ำเป็น \"วันดำ\" หรอื วนั จ่ำยของเตรยี มไปทำบญุ เลี้ยงพระทว่ี ัด ครน้ั ถงึ วนั ข้นึ 14 คำ่ พอ่ อุย้ แม่อุ้ย และผู้มีศรทั ธำก็จะพำกนั ไปถอื ศลี ฟังธรรม และทำบญุ เลย้ี งพระท่ีวดั มกี ำรทำ กระทงขนำดใหญ่ต้งั ไวท้ ี่ลำนวัด ในกระทงน้ันจะใสข่ องกนิ ของใช้ ใครจะเอำของ มำร่วมสมทบดว้ ยก็ไดเ้ พือ่ เปน็ ทำนแก่คนยำกจน ครนั้ ถงึ วันขน้ึ 15 ค่ำ จึงนำ กระทงใหญท่ ี่วัดและกระทงเลก็ ๆ ของสว่ นตัวไปลอยในลำน้ำ

ภำคใต้ ประเพณีชกั พระ เป็นประเพณที อ้ งถิน่ ในภำคใต้ตอนกลำง เป็นกำรแสดงออกถึง ควำมพรอ้ มเพรยี ง สำมคั คพี รอ้ มใจกันในกำรทำบญุ ทำทำน และเป็นประเพณีที่ เกย่ี วขอ้ งกับควำมศรทั ธำในพระพุทธศำสนำ และวิถีชวี ติ ชำวใต้ทม่ี คี วำมผูกพัน กับน้ำ ประเพณชี กั พระหรือลำกพระจดั ข้นึ ในช่วงออกพรรษำ โดยเฉพำะในวันแรม 1 ค่ำ เดอื น 11 ด้วยควำมเชือ่ ว่ำเปน็ วันท่พี ระพทุ ธเจำ้ เสดจ็ กลบั จำกสวรรคช์ น้ั ดำว ดงึ ส์ลงมำยงั โลกมนษุ ย์ จงึ มกี ำรจัดงำนเพอื่ แสดงควำมยินดี ประชำชนจึง อัญเชญิ พระพทุ ธองคข์ น้ึ ประทับบนบุษบกทจ่ี ัดเตรยี มไว้ แลว้ แหแ่ หนไปยงั ท่ี ประทับ ส่วนใหญ่จะเป็นกำรจดั ขบวนทำงเรอื แตบ่ ริเวณใดท่ี หำ่ งไกลแมน่ ำ้ กจ็ ะ จัดพิธที ำงบก

ประเพณีตักบาตรธปู เทยี น ประเพณตี ักบำตรธูปเทียนคือกำรถวำยธปู เทยี นแดพ่ ระสงฆ์ ซึ่ง ประเพณตี ักบำตรธูปเทียนถือเปน็ ส่วนหนง่ึ ของกำรถวำยสงั ฆทำนในวนั เขำ้ พรรษำ ชว่ งวนั แรม ๑ คำ่ เดือน ๘ ซง่ึ กำรตกั บำตรธปู เทยี นจะมีขึ้นท่วี ดั พระ มหำธำตุวรมหำวหิ ำร จงั หวดั นครศรธี รรมรำชเพียงแหง่ เดียว ประเพณตี ักบำตรธปู เทยี นมีพธิ ีกรรมโดย นิมนตพ์ ระสงฆ์จำก วัดอ่ืนๆ ยนื เรยี งแถวทหี่ น้ำวิหำร และชำวบำ้ นจะนำเคร่อื งสงั ฆทำนพร้อมทง้ั ดอกไมธ้ ูปเทยี นทเ่ี ตรยี มมำใสใ่ นยำ่ มพระ เม่ือเสร็จแล้วชำวบำ้ นจะทำกำรจุด เปรียง (กำรจุดเปรียงคือ กำรนำนำ้ มนั มะพรำ้ วใสใ่ นเปลอื กหอยพร้อมด้วยด้ำย ดิบและจดุ ไฟท่ีด้ำยเพ่ือให้ไฟสว่ำงไสวไปทว่ั ท้ังวัด) ตำมหน้ำพระพุทธรปู และลำน เจดยี ์ภำยในวดั พระมหำธำตวุ รมหำวหิ ำร แตป่ ัจจุบันประเพณตี กั บำตรธปู เทยี นไดเ้ ปลีย่ นแปลงไปจำก เดิมบ้ำง เช่น แตเ่ ดิมชำวบ้ำนจะเตรยี มดอกไม้ธปู เทยี นมำเอง แต่ปจั จุบนั ดอกไม้ ธูปเทียนจะมวี ำงขำยท่ัวไป หรือเมอ่ื กอ่ นพระสงฆจ์ ะเข้ำแถวรบั บำตรแตเ่ ฉพำะ บรเิ วณหนำ้ วหิ ำร แตใ่ นปัจจุบันไดข้ ยำยพืน้ ที่ไปถึงหนำ้ วัด เมอื่ ครงั้ อดีตหลงั จำก ใส่บำตรเรยี บร้อยแลว้ จะมกี ำรจดุ เปรยี ง แต่ปัจจบุ นั ไดเ้ ปลยี่ นมำจดุ เทยี นไขแทน เพรำะกำรจุดเปรียงทำใหเ้ กดิ ไฟไหม้อยบู่ ่อยคร้ัง

ภาคกลาง ประเพณลี อยกระทง ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ ของทุกปี หรือที่เรียก กันติดปำกว่ำ “วันเพ็ญเดือน ๑๒” น่ันเอง ซึ่งเป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวง และ เป็นช่วงท่ีน้ำหลำกเต็มตล่ิง แต่เดิมเรียกประเพณีลอยกระทงว่ำ พระรำชพิธี จองเปรียงชักโคม ซ่ึงเป็นพิธีของพรำหมณ์ ประเพณีลอยกระทงของไทย มีมำ ตั้งแต่สมัยสุโขทัย เรียกว่ำ กำรลอยพระประทีป หรือลอยโคม ประเพณีลอย กระทงนี้กระทำขึ้นเพ่ือเป็นกำรสะเดำะเครำะห์และขอขมำต่อพระแม่คงคำ ปัจจุบันประเพณีลอยกระทงของไทยถูกจัดขึ้นในทุกพ้ืนที่ท่ัวประเทศ โดยเฉพำะ อยำ่ งยงิ่ บริเวณทีต่ ิดกับแหล่งน้ำ ในวันลอยกระทง ประชำชนจะพำกันประดิษฐ์ “กระทง” จำกวัสดุท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่ำงๆ เช่น ก้ำนกล้วย ดอกไม้ ใบไม้ ให้เป็น รูปทรงคล้ำยดอกบัวบำน แล้วนำไปลอยในแหล่งน้ำ (ในบริเวณพ้ืนท่ีติดทะเล ก็ นิยมลอยกระทงริมฝั่งทะเลด้วยเช่นกัน) เช่ือว่ำกำรทำแบบนี้จะเป็นกำรลอย เครำะห์ไป นอกจำกนี้ยังมีควำมเชื่อว่ำกำรลอยกระทง เป็นกำรบูชำพร้อมท้ังขอ ขมำพระแมค่ งคำอกี ดว้ ย

ประเพณปี ระเพณรี ับบัว ประเพณีประเพณีรับบัวเป็นประเพณีเก่ำแก่ของชำว อำเภอบำงพลี จงั หวดั สมทุ รปรำกำร จดั ขน้ึ ทุกวันขนึ้ ๑๓ ค่ำ เดอื น ๑๑ ถงึ วนั ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ “พิธีกรรมของประเพณีรบั บัวจะเร่ิมต้นในวันขึน้ ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ โดยในตอนเย็นชำวพระประแดงและเพ่ือนบ้ำนใกล้เคียง จะลงเรือและ ร่องไปตำมแม่น้ำเจ้ำพระยำบ้ำง ตำมคลองสำโรงบ้ำง แต่ทุกคนจะมีจุดหมำย เดียวกันคือไปที่หมู่บ้ำนบำงพลี โดยในเรือท่ีร่องกันมำนั่นจะมีเครื่องดนตรีนำนำ ชนดิ เชน่ ป่ี ซอ แง แบ กรับ และกลอง เป็นตน้ และทุกคนจะรอ้ งรำทำเพลงกัน อย่ำงสนุกสนำน ส่วนชำวบำงพลีก็จะเตรียมดอกบัวและอำหำรไว้ต้อนรับแขกผู้ มำเยอื น”

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ประเพณีบญุ บั้งไฟ เป็นประเพณีที่ชำวอีสำนจัดข้ึนในเดือน 6 เรียกกันว่ำ “บุญเดือนหก” มีจุดมุ่งหมำยเพ่ือ เป็นงำนรื่นเริงครั้งใหญ่ก่อนกำรเริ่มทำนำ และเป็นกำรสร้ำงกำลังใจว่ำกำรทำนำในปีน้ันจะได้ผลดี โดยมี ควำมเชอื่ ว่ำเทวดำ คือ “พระยำแถน” สำมำรถบัลดำลใหพ้ ืชผลในท้องนำอุดมสมบูรณ์ หำกบูชำเซน่ สรวงให้ พระยำแถนพอใจก็จะช่วยให้ฝนตกตำมฤดูกำล กำรทำนำได้ผล ธัญญำหำรบรบิ รู ณ์ โดยเฉพำะถำ้ หมู่บำ้ นใคร ทำบญุ บั้งไฟตดิ ตอ่ กนั ในทกุ ปี

ประเพณีแหป่ ราสาทผ้งึ ประเพณีแห่ปรำสำทผึ้งเป็นงำนบุญของชำวอีสำน โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงในจังหวัดสกลนคร ปฏิบัติกันในช่วงออกพรรษำ ระหว่ำงวัน ขึ้น ๑๒-๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ มูลเหตุของกำรทำปรำสำทผึ้ง สืบเน่ืองมำจำกคร้ัง สมัยพุทธกำล พระพุทธเจ้ำได้เสด็จจำพรรษำบนสวรรค์ คร้ันถึงวันข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ พระพุทธเจ้ำจะเสด็จกลับยังโลกมนุษย์ พระอินทร์จึงนิรมิตบันได ๓ ชนดิ ข้ึนมำ คอื ๑. บนั ไดแ้ กว้ มณี สำหรบั พระพุทธเจำ้ เสด็จลง ๒. บันไดทองคำ สำหรบั เทวดำเสดจ็ ลง ๓. บันไดเงิน สำหรับมหำพรหมเสดจ็ ลง และอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วงลบั ไปแล้ว เป็นประเพณที สี่ ำคัญในทกุ ๆปี ปี ละ 1 ครั้ง ซึ่งชำว จ.สกลนคร ร่วมกันจัดขึ้นอย่ำงย่ิงใหญ่ ดึงดูดนักท่องเที่ยวท้งั ชำวไทย และชำวตำ่ งชำตมิ ำเท่ยี วชมงำน

สาเหตทุ ท่ี าใหว้ ัฒนธรรมแตกต่างกัน 1) สิ่งแวดล้อมทำงภูมิศำสตร์และสังคมเกษตรกรรม เน่ืองจำกพื้นท่ีของประเทศไทยส่วนใหญ่มีสภำพภูมิศำสตร์เป็นที่รำบลุ่มแม่น้ำ คนไทยจึงมีควำมผูกพันกับแม่น้ำลำคลอง ทำให้เกิดวิถีชีวิตริมน้ำและประเพณี ต่ำง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั น้ำทส่ี ำคญั เชน่ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรำนต์ เป็นต้น 2) พิธีกรรมทำงพระพุทธศำสนำ พระพุทธศำสนำเผย แผ่เข้ำมำในประเทศไทยเป็นเวลำนำน โดยคนไทยได้นำหลักคำสอนมำใช้ในกำร ดำเนินชีวิต นอกจำกน้ียังมีประเพณีและพิธีกรรมต่ำง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับศำสนำ อีกเป็นจำนวนมำก เช่น กำรทอดกฐิน กำรทอดผ้ำป่ำ กำรบวชเพื่อสืบทอด ศำสนำ เป็นตน้ 3) คำ่ นยิ ม เป็นแบบอยำ่ งพฤตกิ รรมของคนในสังคมที่ มีควำมแตกต่ำงกัน ค่ำนิยมบำงอย่ำงกลำยเป็นแกนหลักของวัฒนธรรมไทย เช่น ควำมรักชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์ ซ่ึงคนไทยให้ควำมเคำรพและเชดิ ชูสถำบนั พระมหำกษตั รยิ เ์ ปน็ อย่ำงมำก 4) กำรเผยแพร่และกำรยอมรับวัฒนธรรมจำกต่ำงชำติ ในอดีต ประเทศไทยได้รับวัฒนธรรมจำกจีนและอินเดียเข้ำมำผสมผสำนกับวัฒน ธรรม ด้ังเดิม แต่ในปัจจุบันจำกกระแสโลกำภิวัฒน์ทำให้เกิดกำรหล่ังไหลของ วัฒนธรรมต่ำงชำติมำในประเทศไทย โดยเฉพำะวัฒนธรรมที่มำจำกชำติ ตะวันตกที่เห็นได้อย่ำงชัดเจน เช่น กำรแต่งกำยตำมแบบสำกล กำรผูกเนคไท กำรสวมเส้อื นอก กำรสร้ำงบ้ำนเรือนรูปทรงตำ่ ง ๆ เปน็ ตน้ ดังน้ันจะเห็นว่ำสังคมไทยประกอบด้วยผู้คนหลำยเช้ือ ชำติศำสนำ สภำพแวดล้อมทำงภูมิศำสตร์และรูปแบบกำรดำเนินชีวิตทำง เศรษฐกิจในแต่ละท้องถิ่นก็มีควำมแตกต่ำงกันออกไป วัฒนธรรมของผู้คนจึงมี ควำมแตกตำ่ งกนั ออกไปในระดบั ต่ำง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook