Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวปฏิบัติยุคดิจิตอล.pptx

แนวปฏิบัติยุคดิจิตอล.pptx

Published by viriyatal, 2020-08-18 05:19:37

Description: แนวปฏิบัติยุคดิจิตอล.pptx

Search

Read the Text Version

แนวปฏิบตั ใิ นสังคมดิจทิ ัล (Digital Etiquette) หลักสตู รความเขาใจดจิ ทิ ัล (Digital Literacy)

คําถามสําคัญ •มารยาทในการรว มอยสู งั คมออนไลนม อี ะไร บาง? •พฤตกิ รรมท่สี รางความรําคาญ ไมเ หมาะสม ใน สังคมออนไลนมอี ะไรบาง? •จะรบั มือกบั บคุ ลทีส่ รางความราํ คาญอยา งไรให เหมาะสม? ที่มารูปภาพ:นติ ยสาร e-Co2mmerce

ความหมาย •Netiquette เปน คําที่มาจาก “network etiquette” หมายถงึ จรรยามารยาทของ การอยรู ว มกันในสงั คมอินเทอรเ น็ต หรอื cyberspace ซงึ่ เปน พน้ื ทท่ี ีเ่ ปดโอกาสให ผูคนเขามาแลกเปลี่ยน ส่อื สาร และทาํ กิจกรรมรวมกัน ชุมชนใหญบ างเล็กบา งบนอิน เทอรเ นต็ นนั้ ก็ไมต า งจากสังคมบนโลกแหง ความเปน จริง ซ่งึ จําเปน ตอ งมกี ฎกตกิ า (codes of conduct) เพอ่ื ใชเปนกลไกสาํ หรบั การกาํ กับดูแลพฤติกรรมและการ ปฏสิ มั พันธของสมาชกิ ทมี่ า:www.thaihotline.org 3

บัญญัติ 10 ประการ ของการใชอนิ เตอรเ นต็ • ตองไมใชค อมพวิ เตอรท าํ รา ย หรอื ละเมิดผอู นื่ • ตอ งไมร บกวนการทาํ งานของผอู ่นื • ตองไมสอดแนม แกไ ข หรอื เปดดูแฟมขอ มลู ของผอู น่ื • ตองไมใชคอมพิวเตอรเพ่อื การโจรกรรมขอ มูลขา วสาร • ตอ งไมใชค อมพวิ เตอรส รา งหลักฐานท่เี ปน เท็จ • ตองไมคดั ลอกโปรแกรมของผูอน่ื ทีม่ ลี ขิ สิทธ์ิ • ตอ งไมละเมิดการใชทรพั ยากรคอมพวิ เตอร โดยที่ตนเองไมมีสิทธ์ิ • ตอ งไมนาํ เอาผลงานของผอู นื่ มาเปนของตน • ตองคาํ นึงถงึ ส่ิงที่จะเกิดขน้ึ กับสงั คม ทเี่ กิดจากการกระทําของทา น • ตอ งใชคอมพิวเตอรโดยเคารพกฎระเบยี บ กติกา และมีมารยาท ขอขอบคณุ อาจารยยนื ภูวรวรรณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

มารยาทการใชม ือถอื ท่ีมารปู ภาพ:ilovebuddyphone o เคารพสถานที่ เชน หามเสยี งดัง หา มมีแสงสวา ง o ไมใชโ ซเชียลเน็ตเวิรคขณะประชมุ o กดโทรศัพทมากกวาคุยกบั เพ่อื น กม หนา เวลา สนทนา o ไมร บั โทรศพั ทขณะขึ้นลงรถยนต หรือขามถนน 5

Cyberbullying กลั่นแกลง กันบนโลกไซเบอร การกลน่ั แกลงในโลกไซเบอร คือการประทุษรา ยหรือทําใหผ อู ่ืนอบั อายผา นทางการใชส ่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส เชน อีเมล, การสงขอความ, บล็อก, เวบ็ ไซต, ชมุ ชนออนไลน, เมสเสจ, และโทรศพั ท สิง่ ทนี่ ักเลงไซเบอร ตัง้ ใจคอื การแสดงความเปน ศัตรูหรือแสดงออกในแงลบตออกี ฝา ยน่ันเอง 6

Cyberbullying กลนั่ แกลง กันบนโลกไซเบอร (ตอ ) 33% ของเดก็ ไทยมีประสบการณข องการเปน ท้งั ผทู ี่ถกู กลัน่ แกลง หรอื กอกวน บนโลกออนไลน จากคนท่ีไมรจู กั และหรอื จากคนท่ีรจู ักซง่ึ เปนคนเดยี วกบั ทแ่ี กลง อยูในโลกของความเปน จริง และในขณะเดียวกนั เด็กเหลา นี้ก็กลับเปน ผกู ลนั่ แกลง คนอืน่ บนโลกออนไลนโ ดยปดบัง ไมเปดเผยช่อื จริงในการใชอ ินเทอรเนต็ 35% ของเดก็ ไทย จะถูกสิ่งเรา ตา งๆ ไดง า ย โดยเฉพาะกับเวบ็ ไซดท ีไ่ มเหมาะสม ตางๆ อาทิ เกมอนั ตราย หรอื เวบ็ อนาจาร ท่ีเต็มไปดวยคํากาวราวและหยาบคาย ซ่ึงจะเขาไปดูและเกดิ พฤตกิ รรมเลียบแบบ 59% ของเด็กไทย จะรสู ึกวาตนเองสามารถแกป ญหาหรือเผชิญหนา กับความเลว รา ยบนโลกออนไลนนีไ้ ดดว ยตัวเอง หรือจะปรกึ ษาเพื่อนเปน อนั ดับแรก 7

ทําไมนักเลงไซเบอรถ ึงมมี ากขึ้น? • มีหลายทฤษฎีอธบิ ายวา การเพ่ิมขึ้นของการประทษุ รายออนไลนส วนหนึง่ เกิดจากเด็กทีม่ ีลักษณะชอบแกลง ผอู ่ืนอยแู ลว เปลีย่ นวธิ ีการมาใชอนิ เตอรเนต็ แทนการแกลง โดยตรงทโ่ี รงเรยี นเนื่องจากปลอดภยั จากสายตาของผใู หญมากกวา • แมเวบ็ ไซตหลายแหงมผี ดู ูแลเปน ผใู หญแ ละสามารถควบคุมใหผูใ ชบรกิ ารรกั ษากติกาและใชภ าษาท่เี หมาะสมได แตนักเลงไซเบอรก อ็ าจปว นเปยนแถวๆ นนั้ และหาโอกาสจองทํารายดวยการเอาคาํ พดู ของผดู ูแลไปปรบั เปลี่ยน ใหดูแยล ง หรือปลอยขาวลือดา นลบตอ เว็บไซตแ หง นัน้ ไดเ ชนกนั • ปจจุบันนี้หลายประเทศไดป ระกาศใชพรบ.ปองกนั การกระทําผดิ ทางอินเตอรเ นต็ แลว และยอมรับวาผูทท่ี ําตวั เปนนกั เลงไซเบอรเปน “อาชญากร” ดว ย แมแ ตก ารเขียนคอมเมนตท เ่ี ปน การสบประมาทในเรื่องเชอื้ ชาต,ิ ศาสนา, เผา พนั ธ,ุ หรือเพศกจ็ ัดเปนการกระทําผดิ ดว ยเชน กนั 8

กรณศี ึกษา จากใจแม. .ทีเ่ กือบเสยี ลกู ใหกับดานมืดของโลกออนไลน “แมค รับ หากผมสอบเขาม.1 ได ผมขอโทรศัพทมือถอื เปน รางวลั นะครับ” ทม่ี า: http://www.brandbuffet.in.th/2016/05/dtac-mother-and-son-story/ 9

วิธปี อ งกนั ภัยจากนกั เลงไซเบอร •สงิ่ แรกทพ่ี อแมควรทํากอ นตดิ อินเตอรเน็ตใหลกู ท่ี บา นคอื เตือนใหท ราบวาโลกภายนอกมอี ะไรท่ี อันตรายบา ง และสอนใหร ูจกั คุณธรรมและจรยิ ธรรม ซึ่งหมายถึงความคิดดแี ละพฤติกรรมทาํ ดวี าเปน อยางไร ไมใชเฉพาะเร่อื งทว่ั ไปเทานัน้ การคดิ ชอบทาํ ชอบในโลกออนไลนก็ตอ งสอนดวย รวมถึง โทรศัพท มอื ถอื เชน กัน 10

วิธีปอ งกันภัยจากนกั เลงไซเบอร (ตอ ) •เด็กๆ สามารถปองกนั ตวั เองจากนกั เลงไซเบอรไ ดอ ยางไร •อยา ใหขอมลู ติดตอของตัวเองทางเน็ตเด็ดขาด เชน เบอรโ ทรศพั ท, ช่ือทเ่ี ราใชใ นเนต็ , อีเมลแ อดเดรส, หรือที่อยูทบี่ า น •บอกผูใหญถ า รูสกึ วา โดนรังแกในเน็ต •ถา เปนเว็บเกมออนไลนห รือสงั คมออนไลน ใหแ จง ผูดแู ลเว็บไซตเพ่ือตดิ ตามพฤติกรรมนักเลงไซเบอร เหลา นี้ •ยนื หยดั สกู บั พวกนกั เลงไซเบอรดวยการไมเ ขารว มพฤตกิ รรมการกลน่ั แกลง หรอื ผสมโรงแกลงคนอน่ื หรือใหค วามเห็นตามนํา้ ไปดวย • ทมี่ า: How To Protect Kids From Cyberbullies: Keeping Teens and Tweens Safe From Online Dangers [Internet]. 11

แนวทางปฏิบัติเมื่อเกดิ การรังแกในโลกไซเบอรข ้ึน • บอกนกั เลงคนน้ันใหห ยดุ เสียที ตองบอกใหช ดั เจนและหนกั แนน 12 • ถา รวู า นักเลงอยูทีไ่ หน อาจสงจดหมายไปทบี่ านเพือ่ เตือน • ถา นกั เลงเปนคนท่รี ูจัก เชน เพอื่ นของลกู อาจแจงกับอาจารยที่โรงเรียน ใหช วยเหลอื ดว ย • รายงานพฤตกิ รรมการรังแกตอ เจา หนาทตี่ ํารวจ • รายงานไปยังหนวยงานที่ดูแลความเรียบรอ ยของโลกออนไลนหรอื บริษัท ใหบริการโทรศพั ท • เซฟขอ ความทเ่ี ปน การรังแกเอาไวเพอ่ื เปน หลกั ฐาน • บล็อกไมร ับขอความจากนกั เลงคนนนั้ • ที่มา: How To Protect Kids From Cyberbullies: Keeping Teens and Tweens Safe From Online Dangers [Internet].

STOP Cyberbullying Day 17 มถิ ุนายน 2559 “วันหยดุ การกลน่ั แกลง ทางโลกออนไลน” ขอขอบคุณภาพจาก เว็บ Blog Noossara Leenark, และ 13 \"บรษิ ัท เนชั่น บรอดแคสตง้ิ คอรป อเรชั่น จาํ กดั (มหาชน)\"

ภัยจาก Social Network ขอขอบคณุ ภาพจาก Panyapiwat Institute of Management 14

ขอขอบคณุ ภาพจาก 15

ใกลกันมากขึ้น..แต. . ขอขอบคณุ ภาพจาก 16

Workshop 1 •โดน tag ใน FB ทาํ อยางไร?? 17

Workshop 2 •เจอเนื้อหาไมเหมาะสมทาํ อยางไรด?ี ? 18

Workshop 3 •Facebook Privacy Setting 19

20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook