Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9 ประเด็นสุขภาพสำคัญ รู้ทันโควิด-19

9 ประเด็นสุขภาพสำคัญ รู้ทันโควิด-19

Published by viriyatal, 2021-05-12 06:31:41

Description: 9 ประเด็นสุขภาพสำคัญ รู้ทันโควิด-19

Search

Read the Text Version

9 ประเด็นสขุ ภาพสาคญั ร้ทู นั โควดิ -19

โลกตอ้ นรับเราเข้าสขู่ วบปใี หม่ด้วยขา่ วสถานการณโ์ รค Covid-19 ทยี่ งั คงระบาดอยา่ งต่อเนือ่ ง หลายคนเร่ิมปรับตัวและคนุ้ ชินกบั การใช้ชวี ิตแบบ New normal ขณะที่หลายคนกย็ งั คงกงั วลอยู่ ตลอดเวลาว่าน่ีเราติดเช้อื แล้วใช่ไหม... ขา่ วสารท่ีไดย้ ินมาเปน็ จรงิ หรือไม.่ .. หรอื จะดูแลคนในครอบครัวให้ รอดจากเช้อื ไวรัสน้ีไดอ้ ย่างไร... ? เราจงึ ขอรวบรวม 9 ประเด็นสขุ ภาพสาคญั ทจ่ี ะชว่ ยในการรับมือการแพร่ระบาดอีกระลอกของเช้ือ Covid-19 ไดอ้ ย่างมสี ติและถูกต้องมากขึ้น มาดูกันวา่ หลังจากอยู่กับเชื้อ Covid-19 มารว่ ม 1 ปี พวกเราได้ เรยี นรอู้ ะไรบา้ ง อาจจะมีขอ้ สงสยั ตรงไหนที่ยงั ต้องการคาตอบทีช่ ดั เจนขึน้ หรอื อาจจะมีข้อเท็จจรงิ ท่ียังต้อง ชว่ ยกันนาเสนอใหถ้ ูกต้อง รวมถงึ มีข้อแนะนาท่ีจะช่วยปอ้ งกันตัวเราและคนรอบข้างให้ปลอดภยั จากเชอื้ โรคได้ มากยิ่งขน้ึ

1) Recheck นสิ ัยการใส่ “หนา้ กากอนามัย” อยา่ งไรใหถ้ กู ตอ้ ง แมว้ ่าเราจะใส่หน้ากากอนามยั กนั จนเป็นสว่ นหนงึ่ ของวถิ ชี ีวิตปกตไิ ปแลว้ แต่บางคนกอ็ าจจะยงั สวมใส่ไม่ถูกต้อง ซึง่ กระทรวงสาธารณสุขแนะนาใหเ้ ร่ิมจากการลา้ งมอื ให้สะอาดทุกครงั้ ก่อนหยิบหนา้ กาก อนามัยขึน้ มาใส่ โดยหันดา้ นท่มี สี ีเขม้ หรอื ผวิ มนั ไว้ดา้ นนอก ดงึ หน้ากากให้คลมุ ท้ังจมกู และปาก และบบี ขอบลวดให้แนบกบั จมกู มากท่สี ดุ เมือ่ ใช้งานเสรจ็ ควรถอดทิ้งทนั ที โดยพับทบกันให้ด้านท่สี มั ผสั จมูกและ ปากอยู่ข้างใน แลว้ มัดด้วยสายรัดให้แน่น จากน้ันจงึ ทิ้งในถังขยะทีม่ ีฝาปดิ มดิ ชดิ เพ่ือปอ้ งกันการแพร่เชือ้ และสาหรับใครทีใ่ ช้หน้ากากผ้า ก็ควรซักให้สะอาดกอ่ นนามาใชซ้ ้าในทุก ๆ วนั ดา้ นองค์การอนามัยโลกหรอื WHO ก็ออกมาย้าวา่ ไมค่ วรใชห้ น้ากากชนดิ ท่ีมวี าลว์ เนื่องจากมี โอกาสท่เี ชอื้ โรคจะแพรจ่ ากตัวเราไปส่คู นอืน่ ได้ ท่ีสาคัญ ไมค่ วรใช้มือจบั หนา้ กากอนามัยระหวา่ งสวม ใส่ และไม่ควรดงึ หนา้ กากอนามัยลงมาพักไวใ้ ต้คาง เพราะมคี วามเสี่ยงทจ่ี ะปนเปอ้ื นเช้ือโรคไดเ้ ชน่ กัน

2) เช้อื โรค Covid-19 กลวั “อากาศรอ้ น” จรงิ หรอื ไม่ หลายคนอาจคิดวา่ โชคดีจังท่ีอยเู่ มืองไทย อากาศรอ้ นขนาดน้ี เชอ้ื โรค Covid-19 คงจะตาย กอ่ นแน่ ๆ แต่ในความเป็นจรงิ นน้ั เชอ้ื โรค Covid-19 ไมไ่ ด้แคร์ว่าอากาศจะร้อนหรอื หนาวแต่อย่างใด งานวิจัยจาก The University of Texas สหรัฐอเมริกา บอกกบั เราวา่ สภาพอากาศซ่งึ ก็คือ อุณหภูมกิ บั ความช้ืน ไม่ได้เปน็ ปัจจยั สาคญั ตอ่ การระบาดของเชื้อโรค Covid-19 สาเหตุหลักกค็ อื พฤตกิ รรม ของคนเรามากกว่า ไมว่ ่าจะเปน็ การออกไปทากิจกรรมนอกบ้าน การใส่หน้ากากอนามยั หรือการเว้นระยะหา่ ง สว่ นสภาพอากาศอาจจะมีผลเลก็ น้อย อย่างเช่นอากาศทหี่ นาวเย็นจดั อาจทาให้คนรวมตัวกนั อยู่แตใ่ นบา้ น จนแพร่เช้อื ถึงกนั ได้งา่ ยขนึ้ เรียกว่าสภาพอากาศส่งผลตอ่ พฤติกรรมของเรา มากกว่าจะสง่ ผลโดยตรงตอ่ การ ระบาดของโรค ดงั นนั้ แล้ว ไม่วา่ เราจะอย่ใู นสภาพอากาศแบบไหน ก็ควรเน้นท่ีการดแู ลพฤตกิ รรมให้ถูก สุขอนามัย เพ่ือป้องกันตัวเราและคนในครอบครัวให้ปลอดภัยจากเชอื้ Covid-19

3) “สบู่ VS เจลแอลกอฮอล์” ใครคือมอื หน่ึงในการจัดการกบั เชอ้ื Covid-19 มอื ทีส่ ะอาดหมดจดจะชว่ ยปกปอ้ งตวั เราเองจากเชอ้ื Covid-19 ไดด้ ที ่สี ุด แล้วระหวา่ งสบกู่ บั เจล แอลกอฮอล์ ตัวช่วยตวั ไหนทส่ี ามารถจัดการกบั เช้ือโรคไดด้ ีกว่ากนั มาเร่มิ จากตวั ชว่ ยสามัญประจาบ้านอย่าง สบู่ เวลาทเี่ ราถูสบู่น้ัน โมเลกุลส่วนหางของสบู่จะจับกับโมเลกลุ ของไขมนั ซง่ึ เป็นเหมือนกับผนังหรอื เกราะ ท่ีจบั ตัวหอ่ หุม้ ไวรัสไว้แบบหลวม ๆ สบจู่ ะทาใหไ้ ขมันเหลา่ นีแ้ ยกออกจากกนั เม่ือเกราะคุ้มกันแตก เช้ือไวรสั จึงถูกทาลาย และถูกชะล้างออกไปจากมือเราทนั ทเี มือ่ ล้างนา้ สว่ นเจลแอลกอฮอล์ ทมี่ แี อลกอฮอลม์ ากกว่า 70% นั้น มีหลกั การทางานโดยจดั การชั้นไขมนั ของ ไวรัส ทาใหไ้ วรสั หมดฤทธ์ิ ไมส่ ามารถทาใหร้ ่างกายเราติดเชอ้ื ไดอ้ ีกตอ่ ไป เราจงึ มักได้ยินคนใช้คาวา่ แอลกอฮอลฆ์ ่าเชื้อ อยู่บอ่ ย ๆ นน่ั เอง หลกั การนี้ใชไ้ ดผ้ ลกับเชื้อไวรัส Covid-19 ดว้ ย เน่ืองจากเช้อื ไวรัสสายพันธ์นุ ถี้ กู ล้อมรอบไว้ด้วยไขมันและ โปรตีนเชน่ กนั ดังนัน้ เราจึงสามารถเลอื กใช้สบู่หรอื เจลแอลกอฮอล์ไดต้ ามความเหมาะสมของสถานการณ์

4) เราจะมโี อกาสติดเช้อื Covid-19 ผา่ น “อาหาร” ท่ีรบั ประทานเข้าไปไดห้ รอื ไม่ ทกุ วันน้ี ยงั ไมพ่ บหลกั ฐานวา่ มคี นตดิ เช้ือ Covid-19 จากการรับประทานอาหาร อยา่ งไรกต็ ามเนอ่ื งจากเชอ้ื ไวรสั ตวั นีไ้ มไ่ ดท้ นความรอ้ นได้เกง่ กวา่ เช้ือโรคตวั อน่ื ๆ ดงั นั้น เพื่อความปลอดภยั จึงแนะนาใหร้ บั ประทานอาหาร ท่ีปรุงสุกอยา่ งนอ้ ย 70 องศาเซลเซียส สว่ นบรรจภุ ณั ฑ์อาหารท่หี ลายคนกงั วลว่าจะมกี ารปนเปือ้ นเชื้อโรคติดมา ด้วยน้นั แคเ่ ราลา้ งมอื ใหส้ ะอาดหลงั จบั บรรจุภณั ฑก์ ็เพยี งพอ และสาหรับใครทชี่ อบส่ังอาหารแบบเดลิเวอรี่ และไมแ่ นใ่ จว่า มไี วรัสส่งเปน็ ของแถมมากับอาหารดว้ ยหรือเปล่า กส็ ามารถใช้วธิ ีการลา้ งมอื ใหส้ ะอาด เปน็ ตวั ช่วย สดุ ท้ายไดเ้ สมอ ทส่ี าคญั อย่าลมื รบั ประทานอาหารใหห้ ลากหลาย โดยเน้นผักผลไม้ เพอื่ เสรมิ สร้างระบบภมู คิ ุ้มกัน ของเราเอง

5) เราควรต้องกังวลแค่ไหน กับขา่ ว “การกลายพันธุ์” ของเช้ือไวรัส Covid-19 ความจริงก็คือ ไวรสั Covid-19 นัน้ อาจคอ่ ย ๆ กลายพนั ธ์มุ าเร่ือย ๆ ต้ังแตแ่ รกเริม่ แลว้ เพราะ ไวรสั ก็มกั จะพัฒนาตวั เองอยตู่ ลอดเป็นปกติ ซ่ึงกย็ ังไมพ่ บหลกั ฐานวา่ การกลายพนั ธ์ไุ ปส่สู ายพนั ธ์ใุ หม่น้ี จะทาให้อาการป่วยของคนรนุ แรงหรือเปน็ อนั ตรายมากขึ้น เพยี งแต่ทาให้เช้อื แพรร่ ะบาดระหวา่ งคนสู่คน ได้ง่ายขึน้ เท่าน้นั ดังน้ัน วธิ ีท่ีเราควรปฏิบัตใิ นการดูแลตวั เองให้ปลอดภัยจึงยังคงเหมือนเดิม สว่ นคาถามที่ว่า วคั ซีนทีผ่ ลติ ไว้แลว้ จะใช้ได้ผลกับไวรัสท่กี ลายพันธุ์ด้วยหรือไม่ เนอื่ งจากวัคซีน ผลติ ข้นึ ต้องผ่านการทดลองกบั ไวรัสมาแลว้ หลากหลายสายพนั ธุ์จนแน่ใจในประสิทธภิ าพ เราจึงคอ่ นขา้ ง ม่ันใจในผลลัพธ์ของวัคซีนทีผ่ า่ นการทดสอบมาเป็นอย่างดีได้ โดยวคั ซนี จะกระตุ้นใหแ้ อนติบอดีในระบบ ภูมคิ ้มุ กนั ของรา่ งกายเราทางานได้ดีขน้ึ ท้งั แอนติบอดสี ่วนที่เปน็ ตัวคน้ หาและจัดการกับไวรัส และส่วนที่ เปน็ เหมือนเรดาร์คอยตรวจสอบสภาพความแขง็ แรง และทาหนา้ ทีเ่ หมือนระบบเตอื นภัยเบือ้ งต้นใหแ้ ก่ ร่างกาย

6) “คณุ แม่ตง้ั ครรภ์” มีความเส่ียงแคไ่ หนในช่วงการระบาดของ Covid-19 จากขอ้ มลู ขององคก์ ารอนามัยโลก ยังไมเ่ ป็นท่ที ราบแน่ชัดว่า เช้อื Covid-19 สามารถติดตอ่ จาก คุณแม่ท่ตี ิดเชือ้ ไปสลู่ กู ระหวา่ งตง้ั ครรภ์หรือระหวา่ งคลอดใดห้ รือไม่ และทุกวันนี้ก็ยงั ตรวจไมพ่ บไวรัสชนิดนใ้ี น ตัวอยา่ งของเหลวในครรภข์ องคุณแม่ หรือในน้านมแม่แตอ่ ย่างใด อยา่ งไรกต็ าม คุณแม่ตัง้ ครรภ์สามารถดแู ล ตัวเองได้ด้วยวธิ ีเดียวกบั คนท่วั ไป สว่ นคุณแมท่ ่ีติดเช้อื Covid-19 กส็ ามารถทาคลอดภายใต้การวนิ ิจฉัยและ การดูแลของทมี แพทยไ์ ด้ เชน่ เดียวกับการให้นมลกู ยงั ไม่มกี ารคน้ พบว่าเชือ้ Covid-19 สามารถแพร่สู่ลูกผ่านน้านมแม่ ดงั น้ัน แมว้ า่ คณุ แมจ่ ะติดเชื้อ ก็ยังสามารถสัมผัส อ้มุ และให้นมลูกได้ โดยควรใส่หนา้ กากอนามัยทาง การแพทยแ์ ละล้างมอื ให้สะอาด เพราะถงึ อย่างไร นมแม่ก็มคี วามสาคญั ตอ่ ความอยู่รอดและเจรญิ เติบโต ของทารกอย่างที่สุด

7) ชวน “ขยบั รา่ งกาย” วนั ละนดิ ฟติ รา่ งกายสู้ Covid-19 องคก์ ารอนามยั โลก หรอื WHO แนะนาให้เราทากจิ กรรมทางกาย หรอื physical activity อยา่ งสมา่ เสมอ แม้ในช่วงท่ตี ้องอยู่บา้ นเปน็ ประจาระหวา่ งเกดิ การระบาดของ Covid-19 โดยมคี าแนะนา สาหรบั คนแตล่ ะวยั ดังน้ี - เด็กอายตุ ่ากวา่ 1 ปี ควรทากจิ กรรมทางกายให้ได้วนั ละหลาย ๆ ครั้ง - เด็กอายุ 1 – 2 ปี ควรทากิจกรรมทางกาย โดยมกี ิจกรรมระดบั ปานกลางถงึ หนกั ร่วมดว้ ย อยา่ งน้อยวนั ละ 180 นาที - เดก็ อายุ 3 – 4 ปี ควรทากิจกรรมทางกายอย่างน้อยวนั ละ 180 นาที โดยให้มกี ิจกรรมระดบั ปานกลาง ถงึ หนักอย่างนอ้ ย 60 นาที - เด็กและวยั ร่นุ อายุ 5 – 17 ปี ควรทากิจกรรมทางกายระดับปานกลางถึงหนัก อยา่ งน้อยวันละ 60 นาที

-ผใู้ หญ่อายุ 18 – 64 ปี ควรทากจิ กรรมทางกายระดบั ปานกลาง อย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 150–300 นาที หรอื ทากิจกรรมทางกายระดับหนัก อย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 75 – 150 นาที - ผู้ใหญอ่ ายุ 65 ปขี ึ้นไป ควรทากจิ กรรมทางกายเชน่ เดยี วกับผู้ใหญ่อายุ 18 – 64 ปี แต่เพิม่ การฝกึ การ ทรงตัวและกลา้ มเน้ือในระดับปานกลางหรือมากกว่า ให้ได้ 3 วนั ต่อสปั ดาหข์ ึน้ ไป กิจกรรมทางกายในท่ีนี้ อาจจะเปน็ การเล่นกฬี า ออกกาลงั กาย ทางานบ้าน ทาสวน เลน่ หรอื เตน้ ประกอบเพลง โดยเฉพาะอย่างย่ิง ใครท่ตี ้องนั่งอยกู่ บั ทค่ี ราวละนาน ๆ ระหวา่ งทางาน เรียนออนไลน์ หรือใช้ เวลาอยู่หน้าจอโทรทศั น์หรอื สมารท์ โฟน แนะนาให้หยดุ พักทกุ 20 – 30 นาที แลว้ ลุกข้ึนมายืดเส้นยืดสาย เดนิ ผอ่ นคลายในบ้านหรือในสวน ให้ไดป้ ระมาณ 3 – 5 นาที ทง้ั หมดนี้ เพ่ือช่วยใหร้ า่ งกายแข็งแรงลดความเสี่ยงท่จี ะเกิดโรคตา่ ง ๆ รวมถงึ ลดความเครยี ด และเป็นโอกาสสรา้ งความสมั พันธท์ ด่ี ใี นครอบครวั ดว้ ย

8) “อาการ” แบบไหน น่าสงสัยว่าอาจตดิ เชอื้ Covid-19 หากร่างกายของเราได้รับเช้อื Covid-19 แลว้ กจ็ ะเรม่ิ แสดงอาการต่าง ๆ ภายในระยะเวลา 5 – 14 วัน ซง่ึ อาการก็จะคล้าย ๆ กบั อาการของโรคหวัดทว่ั ไป เพยี งแตแ่ พรก่ ระจายเช้อื ได้งา่ ยกว่า ในคนไข้บางคนอาจส่งผลตอ่ ระบบการทางานของรา่ งกายมากกว่า ขณะทบ่ี างคนก็สามารถดแู ลร่ายกายจน หายได้เองโดยไม่ต้องไปพบแพทย์ มาลองหม่ันสังเกตตัวเองและคนรอบขา้ ง วา่ มอี าการตอ้ งสงสัยเหลา่ นห้ี รอื ไม่ อาการทว่ั ไป เชน่ มไี ข้ ไอแห้ง เหนอื่ ยงา่ ย อาการท่อี าจพบไดร้ องลงมา เชน่ ปวดหวั ปวดเม่อื ยกลา้ มเนื้อ เจบ็ คอ น้ามูกไหล คล่ืนไสอ้ าเจียน รวมถึง การไม่รบั รู้รสหรอื ไม่ไดก้ ลน่ิ อาหาร อาจมอี าการท้องเสีย หรอื มีผื่นคันตามผิวหนังด้วย อาการรุนแรง เชน่ หายใจ พดู หรือเคลือ่ นไหวร่างกายลาบาก รวมถงึ อาการเจ็บหน้าอก หากพบสัญญาณ ฉกุ เฉินเหล่านี้ ควรรีบพบแพทย์โดยเรว็ ทสี่ ดุ

9) หากสงสัยวา่ “ตดิ เชอ้ื Covid-19” ควรทาอยา่ งไรดี สาหรับใครที่สงสยั วา่ ตนเองหรอื คนรอบข้างอาจจะตดิ เชอ้ื Covid-19 โดยเฉพาะกลุม่ ที่ควรไดร้ บั การ ดูแลใกล้ชดิ อย่างเชน่ ผู้สูงอายุ เด็ก คณุ แม่ต้งั ครรภ์ หรือผมู้ ีประวัติป่วยด้วยโรคปอดและโรคเบาหวาน กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ แนะนาว่าหากมีอาการเก่ียวกบั ทางเดนิ หายใจ ไมว่ ่าจะเป็น ไอ เจบ็ คอ หายใจเหนื่อย มีน้ามูก จมกู ไมไ่ ด้กล่นิ ล้ินไมร่ ับรส ควรรีบไปรบั การตรวจรักษาทีส่ ถานพยาบาลใกล้บ้าน โดยเร็ว โดยจะต้องปฏบิ ตั ติ วั ให้ถูกตอ้ ง ดว้ ยการรักษาระยะหา่ งจากผูอ้ ่ืน 1 – 2 เมตร ใส่หนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาการเดนิ ทาง หม่ันลา้ งมอื ดว้ ยสบหู่ รือเจลแอลกอฮอล์ และหลกี เลี่ยงการไปในสถานที่แออดั ทั้งน้ี หากมาสถานพยาบาลช้าเกิน 48 ชั่วโมง มีโอกาสท่จี ะเสยี ชีวติ ได้ และน่ีกค็ ือ 9 ประเดน็ สุขภาพเพอ่ื รับมอื กับ Covid-19 ซ่ึงอกี ข้อหนง่ึ ทีส่ าคญั ก็คอื การพยายามติดตาม ข้อมูลเพ่ืออพั เดตความคบื หนา้ เกยี่ วกบั สถานการณ์ Covid-19 โดยเฉพาะย่ิง ในยคุ ทีเ่ ต็มไปดว้ ยข้อมูลขา่ วสาร และทกุ ๆ บ้านมีอนิ เทอรเ์ น็ตเปน็ เครอื่ งมือสาคญั เชน่ นี้ อย่าลืมชว่ ยกนั ตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั Covid-19 ท่ไี ด้รบั จากโลกอินเทอรเ์ นต็ เพอื่ ไม่ให้ตกเปน็ เหยื่อของขา่ วลวงหรอื fake news ดว้ ยการลอง สงั เกตองค์ประกอบต่าง ๆ ของข่าว

แหลง่ ท่มี า: https://www.thaihealth.or.th/Content/54468- 9%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E% E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%20%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%84%E0 %B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%94-19.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook