Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติสุนทรภู่

ประวัติสุนทรภู่

Published by viriyatal, 2020-06-26 03:59:02

Description: ประวัติสุนทรภู่

Search

Read the Text Version

ประวตั สิ ุนทรภู่ \"วนั สุนทรภู่\" 26 มถิ ุนายน ผลงาน ความสาคญั ประวัตสิ ุนทรภู่เปน็ เรื่องท่ีเราอาจจะไม่ได้ทราบมากนัก แต่นทิ านคากลอนต้องเคยผ่านตาเด็กนกั เรียนไทย เพือ่ เรยี นกลวิธีการเขยี นอกั ขระ ผ่านเรื่องเลา่ ที่จูงใจไดส้ นกุ สนานให้สนใจในการอา่ นหนงั สือ วนั สุนทรภู่ 2563 เรามาราลึกถึงนักเขยี นคนนีก้ ันอกี ครั้ง ทุกปวี นั สนุ ทรภู่ คอื วนั ทีผ่ ทู้ ่เี คยติดตามผลงานของสนุ ทรภู่ต่างระลกึ ถึงนิทานคากลอน ไม่ว่าจะเป็นพระ อภัยมณี, กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า, สิงหไตรภพ ทีเ่ คยนามาทาเปน็ ละครหลายเวอร์ชั่นแลว้ และหากคุณยังไมท่ ราบ ประวตั สิ ุนทรภู่ ไทม์ไลน์ประวตั สิ ุนทรภู่ ผทู้ ่ีเรียบเรยี งประวัติของสุนทรภเู่ ก็บไวเ้ ปน็ หลกั ฐานได้ดีที่สุด คือ หนงั สอื ประวตั ิสุนทรภู่ พระนิพนธ์ใน สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงเรยี บเรียงไว้ กล่าวถึงชวี ิตในช่วงต้นรัตนโกสนิ ทร์

เดก็ ชายภู่เกิดและโตอยูท่ างด้านเหนอื ของวงั หลงั ซึง่ เป็นสถานีรถไฟบางกอกน้อยในปจั จบุ ัน เล่ากันวา่ มารดาเปน็ แม่นมของพระองคเ์ จ้าหญิงจงกล พระธิดาในกรมพระราชวังหลัง ในรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า จฬุ าโลกมหาราช (รชั กาลที่ 1) เด็กชายภูโ่ ตอย่ใู นวงั หลงั และได้เรยี นหนังสือกับพระในสานักชีปะขาว (ปัจจบุ นั คอื วัดศรีสุดาราม) ตาม ประเพณขี องไทยทส่ี ง่ ลูกหลานเข้าไปเรยี นหนงั สือในวดั ประวัตสิ นุ ทรภ่ชู ว่ งก่อนรบั ราชการ  พ.ศ.2329 - 26 มิถุนายน (ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช)  พ.ศ.2349 - นายภู่เดินทางไปหาบดิ าทเี่ มืองแกลง จังหวัดระยอง จงึ ไดแ้ ต่ง นริ าศเมืองแกลง  พ.ศ.2350 - นายภรู่ ับราชการเปน็ มหาดเลก็ ในพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ ตามเสด็จไปบูชาพระพุทธบาท จังหวัดสระบรุ ี ในวันมาฆบูชาปนี น้ั จึงไดแ้ ตง่ นริ าศพระบาท ประวตั ิสนุ ทรภูช่ ว่ งทร่ี ับราชการในรชั กาลท่ี 2 อยู่ 8 ปี  พ.ศ.2359 - เขา้ สู่รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี 2) นายภู่เข้ารับราชการใน กรมพระอาลักษณ์ ได้รบั ตาแหน่งเป็น “ขนุ สนุ ทรโวหาร” เพราะทดลองแต่งกลอนบทละครรามเกียรติต์ ่อจากพระราชนพิ นธใ์ นรัชกาล ที่ 2 ทรงพระกรุณาฯ ซึ่งเปน็ ช่วงทีส่ นุ ทรภูม่ ชี ่ือเสียง มชี ีวติ การงานที่รุ่งโรจน์ ไดร้ บั เล่ือนเป็น “หลวงสนุ ทรโวหาร” ได้รบั บ้านประจาตาแหน่งท่ที า่ ช้าง (อย่ใู กล้วังท่าพระ) มีหนา้ ที่คอยถวาย ความคิดเหน็ เกี่ยวกับพระราชนพิ นธว์ รรณคดีตา่ งๆ ทไ่ี ดเ้ ล่ือนขนั้ เพราะแตง่ บทกลอนตอนนางสีดาผกู คอตาย และ ศกึ สิบขนุ สินรถ บรรยายฉากรถศึกของทศกณั ฐไ์ ดด้ ี  พ.ศ.2367 - เป็นชว่ งปลายรบั ราชการในรัชกาลท่ี 2 คาดวา่ สนุ ทรภู่แต่ง “สวัสดิรักษา” ระหว่างท่ีถวาย งานเป็นพระอาจารย์ถวายอักษรพระราชโอรสในรัชกาลท่ี 2 ประวัติสนุ ทรภชู่ ว่ งที่บวชอยู่ 18 ปี  พ.ศ.2372 - ระหว่างเปลีย่ นรชั กาล สนุ ทรภูบ่ วชเป็นพระภกิ ษแุ ละได้เป็นพระอาจารย์ถวายอกั ษรเจา้ ฟา้ กลาง คาดวา่ ระหวา่ งน้ันได้แต่งเร่ือง เพลงยาวถวายโอวาท และได้แต่งโคลงกลอนนทิ านไว้มากมาย อาทิ พระอภยั มณี, ลกั ษณวงศ์, สิงหไตรภพ

 พ.ศ.2385 - ก่อนลาสกิ ขา พบวา่ พระสนุ ทรภูไ่ ด้แต่ง ราพนั พิลาป ซง่ึ เป็นผลงานที่เพ่ิงได้รับการเปดิ เผยใน ปี พ.ศ.2480 ในเกือบ 100 ปีถัดมา โดยพระยาราชสมบัติ (เอิบ บุรานนท)์ เปน็ ผมู้ อบต้นฉบบั ทพ่ี บใหแ้ ก่ หอสมุดแหง่ ชาติ นักประวัติศาสตรส์ มัยน้ันจงึ ไดท้ ราบเป็นหลักฐานเรียงไทม์ไลนช์ ีวประวตั ขิ องสุนทรภไู่ ด้ ชดั เจนยง่ิ ขน้ึ  พ.ศ.2394 - เปลย่ี นรัชกาลอีกครง้ั พระสุนทรภู่ลาสกิ ขา รับราชการเปน็ เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวงั บวร ไดร้ บั บรรดาศกั ดิ์เป็น “พระสนุ ทรโวหาร” ไดแ้ ตง่ นริ าศ 2 เรอื่ ง คือ นริ าศเมืองเพชร และ นริ าศพระ ประธม บา้ งก็วา่ บน้ั ปลายชีวิตสนุ ทรภู่อาศยั อยใู่ นเขตพระราชวงั เดิม ใกลห้ อพระยามณเฑียรบาล (บัว) ถึงแกอ่ นจิ กรรมในปี พ.ศ.2398 สิรอิ ายุ 69 ปี แต่ข้อมลู จากสารานุกรมไทยฉบบั เยาวชน ระบวุ ่า สุนทรภซู่ อ้ื บ้านอยู่ย่านธนบุรี และ เสียชีวิตทบ่ี ้านนีเ้ มอื่ อายุ 80 ปเี ศษ ภาพกุฏสิ นุ ทรภู่ ภายในวดั เทพธดิ าราม กรุงเทพฯ ปจั จบุ ันเปดิ เปน็ พิพธิ ภัณฑ์สนุ ทรภู่

ผลงานสุนทรภูท่ โี่ ดดเด่น คอื “พระอภยั มณี” บทกลอนนิทานเร่อื งน้ีไดร้ บั การยกย่องครงั้ แรกจากวรรณคดีสโมสร วา่ เป็นสดุ ยอดวรรณคดไี ทยประเภท กลอนนทิ าน และเรื่องนไี้ ดร้ ับการแปลเป็นภาษาตา่ งประเทศ และในปี พ.ศ.2529 สนุ ทรภู่ได้รบั การยกย่องจาก ยูเนสโกให้เป็นบคุ คลสาคัญของโลกด้านวรรณกรรม ความโดดเด่นของ “พระอภัยมณี” แสดงใหเ้ หน็ วา่ สนุ ทรภูเ่ ป็นผู้ท่มี คี วามสนใจในเทคโนโลยีและนวัตกรรม สมยั ใหมจ่ ากชาวตา่ งชาติที่เข้ามาเผยแพร่ในพระนครในสมัยนัน้ คาดวา่ สนุ ทรภู่จะพูดภาษาอังกฤษได้ และได้ แลกเปลย่ี นความรกู้ ับชาวต่างชาติ ดังสังเกตเหน็ ได้จากตวั ละครผหู้ ญงิ ท่ีขน้ึ มาเป็นผู้นา เป็นเจ้าเมือง และมีสิทธ์ิ ตัดสินใจ แตกต่างจากสตรไี ทยในยุคน้นั ทจี่ ะต้องอยู่กบั เหย้า เฝา้ กบั เรือน ไม่มีบทบาทข้ึนมาทางานเทียบเทา่ ผชู้ าย ได้

ผลงานสนุ ทรภทู่ งั้ หมด นริ าศ 9 เรื่อง ได้แก่  นิราศเมืองแกลง (พ.ศ.2349)  นริ าศพระบาท (พ.ศ.2350)  นิราศภเู ขาทอง (ประมาณ พ.ศ.2371)  นริ าศสพุ รรณ (ประมาณ พ.ศ.2374)  นริ าศวดั เจา้ ฟา้ (ประมาณ พ.ศ.2375)  นริ าศอเิ หนา (คาดว่าเป็นสมยั รชั กาลที่ 3)  ราพนั พิลาป (พ.ศ.2385)  นิราศพระประธม (พ.ศ.2385)  นิราศเมืองเพชร (พ.ศ.2388) นิทานกลอน 5 เรอ่ื ง  โคบุตร  พระอภยั มณี  พระไชยสุริยา  ลกั ษณวงศ์  สิงหไกรภพ สุภาษติ 3 เร่ือง  สวสั ดิรกั ษา  เพลงยาวถวายโอวาท  สุภาษิตสอนหญงิ

บทละคร 1 เรอื่ ง  อภยั นรุ าช บทเสภา 2 เร่ือง  ขุนชา้ งขนุ แผนตอนกาเนดิ พลายงาม  เสภาพระราชพงศาวดาร บทเหก่ ลอ่ มพระบรรทม 4 เรอื่ ง  เห่เรอ่ื งพระอภัยมณี  เห่เรือ่ งโคบุตร  เห่เรอื่ งจับระบา  เหเ่ รื่องกากี ตามรอยราลกึ ถงึ สุนทรภู่ ได้ที่ไหนบ้าง วนั สนุ ทรภู่ 2563 น้ีถ้าอยากราลึกถงึ สนุ ทรภู่ หรือต้องการขอพรเรื่องการงาน การเรยี น ก็สามารถเดนิ ทางไปยัง อนสุ าวรียเ์ มืองแกลงจงั หวดั ระยอง หรือใครอย่ใู กล้กรุงเทพฯ ก็เดินทางไปยังวัดเทพธิดาราม 1. อนุสาวรีย์สุนทรภู่ จ.ระยอง

เนื่องจากสุนทรภู่เป็นครูกวี ท่ีแตง่ บทเรียนคากลอนไวม้ ากมาย ชาวบา้ นจึงมีความเช่ือวา่ หากจุดธูปขอ พรท่ีอนุสาวรียส์ ุนทรภู่ จะสมหวงั เร่ืองเรียน และเรื่องงาน ณ บริเวณอนุสาวรียส์ ุนทรภู่ ตาบลกร่า อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง แวะเที่ยวเกาะเสมด็ ถ่ายภาพเช็กอินกบั ผเี ส้ือสมุทร บทสวดขอพรเร่ืองเรียน เร่ืองงาน จากสุนทรภู่ ใชธ้ ูป 5 ดอก ดอกไม้ 1 กา ต้งั นโม 3 จบ ตามดว้ ย ยะมะหงั ท่านสุนทรภู่ สะระณงั คะโต อิมินา สกั กาเรนะตงั ทา่ นสุนทรภู่ อะภิปูชะยามิ 2. วัดกระแสรค์ หู าสวรรค์ จ.ระยอง วัดทช่ี าวบ้านสร้างปนู ปน้ั ขน้ึ รูปตัวละครในวรรณคดีพระอภัยมณี ตกแต่งรอบวดั ถือเป็นการจาลองตวั ละครใน จินตนาการขน้ึ มาใหผ้ อู้ า่ นพระอภัยมณไี ด้นึกภาพออก (ทตี่ ั้ง : วัดกระแสรค์ ูหาสวรรค์ ถนนสายบา้ นกระแสบน- บา้ นอู่ทอง ตาบลกระแสบน อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง) 3. ถา้ จนั จ.เพชรบรุ ี ครง้ั หนึง่ ทสี่ ุนทรภู่เคยเดินทางแตง่ นริ าศเมืองเพชร ขณะออกบวช ในปัจจุบนั ก็ยังคงปรากฏทวิ ทัศนส์ วยงามตาม แบบนิราศ และทุกปชี าวเพชรบรุ มี ักจดั กิจกรรม เปน็ การเรียนร้ปู ระวัติศาสตรผ์ ่านวรรณกรรมที่นีด่ ้วย (ที่ตง้ั : ถ้า จัน ตาบลธงชยั อาเภอเมอื ง จังหวดั เพชรบุรี) 4. รอยพระพุทธบาท จ.สระบรุ ี ภาพข่าวไทยรัฐ

ในนริ าศพระบาททีค่ าดว่าสนุ ทรภู่แต่งก่อนเขา้ รับราชการ ไดเ้ คยเดนิ ทางมายงั พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี สมัย น้นั การเดินทางไม่ง่ายเหมือนทกุ วนั นี้ ความสวยงามแตกต่างจะเปน็ อย่างไรต้องแวะมาสักการะ (ท่ตี งั้ : วัดพระพุทธ บาท ราชวรมหาวหิ าร ตาบลขนุ โขลน อาเภอพระพุทธบาท จ.สระบรุ ี) 5. พิพธิ ภณั ฑส์ นุ ทรภู่ วัดเทพธิดาราม กรุงเทพมหานคร ภาพ จาก https://db.sac.or.th/museum/museum-detail/159 เมอ่ื คุณเดนิ ทางมาเทีย่ ววดั พระแก้ว หรอื แวะผ่านมาแถวถนนข้าวสาร ควรข้ามถนนราชดาเนนิ มาฝั่งวดั ภูเขาทอง สังเกตป้าย “วดั เทพธดิ าราม” เพื่อเยี่ยมชมสถานทพ่ี ักอาศยั จาพรรษาของพระสนุ ทรภู่ ซึง่ ท่านใช้สถาน ที่นแ้ี ตง่ บทกลอนพระอภัยมณี รวมถงึ ตน้ ไม้ต่างๆ ท่ีเคยกล่าวไว้ในราพนั พิลาป เช่น ตน้ ทรงบาดาล ชมพู่ ก็ยังอยูใ่ น วดั และทางวัดยังได้เกบ็ ข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ไว้ให้ชนรุน่ หลงั ได้ศึกษา ไมเ่ ก็บค่าเขา้ ชม แต่หากต้องการเขา้ ชม เปน็ หมคู่ ณะ ตอ้ งติดต่อกบั ทางวดั ล่วงหน้า (ที่ตั้ง : วัดเทพธิดาราม ถนนมหาไชย แขวงสาราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ) ที่มา : saranukromthai.or.th, ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสิรนิ ธร, พพิ ธิ ภัณฑ์สนุ ทรภู่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook