Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิเคราะห์หลักสูตร รายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่๑

วิเคราะห์หลักสูตร รายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่๑

Published by jiraporn muangnga, 2022-08-28 07:07:54

Description: 1.1 วิเคราะห์หลักสูตร ..

Search

Read the Text Version

วิเคราะหห ลกั สตู ร กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย (รหัสวชิ า ท ๑๑๑๐๑) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๕ นางสาวจิราภรณ เมืองงา ตาํ แหนง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการ โรงเรยี นบานทาอาจ สังกดั สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๒ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

บนั ทกึ ขอ ความ สว นราชการ โรงเรียนบานทาอาจ ท่ี.............../........2565.......... วันท่.ี .....1๗...เดือน.....พฤษภาคม.....พ.ศ..2565.. เรื่อง การวิเคราะหห ลักสูตรวิชาภาษาไทย ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 เรยี น ผูอ ำนวยการโรงเรยี นบานทาอาจ ดวยขาพเจานางสาวจิราภรณ เมืองงา ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติการสอนรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 11101 ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 1/3 ปการศึกษา 2565 บัดน้ี ขา พเจา ไดว เิ คราะหหลกั สตู รวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท 11101 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1/3 เสร็จเปน ทเ่ี รียบรอยแลว เพื่อนำไปวางแผนการจดั การเรยี นรู ใหมปี ระสทิ ธภิ าพ บรรลุเปา หมายการเรียนรตู อ ไป จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงชื่อ.................................................. นางสาวจิราภรณ เมอื งงา ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ ความคดิ เหน็ หัวหนาบรหิ ารงานวิชาการ ความคดิ เห็นของรองผอู ำนวยการสถานศึกษา ........................................................................................ ......................................................................................... ....................................................................................... ........................................................................................ ลงชอื่ ลงชอื่ ( นางสภุ าพร จอมประเสรฐิ ) ( นางสาววรากร ทองทวี ) ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ รองผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นทา อาจ ความคดิ เหน็ ของผูอำนวยการสถานศึกษา .................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงช่อื ..................................................... ( นายกิชสณพนธ เฉลิมวสิ ตุ มกุล ) ผูอำนวยการโรงเรยี นบา นทาอาจ



สาระท่ี 1 การอานตารางการวิเคราะหห ระดบั ช้นั ชั้น � อนบุ าลปท่ี � ประถมศึกษ ของ � นาย � นาง � นางสาว จิรา สาระท่ี ๑ การอาน มาตรฐาน ตัวชว้ี ัด สาระสำคญั K มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการท ๑.๑ ป.๑/๑ อานออกเสยี งคำ คำ - การอานออกเสียง คอื การอาน การอา นออกเสียงค อานสรางความรูและความคิดเพ่อื คลองจอง และขอ ความสน้ั ๆ เปลงเสียงตามตวั อกั ษร คำ คำคลอ ง และขอความสนั้ ๆ นำไปใชตดั สินใจ แกปญ หาในการ จองและขอ ความสนั้ ๆให ดำเนินชีวิตและมีนสิ ยั รักการอาน ถกู ตองชัดถอยชัดคำเพอ่ื ใหเกดิ ความ เขา ใจท่ีถกู ตอง ท ๑.๑ ป.๑/๒ อธบิ ายความหมายของ - ความหมายของคำ คือส่ิงท่ีคำ การบอกความหมาย คำและขอความท่ีอาน จะบอกถึงวา หมายถึงอะไร ซึ่งคำ ขอความทอี่ าน จะประกอบดว ย เสยี ง และ ความหมาย ซงึ่ คำคือ เสยี งที่เปลง ออกมาแลวตองมี ความหมายดวย

หลักสูตร กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ษาปท่ี 1 � มัธยมศึกษาปท่ี……………….. าภรณ นามสกุล เมอื งงา KA P สาระการเรยี นรูแกนกลาง หมายเหตุ คำ คำคลอ งจอง ๑. มวี ินัย ๑. ความสามารถในการส่ือสาร • การอานออกเสียงและบอกความหมายขอ ๒. ใฝเ รียนรู ๓. มุงมั่นในการทำงาน และสื่อความหมาย คำคลองจอง และขอความที่ประกอบดวย ๔. มีจิตสาธารณะ ๒. ความสามารถในการคดิ คำพื้นฐาน คือ คำทใ่ี ชในชีวิตประจำวัน ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ไมน อยกวา ๖๐๐ คำ รวมทั้งคำทใี่ ชเรียนรู ๓. ความสามารถในการใชทักษะ ในกลุมสาระการเรียนรอู ื่น ประกอบดวย ชวี ิต - คำท่ีมีรูปวรรณยกุ ตและไมมีรูปวรรณยุกต ๕. ความสามารถในการใช - คำที่มตี วั สะกดตรงตามมาตราและไมต รง เทคโนโลยี ตามมาตรา - คำท่ีมพี ยัญชนะควบกลำ้ - คำที่มีอักษรนำ ยของคำ และ ๑. มวี ินยั ๑. ความสามารถในการส่อื สาร • การอา นออกเสียงและบอกความหมายขอ ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงม่ันในการทำงาน และสื่อความหมาย คำคลองจอง และขอ ความท่ีประกอบดวย ๔. มีจิตสาธารณะ ๒. ความสามารถในการคดิ คำพนื้ ฐาน คือ คำท่ีใชในชีวิตประจำวนั ๔. ความสามารถในการแกปญหา ไมน อยกวา ๖๐๐ คำ รวมทั้งคำทใี่ ชเรียนรู ๓. ความสามารถในการใชท ักษะ ในกลุมสาระการเรยี นรอู ่ืน ประกอบดว ย

มาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด สาระสำคญั K ท ๑.๑ ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับ การใชกระบวนการอา น กระบวนการเขยี น การตอบคำถามเ เร่ืองท่อี า น การเขา ใจชวยใหผเู รยี นสามารถตอบคำถาม อา น เกี่ยวกับเร่อื งทอ่ี านไดแ ละสอ่ื สารผานการพูด การเขียนในรูปแบบตา งๆนำไปประยกุ ตใ ชใ น ชวี ิตประจำวนั ได ท ๑.๑ ป.๑/๔ เลาเร่อื งยอ จากเรอ่ื งท่ี การอา นจบั ใจความเหตุการณจ ากการอาน การเลาเร่อื งยอ จาก อา น เลา เรือ่ งยอ จากเรือ่ งทีอ่ าน จะนำไปสกู ารสราง รูปแบบการเรียนรูแ ละสรุปความรูทค่ี งทน กลาคดิ กลาแสดงออก

KA P สาระการเรียนรูแ กนกลาง หมายเหตุ เกี่ยวกบั เรื่องท่ี ๑. มีวินยั ชวี ิต - คำท่ีมรี ูปวรรณยุกตและไมม ีรูปวรรณยุกต ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงม่ันในการทำงาน ๕. ความสามารถในการใช - คำที่มตี ัวสะกดตรงตามมาตราและไมต รง ๔. มีจิตสาธารณะ เทคโนโลยี ตามมาตรา - คำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ - คำท่ีมอี ักษรนำ ๑. ความสามารถในการส่อื สาร • การอา นจับใจความจากสอ่ื ตางๆ เชน และส่ือความหมาย - นทิ าน ๒. ความสามารถในการคดิ - เร่อื งสั้นๆ ๓. ความสามารถในการแกปญหา - บทรองเลน และบทเพลง ๔ความสามารถในการใชทกั ษะ - เรื่องราวจากบทเรียนในกลมุ สาระการเรียนรู ชวี ิต ภาษาไทยและกลมุ สาระการเรียนรูอ่ืน ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี กเรื่องท่ีอาน ๑. มวี ินยั ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร • การอา นจับใจความจากสือ่ ตางๆ เชน ๒. ใฝเ รียนรู และสื่อความหมาย - นทิ าน ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๒. ความสามารถในการคดิ - เร่อื งสั้นๆ ๔. มีจิตสาธารณะ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา - บทรองเลน และบทเพลง ๔. ความสามารถในการใชทักษะ - เรอ่ื งราวจากบทเรยี นในกลมุ สาระการเรียนรู ชวี ิต ภาษาไทยและกลมุ สาระการเรียนรูอนื่ ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี

มาตรฐาน ตัวช้ีวดั สาระสำคัญ K ท ๑.๑ ป.๑/๕ คาดคะเนเหตกุ ารณจากการคาดคะเนเหตกุ ารณจ ากเรื่องที่อาน การ การคาดคะเนเหตุกา เรอ่ื งทีอ่ าน เรยี งลำดับเร่อื งราว สรุปแนวคิดของเรื่อง การ จัดหมวดหมูคำ การแสดงความคิดเห็นจาก เรอื่ งทีอ่ านจะนำไปสูการสรางรูปแบบการ เรยี นรทู ี่คงทน ท ๑.๑ ป.๑/๖ อานหนังสอื ตามความ หนงั สอื เปรียบเสมือนคลงั ทีร่ วบรวมเรอ่ื งราว การอา นหนงั สอื ตาม สนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่อง ความรู ความคิด วิทยาการทุกดานทกุ อยาง อยางสม่ำเสมอและ ทอ่ี าน การอานหนังสือตามความสนใจอยาง สมำ่ เสมอจงึ มคี วามสำคญั เปนบอ เกิดของ ความรู ดังน้ันหนังสือจึงมีคา และมีประโยชนท ี่ ประมาณมิไดในแงท ่ีเปน บอเกดิ การเรียนรูของ มนุษย ท ๑.๑ ป.๑/๗ บอกความหมายของ บอกความหมายของเคร่อื งหมาย หรอื การบอกความหมาย เครือ่ งหมาย หรือสญั ลกั ษณส ำคญั ท่ี สญั ลักษณส ำคญั ท่มี กั พบเห็นในชีวติ ประจำวัน หรือสัญลักษณสำคัญ มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน ซึง่ ชวยใหผูเรยี นสามารถนำไปใชใน ชวี ิตประจำวัน ชีวิตประจำวนั ได

KA P สาระการเรียนรูแ กนกลาง หมายเหตุ ารณจากเรื่องทอี่ าน๑. มีวินัย ๑. ความสามารถในการส่ือสาร • การอา นจับใจความจากส่ือตางๆ เชน ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นในการทำงาน และสื่อความหมาย - นทิ าน ๔. มีจิตสาธารณะ ๒. ความสามารถในการคดิ - เรอ่ื งส้ันๆ มความสนใจ ๑. มีวินยั ะนำเสนอเรอื่ งทอ่ี าน๒. ใฝเ รียนรู ๓. ความสามารถในการแกปญหา - บทรองเลน และบทเพลง ๓. มุงม่ันในการทำงาน ๔. ความสามารถในการใชท ักษะ - เรอื่ งราวจากบทเรียนในกลุม สาระการเรียนรู ๔. มีจิตสาธารณะ ชีวิต ภาษาไทยและกลมุ สาระการเรียนรูอืน่ ยของเครื่องหมาย ๑. มวี ินัย ญท่ีมักพบเห็นใน ๒. ใฝเ รียนรู ๕. ความสามารถในการใช ๓. มุงม่ันในการทำงาน เทคโนโลยี ๔. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน และสื่อความหมาย - หนงั สอื ทนี่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั ๒. ความสามารถในการคิด - หนงั สอื ที่ครูและนักเรียนกำหนดรวมกัน ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชทักษะ ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร • การอานเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ และสื่อความหมาย ประกอบดวย ๒. ความสามารถในการคดิ - เคร่ืองหมายสัญลกั ษณตางๆ ทพ่ี บเห็นใน ๓. ความสามารถในการแกปญหา ชีวิตประจำวนั ๔ความสามารถในการใชทักษะ - เคร่ืองหมายแสดงความปลอดภัยและแสดง ชีวิต อันตราย ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี

มาตรฐาน ตัวช้ีวัด สาระสำคญั K ท ๑.๑ ป.๑/๘ มมี ารยาท ในการอาน มารยาท ในการอานเปยวฒั นธรรมทางสงั คม การมีมารยาท ในกา เปน ความประพฤติทีเ่ หมาะสม ควรฝกฝนให เกดิ เปนลกั ษณะนิสยั มารยาทในการอาน เชน - ไมอ านเสียงดังรบกวนผอู ื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมท ˚าลายหนังสือ

K A P สาระการเรียนรูแกนกลาง หมายเหตุ ารอาน ๑. มวี ินยั ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร • มารยาทในการอา น เชน ๒. ใฝเรียนรู และสื่อความหมาย - ไมอ า นเสียงดงั รบกวนผูอ ื่น ๓. มุงม่ันในการทำงาน ๒. ความสามารถในการคดิ - ไมเ ลนกันขณะที่อาน ๔. มีจิตสาธารณะ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา - ไมท ำลายหนงั สือ ๔ความสามารถในการใชทักษะ ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี

สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด สาระสำคญั K มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช ท ๒.๑ ป.๑/๑ คดั ลายมือตวั บรรจง คัดลายมอื มคี วามสำคญั ตอการพัฒนาไปสู การคัดลายมือตัวบร กระบวนการเขียนเขียนส่อื สาร เตม็ บรรทัด ทักษะการเขียนมาก ซ่ึงการคัดกลายมือเปน เขยี นเรยี งความ ยอความ และ การฝกเขียนตวั อักษรไทยใหถูกตอ งตาม เขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบตางๆ หลักการคดั ไทย คอื เขยี นใหอา นงาย มชี อ งไฟ เขยี นรายงานขอ มลู สารสนเทศ มีวรรคตอน การคดั มีทงั้ ตัวบรรจงเต็มบรรทัด และรายงานการศกึ ษาคน ควา และตวั บรรจงครงึ่ บรรทัด แบบการคดั ตัว อยางมปี ระสิทธภิ าพ อกั ษรไทยมหี ลายแบบ แตทใ่ี ชเปนการคดั ลายมือท่วั ไปคอื ตัวอักษรแบบ กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงเรยี นตามโครงสราง ของตวั อกั ษรวา หัวกลม หวั มน ท ๒.๑ ป.๑/๒ เขยี นส่ือสารดว ยคำ เขยี นสอื่ สารดวยคำและประโยคงายๆเปน การ การเขยี นสอ่ื สารดว ย และประโยคงายๆ ถา ยทอดเร่ืองราวจากผเู ขยี นไปสูผูอานและถา งา ยๆ เขยี นดว ยตวั บรรจงสวยงาม ถูกตองตาม รูปแบบอักษรไทย จะชว ยใหผอู านเขา ใจได งา ย

K A P สาระการเรยี นรแู กนกลาง หมาย เหตุ รรจงเตม็ บรรทัด ๑. มวี ินัย ๑. ความสามารถในการสื่อสาร • การคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดตาม ๒. ใฝเ รียนรู ๓. มุงมั่นในการทำงาน และส่ือความหมาย รูปแบบการเขียนตวั อักษรไทย ๔. มีจิตสาธารณะ ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔ความสามารถในการใชทกั ษะ ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี ยคำและประโยค ๑. มวี ินัย ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร • การเขียนสื่อสาร ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงมั่นในการทำงาน และสื่อความหมาย - คำท่ีใชในชีวิตประจำวัน ๔. มีจิตสาธารณะ ๒. ความสามารถในการคิด - คำพ้ืนฐานในบทเรียน ๓. ความสามารถในการแกป ญหา - คำคลอ งจอง ๔ความสามารถในการใชทักษะ - ประโยคงายๆ ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี

มาตรฐาน ตวั ชี้วัด สาระสำคญั K ท ๒.๑ ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน เปนวัฒนธรรมทางสังคม การมีมารยาทในกา เปน ความประพฤติที่เหมาะสม ควรฝก ฝนให เกดิ เปนลักษณะนิสัย มารยาทในการเขียน เชน - เขยี นใหอ านงาย สะอาด ไมข ดี ฆา - ไมขดี เขียนในที่สาธารณะ

K AP สาระการเรยี นรูแ กนกลาง หมาย เหตุ ารเขียน ๑. มวี ินัย ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร • มารยาทในการเขียน เชน ๒. ใฝเ รียนรู และสื่อความหมาย - เขยี นใหอ านงา ย สะอาด ไมขีดฆา ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๒. ความสามารถในการคิด - ไมขดี เขียนในท่ีสาธารณะ ๔. มีจิตสาธารณะ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา - ใชภ าษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ ๔ความสามารถในการใชทักษะ และบุคคล ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี

สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพดู มาตรฐาน ตัวช้ีวัด สาระสำคญั K มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือก ท ๓.๑ ป.๑/๑ ฟง คำแนะนำ คำสัง่ ฟงคำแนะนำ คำส่ังงายๆจะชว ยใหผูฟง เกิด การฟงคำแนะนำ ค ฟงและดอู ยา งมวี จิ ารณญาณ งา ยๆ และปฏบิ ตั ติ าม ความสามารถในการบอกสาระสำคัญ การตงั้ ปฏิบตั ิตาม และพดู แสดงความรู ความคิด คำถาม การตอบคำถามและปฏบิ ตั ิตามได และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยา งมวี จิ ารณญาณและ สรา งสรรค ท ๓.๑ ป.๑/๒ ตอบคำถามและเลา การตอบคำถามและการเลาเร่ืองที่ฟง และดู การตอบคำถามและ เรอื่ งท่ีฟง และดู ท้ังที่เปน ความรแู ละ จะชวยเพ่ิมความสามารถดานการฟง ดู พดู ทั้งท่เี ปนความรูและ ความบนั เทงิ ใหแกผูเรยี น หากผูเรยี นต้ังใจฟง คำถามกจ็ ะ สามารถตอบคำถามและเลาเรอ่ื งทฟ่ี ง และดไู ด ท ๓.๑ ป.๑/๓ พูดแสดงความคดิ เห็น การพดู แสดงความคิดเหน็ ระบุขอเท็จจริง การพูดแสดงความค และความรูสกึ จากเรอ่ื งทฟ่ี ง และดู ถกู ตอง ตรงประเด็น เช่อื ถอื ได ครอบคลุม ความรูสึกจากเรื่องท เนื้อหา ขอ คิดเหน็ อยูบนหลักของเหตผุ ลเปน การพดู เพอื่ บอกใหท ราบวา ผพู ดู มคี วามคดิ เห็น อยา งไรตอ ส่ิงทด่ี ูหรอื อาน

KA P สาระการเรียนรแู กนกลาง หมาย คำสั่งงายๆ และ ๑. มีวินัย เหตุ ๒. ใฝเ รียนรู ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร • การฟง และปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสัง่ งาย ๆ ๔. มีจิตสาธารณะ และสื่อความหมาย ะเลาเร่ืองท่ีฟงและดู๑. มวี ินัย ะความบันเทิง ๒. ใฝเ รียนรู ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. มุงม่ันในการทำงาน ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. มีจิตสาธารณะ ๔ความสามารถในการใชทักษะ คิดเห็นและ ๑. มวี ินยั ที่ฟง และดู ๒. ใฝเรียนรู ชีวิต ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๕. ความสามารถในการใช ๔. มีจิตสาธารณะ เทคโนโลยี ๑. ความสามารถในการส่อื สาร • การจับใจความและพูดแสดงความคิดเหน็ และส่ือความหมาย ความรูสกึ จากเรื่องท่ีฟงและดู ทงั้ ที่เปนความรูและความ ๒. ความสามารถในการคิด บันเทิง เชน ๓. ความสามารถในการแกปญหา - เรือ่ งเลาและสารคดีสำหรับเด็ก ๔ความสามารถในการใชทักษะ - นิทาน ชวี ิต - การตนู ๕. ความสามารถในการใช - เรือ่ งขบขัน เทคโนโลยี ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร • การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น และส่ือความหมาย ความรูสกึ จากเร่ืองท่ฟี งและดู ทง้ั ที่เปนความรูและความ ๒. ความสามารถในการคิด บนั เทิง เชน ๓. ความสามารถในการแกป ญหา - เรอื่ งเลาและสารคดีสำหรับเด็ก ๔ความสามารถในการใชทักษะ - นิทาน

มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด สาระสำคัญ K ท ๓.๑ ป.๑/๔ พดู ส่ือสารไดตาม การพูดส่อื สาร ผพู ูดตองมีความชัดเจนวา การพูดสอ่ื สารไดตา วตั ถปุ ระสงค ตองการส่อื สารสิง่ ใดตอผูฟง ท ๓.๑ ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟง มารยาทในการฟง การดู และการพูด เปน การมมี ารยาทในกา การดู และการพดู วฒั นธรรมทางสังคม เปนความประพฤติที่ การพูด เหมาะสม ควรฝกฝนใหเ กิดเปน ลกั ษณะนสิ ัย -มารยาทในการฟัง เชน ต้งั ใจฟัง ตามองผูพ ูด -มารยาทในการดู เชน ตง้ั ใจดู ไมสง เสียงดังหรือแสดง อาการรบกวนสมาธขิ อง ผอู นื่ -มารยาทในการพูด เชน ใชถอยค˚าและกริ ิยาที่สุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ

KA P สาระการเรยี นรูแกนกลาง หมาย ามวัตถุประสงค ๑. มีวินยั เหตุ ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุงม่ันในการทำงาน ชวี ิต - การตูน ๔. มีจิตสาธารณะ ๕. ความสามารถในการใช - เรื่องขบขัน ารฟง การดู และ ๑. มวี ินยั ๒. ใฝเรียนรู เทคโนโลยี ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๔. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร • การพูดส่อื สารในชวี ิตประจำวัน เชน และส่ือความหมาย - การแนะนำตนเอง ๒. ความสามารถในการคิด - การขอความชวยเหลือ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา - การกลาวคำขอบคุณ ๔ความสามารถในการใชทกั ษะ - การกลาวคำขอโทษ ชวี ิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร • มารยาทในการฟง เชน และสื่อความหมาย - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด ๒. ความสามารถในการคิด - ไมร บกวนผูอ่นื ขณะท่ีฟง ๓. ความสามารถในการแกปญหา - ไมค วรนำอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟง ๔ความสามารถในการใชทักษะ - ใหเ กียรติผูพ ูดดวยการปรบมือ ชีวิต - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง ๕. ความสามารถในการใช • มารยาทในการดู เชน - ตง้ั ใจดู เทคโนโลยี - ไมสงเสียงดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิของผอู ื่น • มารยาทในการพูด เชน - ใชถ อยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชน ้ำเสียงนุมนวล - ไมพ ูดสอดแทรกในขณะที่ผอู ื่นกำลังพูด

สาระท่ี ๔ หลกั การใชภาษาไทย มาตรฐาน ตัวช้ีวัด สาระสำคัญ K มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา ใจ ท ๔.๑ ป.๑/๑ บอกและเขียน ภาษาไทยมอี งคป ระกอบ ไดแก พยัญชนะ การบอกและเขียนพ ธรรมชาตขิ องภาษาและหลัก พยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต และเลข สระ และวรรณยุกต การฝก จำแนก วรรณยุกต และเลข ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของ ไทย องคป ระกอบคำ การเทียบเคียง ชวยให ภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิ นกั เรียนมีเครือ่ งมอื เรียนรูดวยตนเองและ ปญญาทางภาษา และรกั ษา สามารถนำไปใชพัฒนาทักษะทางภาษาทั้ง ภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ การฟง การพดู การอานและการเขยี นได ท ๔.๑ ป.๑/๒ เขยี นสะกดคำและ การเขยี นสะกดคำเปนการฝก ทกั ษะการ การเขยี นสะกดคำแ บอกความหมาย ของคำ เขยี นหถุ กู ตองตามหลกั ภาษาไทย การสะกด ของคำ คำและบอกความหมายของคำสามารถนำไป แตงประโยคและการเขยี นสอ่ื สารไดอ ยา งมี ประสทิ ธภิ าพ ท ๔.๑ ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเปน การเรียบเรยี งคำเปนประโยคงา ย ๆเปนการนำการเรียบเรียงคำเปน ประโยคงาย ๆ กลมุ คำที่เรียบเรียงขึ้นอยา งเปน ระเบียบและ ไดใจความ ซึ่งประกอบดวยภาคประธานและ ภาคแสดง จะมีสวนชยายหรือไมม ีก็ได

KA P สาระการเรียนรูแกนกลาง หมาย • พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต เหตุ พยัญชนะ สระ ๑. มวี ินัย ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร • เลขไทย ขไทย ๒. ใฝเรียนรู และส่ือความหมาย ๒. ความสามารถในการคิด • การสะกดคำ การแจกลูก และการอา นเปนคำ ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๓. ความสามารถในการแกปญหา • มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรงตาม ๔. มีจิตสาธารณะ ๔ความสามารถในการใชทกั ษะ มาตรา ชวี ิต • การผันคำ และบอกความหมาย๑. มวี ินัย ๕. ความสามารถในการใช • ความหมายของคำ ๒. ใฝเ รียนรู เทคโนโลยี ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร • การแตงประโยค ๔. มีจิตสาธารณะ และส่ือความหมาย ๒. ความสามารถในการคดิ นประโยคงาย ๆ ๑. มีวินัย ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๒. ใฝเ รียนรู ๔ความสามารถในการใชทกั ษะ ๓. มุงม่ันในการทำงาน ชวี ิต ๔. มีจิตสาธารณะ ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร และส่ือความหมาย ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔ความสามารถในการใชทักษะ

มาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด สาระสำคญั K ท ๔.๑ ป.๑/๔ ตอคำคลองจองงายๆ คำคลอ งจองคือ คำท่ใี ชสระหรือพยัญชนะ การตอ คำคลองจอง เสยี งเดยี วกันและถา มีตวั สะกดจะตองมี ตัวสะกดในมาตรเดียวกัน คำคลองจองเรียน อกี อยา งหนง่ึ วา คำสัมผัส

K A P สาระการเรียนรูแกนกลาง หมาย เหตุ ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี งงายๆ ๑. มวี ินยั ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร • คำคลองจอง ๒. ใฝเรียนรู และสื่อความหมาย ๓. มุงม่ันในการทำงาน ๒. ความสามารถในการคิด ๔. มีจิตสาธารณะ ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔ความสามารถในการใชทกั ษะ ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั สาระสำคัญ K มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา ใจ ท ๕.๑ ป.๑/๑ บอกขอ คิดทไี่ ดจ าก การอา นขอ ความเขียนเชิงอธิบาย เปนการ การบอกขอคิดทีไ่ ดจ และแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ การอา นหรือการฟง วรรณกรรมรอย อา นทส่ี รางความรแู ละไดข อคิดเพื่อนำไปใช การฟงวรรณกรรมร วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย แกวและรอยกรองสำหรบั เด็ก ตดั สนิ ใจแกป ญหาในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั กรองสำหรับเด็ก อยางเห็นคณุ คาและนำมา ประยกุ ตใชในชวี ิตจรงิ ท ๕.๑ ป.๑/๒ ทอ งจำบทอาขยาน การทองจำบทอาขยานเปน การถายทอดความ การทอ งจำบทอาขย ตามที่กำหนด และบทรอ ยกรองตาม งดงามของภาษาจากบทรอ ยกรอง อนั มี และบทรอยกรองตา ความสนใจ คณุ คา เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพทางดา นการใช ภาษา ลงช่ือ………………… (นางสาวจริ าภ ครผู สู

K A P สาระการเรยี นรูแกนกลาง หมาย เหตุ จากการอานหรือ ๑. มวี ินยั ๑. ความสามารถในการสื่อสาร • วรรณกรรมรอ ยแกว และรอยกรองสำหรับเดก็ เชน รอ ยแกวและรอย ๒. ใฝเรียนรู และส่ือความหมาย - นิทาน ๓. มุงม่ันในการทำงาน ๔. มีจิตสาธารณะ ๒. ความสามารถในการคิด - เรื่องสน้ั งา ยๆ ยานตามทกี่ ำหนด ๑. มวี ินัย ๓. ความสามารถในการแกปญหา - ปริศนาคำทาย ามความสนใจ ๒. ใฝเ รียนรู ๔ความสามารถในการใชทกั ษะ - บทรองเลน ๓. มุงมั่นในการทำงาน ๔. มีจิตสาธารณะ ชวี ิต - บทอาขยาน ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา และสื่อความหมาย - บทอาขยานตามที่กำหนด ๒. ความสามารถในการคดิ - บทรอยกรองตามความสนใจ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔ความสามารถในการใชทักษะ ชีวิต ๕. ความสามารถในการใช เทคโนโลยี …………………………… ภรณ เมอื งงา) สอน

คำนำ โรงเรยี นบานทา อาจไดใชหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานทา อาจ พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) นั้นโดยมีกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระตางๆเพื่อใหโรงเรียนบานทาอาจไดมีหลักสูตรที่เหมาะสมกับการพัฒนา ผูเรยี นตามกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย จงึ ไดจดั ทำการวเิ คราะหหลักสูตรกลมุ สาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ เพื่อใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐานนั้นมุงพัฒนาผูเรียนทุกคนใหมีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกใน ความเปนพลเมืองไทยและพลโลก รวมทั้งเจตคติในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผเู รียนเปน สำคญั บนพน้ื ฐานความเช่ือวา ทกุ คนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเต็มศกั ยภาพ จึง ไดจัดทำวิเคราะหห ลกั สตู รกลุมสาระการเรยี นรูว ชิ าภาษาไทยเพอื่ เปน แนวปฏิบัติ ในการจัดการเรยี นการสอน หวังวาการวเิ คราะหหลกั สตู รกลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ จะเปน ประโยชนต อการพัฒนาหลักสตู รครั้งน้ี โรงเรียนบานทาอาจหวังเปน อยางยิ่ง วาหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียน บานทาอาจพุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตลอดจนเอกสารประกอบการวิเคราะหหลักสูตรที่จัดทำขึ้นจะเปนประโยชนสำหรับ ครผู ูสอนและผูทเี่ กีย่ วขอ งใหส ามารถนำการวิเคราะหหลักสตู รไปใชจ ดั การเรยี นการสอนและดำเนินการวัดและ ประเมินผลไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ (นางสาวจิราภรณ เมืองงา ) ตำแหนง ครู

วิสยั ทัศนกลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย มุง พัฒนาใหผ เู รยี นมนี สิ ยั รักการอาน ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของภาษาไทย มีทักษะการใชภ าษาไทยในการส่ือสารไดถูกตอง และสงเสรมิ ใหน ักเรียน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และรกั ความเปนไทย หลักการกลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย หลกั สตู รกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย มีหลักการท่ีสำคัญ ดังนี้ ๑. พฒั นาความรูการอาน การเขียน การฟง การดู การพดู หลกั การใชภ าษาไทย วรรณคดีและ วรรณกรรม ตามศักยภาพของผเู รยี น อนั เปน พ้ืนฐานในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ ๒. จัดกิจกรรมกระบวนการเรยี นรูอยา งหลากหลายวิธผี เู รียนมีสว นรวมในการจัดกระบวนการเรียนรมู ภาษาไทย และรกั ความเปน ไทย ๓. สงเสริมใหผ ูเรียนมีความเชอื่ ม่ันในตนเองและพัฒนาผเู รยี นท้งั ทางดา นรางกาย จิตใจ สตปิ ญญา อารมณ สังคม ตลอดจนการนําไปสกู ารหวงแหนภูมิปญ ญาทองถิ่น ซึ่งเปน รากฐานทางวัฒนธรรม ๔. จัดแผนการเรียนการสอนใหแ กผเู รยี น เพอื่ ใหผ เู รยี นไดม ีโอกาสเรยี นรวู ิชาภาษาไทย ตามความถนัด และความสนใจ ๕. พฒั นาบคุ ลากรของกลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ใหมคี วามรูและทักษะ ตลอดจนำประสบการณมา ใชใ นการจดั การเรยี นการสอน โดยเนนผเู รียนเปนสำคัญ ๖. นเิ ทศและติดตามอยา งเปนระบบ ในดา นการจัดการเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย ๗. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และรักความเปน ไทย ๘. จดั แหลง เรียนรู ใหม มี ุมหนงั สือ เอกสาร มุมศึกษาคนควาดวยตนเอง ปา ยนเิ ทศ มมุ สื่อนวตั กรรม อุปกรณ เกม และผลงานนักเรียน ๙. จดั กจิ กรรมและเปด โอกาสใหครแู ละนักเรยี น นําเสนอผลงานตนเอง ในงานนิทรรศการทางวิชาการ ภายในโรงเรยี น ๑๐.สนบั สนนุ สงเสริมใหครูผลติ สอื่ และนวตั กรรมประกอบการเรยี นการสอนตามเนอื้ หาการเรยี นรู ๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดว ยวธิ ีการทห่ี ลากหลายใหครอบคลุมทง้ั ทางดา นความรทู กั ษะ กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค

จุดมงุ หมายกลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ภาษาไทยเปน ทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชำนาญในการใชภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรูอยางมี ประสิทธภิ าพ และเพ่อื นำไปใชใ นชวี ติ จรงิ • การอาน การอานออกเสียงคำ ประโยค การอานบทรอยแกว คำประพันธชนิดตางๆ การ อานในใจเพื่อสรางความเขาใจ และการคิดวิเคราะห สังเคราะหความรูจากสิ่งที่อาน เพื่อนำไป ปรับใชใน ชวี ติ ประจำวนั • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถอยคำและรูปแบบตางๆ ของการ เขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะหวิจารณ และเขยี นเชิงสรางสรรค • การฟง การดู และการพูด การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก พดู ลำดบั เรอ่ื งราวตางๆ อยางเปนเหตุเปนผล การพดู ในโอกาสตางๆ ทั้งเปน ทางการและไมเปน ทางการ และการพดู เพ่ือโนม นาวใจ • หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของภาษาไทย การใชภาษาใหถูกตองเหมาะสม กับโอกาสและบุคคล การแตง บทประพนั ธประเภทตา งๆ และอิทธิพลของภาษาตา งประเทศในภาษาไทย • วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอมูล แนวความคิด คณุ คาของงานประพันธ และความเพลดิ เพลนิ การเรยี นรแู ละทำความเขา ใจบทเห บทรอ งเลน ของเด็ก เพลง พื้นบานที่เปนภูมิปญญาที่มีคุณคาของไทย ซึ่งไดถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรือ่ งราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่อื ใหเ กดิ ความซาบซึ้งและภูมใิ จ ในบรรพบุรุษที่ได ส่ังสมสืบทอดมาจนถงึ ปจจุบัน สมรรถนะสำคัญของผเู รียน หลักสูตรโรงเรียนบานทาอาจ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงใหผ เู รียนเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดงั นี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ ประสบการณอ นั จะเปน ประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสงั คม การเลอื กรบั หรอื ไมร ับขอมลู ขาวสารดวยหลัก เหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง สรา งสรรค การคิดอยางมวี ิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนำไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตดั สนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมไดอ ยางเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตา ง ๆ ที่เผชิญได อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ

เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไข ปญ หา มีการตดั สินใจท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ ตอตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงานและการอยูรวมกันในสังคม ดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไมพึง ประสงคท่ีสง ผลกระทบตอ ตนเองและผูอ ื่น ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ มีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การ แกปญ หาอยางสรางสรรค ถูกตอ ง เหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค หลักสูตรโรงเรยี นบานทาอาจ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มงุ พัฒนาผเู รยี นใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพอื่ ใหสามารถอยูร ว มกับผูอื่น ในสังคมไดอยางมคี วามสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1) รกั ชาติ ศาสน กษัตรยิ  ผเู รียนมีคุณลกั ษณะที่แสดงออกถึงการเปน พลเมืองดีของชาติ ธำรงไว ซึ่งความเปนชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนาและเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาทต่ี นนบั ถือและแสดงความจงรกั ภกั ดตี อสถาบนั พระมหากษัตริย 2) ซื่อสัตยสุจริต ผเู รยี นมคี ณุ ลักษณะทแ่ี สดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกตองประพฤติตรงตาม ความเปนจริงตอตนเองและผูอ่ืนท้ังทางกาย วาจา ใจ ประพฤตติ รงตามความเปนจรงิ ท้ังทางกาย วาจา ใจและ ยดึ หลักความจริง ความถกู ตอ งในการดำเนนิ ชวี ิต มคี วามละอายและเกรงกลวั ตอ การกระทำผิด 3) มีวินัย ผูเรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในขอตกลง กฎเกณฑและระเบียบ ขอบงั คับของครอบครัว โรงเรยี นและสงั คม ปฏบิ ัติตนตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบงั คบั ของครอบครัว โรงเรยี นและสังคมเปนปกติวสิ ยั ไมละเมิดสทิ ธขิ องผูอ ื่น 4) ใฝเรียนรู เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหา ความรูจากแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มีความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขารวม กิจกรรมการเรียนรู แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอยางสม่ำเสมอดวยการ เลือกใชสื่ออยางเหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะห สรุปเปนองคความรู แลกเปลี่ยนเรยี นรู ถายทอด เผยแพร และนำไปใชใ นชีวติ ประจำวนั ได 5) อยูอยางพอเพียง ผูเรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำเนินชีวิตอยางพอประมาณ มี เหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุมกันในตัวที่ดีและปรับตัวเพื่ออยูในสังคมไดอยางมีความสุข ดำเนินชีวิต อยา งประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมดั ระวัง อยรู วมกับผูอื่นดวยความรบั ผิดชอบ ไมเบียดเบยี นผูอ่ืน เห็น คุณคาของทรัพยากรตาง ๆ มกี ารวางแผนปอ งกนั ความเส่ยี งและพรอมรับการเปล่ยี นแปลง

6) มุงมั่นในการทำงาน ผูเรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการทำ หนาทีก่ ารงานดวยความเพียรพยายาม อดทน เพ่อื ใหง านสำเรจ็ ตามเปา หมายมคี วามตั้งใจปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับ มอบหมายดวยความเพียรพยายาม ทุมเทกำลังกาย กำลังใจ การปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ใหสำเร็จลุลวงตาม เปา หมายท่กี ำหนดดวยความรับผดิ ชอบและมคี วามภาคภูมใิ จในผลงาน 7) รกั ความเปน ไทย ผูเ รยี นมีคณุ ลกั ษณะท่ีแสดงออกถงึ ความภาคภูมใิ จ เหน็ คุณคา รว มอนุรักษ สืบทอดภูมิปญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยาง ถกู ตองและเหมาะสม มคี วามภาคภูมใิ จ เหน็ คณุ คา ชืน่ ชม มสี ว นรวมในการอนรุ กั ษ สืบทอดเผยแพรภ ูมิปญญา ไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะและวฒั นธรรมไทย มีความกตญั ูกตเวที ใชภาษาไทยในการสื่อสารอยาง ถูกตองเหมาะสม 8) มจี ติ สาธารณะ ผเู รยี นมคี ุณลกั ษณะทีแ่ สดงออกถงึ การมีสวนรวมในกิจกรรมหรือสถานการณ ทีก่ อ ใหเ กิดประโยชนแกผูอืน่ ชุมชนและสังคมดวยความเต็มใจ กระตือรอื รน โดยไมห วงั ผลตอบแทน มลี กั ษณะ เปนผูให และชวยเหลือผูอื่น แบงปนความสุขสวนตน เพื่อทำประโยชนแกสวนรวม เขาใจเห็นใจผูที่มีความ เดือดรอน อาสาชว ยเหลือสงั คม อนุรักษส ่งิ แวดลอ มดวยแรงกาย สติปญญา ลงมอื ปฏิบตั เิ พอื่ แกป ญ หาหรือรวม สรางสรรคส ่งิ ที่ดีงามใหเ กิดในชุมชน โดยไมหวังส่ิงตอบแทน

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ทำไมตองเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและ เสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจ และความสัมพันธที่ดีตอกัน ทำใหสามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตรวมกันในสังคม ประชาธิปไตยไดอยางสันติสุข และเปน เครื่องมือในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงขอมูลสารสนเทศ ตา งๆ เพ่ือพัฒนาความรู พฒั นากระบวนการคิดวเิ คราะห วิจารณ และสรา งสรรคใหทนั ตอการเปล่ียนแปลงทาง สงั คม และความกา วหนา ทางวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ นการพฒั นาอาชีพใหม คี วามม่นั คงทาง เศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนสื่อแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เปนสมบัติล้ำคา ควรแกก ารเรียนรู อนรุ ักษ และสืบสานใหคงอยูคชู าติไทยตลอดไป เรียนรอู ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเปนทกั ษะที่ตองฝก ฝนจนเกิดความชำนาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรยี นรูอยา งมี ประสิทธภิ าพ และเพือ่ นำไปใชในชีวติ จรงิ • การอาน การอานออกเสียงคำ ประโยค การอานบทรอยแกว คำประพันธชนิดตางๆ การ อานในใจเพื่อสรางความเขาใจ และการคิดวิเคราะห สังเคราะหความรูจากสิ่งที่อาน เพื่อนำไป ปรับใชใน ชวี ิตประจำวนั • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถอยคำและรูปแบบตางๆ ของการ เขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะหวิจารณ และเขยี นเชงิ สรา งสรรค • การฟง การดู และการพูด การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรสู กึ พดู ลำดับเร่อื งราวตางๆ อยางเปน เหตเุ ปน ผล การพดู ในโอกาสตา งๆ ทง้ั เปน ทางการและไมเปน ทางการ และการพูดเพอื่ โนม นา วใจ • หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของภาษาไทย การใชภาษาใหถูกตองเหมาะสม กบั โอกาสและบคุ คล การแตงบทประพนั ธป ระเภทตา งๆ และอิทธพิ ลของภาษาตางประเทศในภาษาไทย • วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอมูล แนวความคิด คณุ คาของงานประพนั ธ และความเพลดิ เพลิน การเรยี นรูและทำความเขาใจบทเห บทรองเลน ของเด็ก เพลง พื้นบานที่เปนภูมิปญญาที่มีคุณคาของไทย ซึ่งไดถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่อื งราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่อื ใหเ กิดความซาบซึ้งและภูมใิ จ ในบรรพบุรุษท่ีได ส่งั สมสบื ทอดมาจนถึงปจ จุบัน

สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระท่ี ๑ การอา น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการ ดำเนนิ ชวี ิตและมนี ิสยั รักการอาน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก ระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอความ และเขียนเรือ่ งราวในรูปแบบตางๆ เขยี นรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน ควาอยาง มปี ระสทิ ธภิ าพ สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟง และดูอยา งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสกึ ในโอกาสตา งๆ อยางมวี ิจารณญาณและสรางสรรค สาระท่ี ๔ หลักการใชภ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญ ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปนสมบัติของชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเหน็ คณุ คา และนำมาประยกุ ตใ ชใ นชีวติ จรงิ

คุณภาพผูเรยี น จบชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ • อานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว เขาใจความหมายของคำและขอความที่อาน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ คาดคะเน เหตุการณ สรุปความรูขอคิดจากเรื่องที่อาน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบายจากเรื่องที่อานได เขาใจ ความหมายของขอ มูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ อา นหนังสืออยางสมำ่ เสมอและ มีมารยาทในการอา น • มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขียนจดหมาย ลาครู เขียนเร่อื งเกย่ี วกบั ประสบการณ เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการและมีมารยาทในการเขียน • เลารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิด ความรสู ึกเกี่ยวกบั เร่ืองทฟ่ี งและดู พูดสอ่ื สารเลาประสบการณแ ละพูดแนะนำ หรือพดู เชิญชวนใหผอู ่ืนปฏิบัติ ตาม และมีมารยาทในการฟง ดู และพูด • สะกดคำและเขา ใจความหมายของคำ ความแตกตา งของคำและพยางค หนา ทข่ี องคำ ใน ประโยค มที กั ษะการใชพ จนานกุ รมในการคน หาความหมายของคำ แตง ประโยคงายๆ แตง คำคลอง จอง แตงคำขวญั และเลือกใชภ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ไดเหมาะสมกบั กาลเทศะ • เขาใจและสามารถสรุปขอคิดที่ไดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใชใน ชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อาน รูจักเพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ซึ่งเปนวัฒนธรรม ของทองถิ่น รองบทรองเลนสำหรับเด็กในทองถ่ิน ทองจำบทอาขยานและบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความ สนใจได จบช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ • อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ขอความ สำนวนโวหาร จากเรื่องที่อาน เขาใจคำแนะนำ คำอธิบายในคูมือตางๆ แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสำคัญของเรื่องที่อานและนำ ความรูความคิดจากเรื่องที่อานไปตัดสินใจแกปญหาในการดำเนินชีวิตได มีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน และเหน็ คณุ คา ส่ิงท่ีอา น • มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ แตงประโยคและ เขียนขอความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถอยคำชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพ ความคดิ เพือ่ พัฒนางานเขยี น เขยี นเรยี งความ ยอความ จดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการตา งๆ เขียน แสดงความรสู กึ และความคดิ เหน็ เขียนเรอื่ งตามจินตนาการอยา งสรางสรรค และมมี ารยาทในการเขยี น • พูดแสดงความรู ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่องที่ฟงและดู ต้ัง คำถาม ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟงและดู รวมทั้งประเมินความนาเชื่อถือจากการฟงและดูโฆษณาอยางมี เหตผุ ล พดู ตามลำดับขัน้ ตอนเร่ืองตา งๆ อยา งชดั เจน พดู รายงานหรอื ประเด็นคนควาจาก การฟง การดู การสนทนา และพดู โนม นา วไดอยางมเี หตุผล รวมทงั้ มมี ารยาทในการดแู ละพูด • สะกดคำและเขาใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษิต รูและเขาใจ ชนิด และหนาทขี่ องคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาตา งประเทศในภาษาไทย ใช คำราชาศพั ท และคำสุภาพไดอ ยา งเหมาะสมแตง ประโยค แตง บทรอ ยกรองประเภทกลอนส่ีกลอนสภุ าพและกาพยย านี ๑๑ • เขาใจและเห็นคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน เลานิทานพื้นบาน รองเพลงพื้นบานของ ทอ งถ่นิ นำขอ คิดเหน็ จากเร่ืองทอี่ า นไปประยุกตใ ชใ นชวี ติ จริง และทอ งจำบทอาขยานตามท่กี ำหนดได

ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระท่ี ๑ การอา น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดำเนิน ชวี ติ และมนี ิสยั รักการอาน ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๑ ๑. อา นออกเสยี งคำ คำคลอ งจอง  การอา นออกเสียงและบอกความหมาย และขอความสน้ั ๆ ของคำ คำคลองจอง และขอความที่ ๒. บอกความหมายของคำ ประกอบดว ย คำพืน้ ฐาน คอื คำท่ีใชใ น ชวี ิตประจำวัน ไมน อ ยกวา ๖๐๐ คำ และขอความท่อี าน รวมทง้ั คำที่ใชเรียนรใู น กลุม สาระการเรยี นรูอน่ื ประกอบดว ย - คำทีม่ รี ปู วรรณยกุ ตและไมมีรปู วรรณยุกต - คำท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตาม มาตรา - คำท่ีมีพยัญชนะควบกล้ำ - คำทม่ี อี ักษรนำ ๓. ตอบคำถามเก่ยี วกับเร่ืองที่อาน  การอา นจบั ใจความจากสอื่ ตา งๆ เชน ๔. เลา เร่อื งยอจากเรอ่ื งที่อาน - นิทาน ๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อา น - เรอ่ื งสั้นๆ - บทรอ งเลนและบทเพลง ๖. อา นหนงั สอื ตามความสนใจ อยาง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรู สมำ่ เสมอและนำเสนอเร่ืองท่ีอา น ภาษาไทยและกลุม สาระการเรียนรอู ื่น  การอานหนงั สอื ตามความสนใจ เชน - หนังสือทน่ี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั - หนงั สอื ท่คี รูและนักเรียนกำหนดรวมกนั

ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๑ ๗. บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือ  การอา นเคร่ืองหมายหรือสญั ลักษณ ส ั ญ ล ั ก ษ ณ  ส ำ ค ั ญ ท ี ่ ม ั ก พ บ เ ห ็ น ใ น ประกอบดว ย ชีวติ ประจำวนั - เคร่ืองหมายสญั ลกั ษณต างๆ ท่พี บเหน็ ใน ชวี ิตประจำวนั - เครื่องหมายแสดงความปลอดภัยและแสดง อันตราย ๘. มีมารยาท ในการอาน  มารยาทในการอา น เชน - ไมอ า นเสียงดงั รบกวนผอู นื่ - ไมเลนกันขณะท่ีอาน ไมทำลายหนงั สอื สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ตา งๆ เขยี นรายงานขอมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควา อยางมีประสิทธภิ าพ ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๑ ๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบ การเขยี นตวั อกั ษรไทย ๒. เขยี นสอื่ สารดวยคำและประโยคงายๆ  การเขยี นสื่อสาร - คำที่ใชใ นชีวติ ประจำวัน - คำพ้ืนฐานในบทเรียน - คำคลองจอง - ประโยคงา ยๆ ๓. มมี ารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน เชน - เขยี นใหอานงา ย สะอาด ไมข ีดฆา - ไมข ีดเขียนในทส่ี าธารณะ

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และ บคุ คล สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกใน โอกาสตางๆ อยางมวี จิ ารณญาณและสรา งสรรค ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๑ ๑. ฟง คำแนะนำ คำสัง่ งายๆ และปฏบิ ตั ิตาม  การฟง และปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำ คำส่ังงา ยๆ ๒. ตอบคำถามและเลาเรื่องที่ฟงและดู ทั้งท่ี  การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น เปน ความรูและความบันเทิง ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรู ๓. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรสู กึ จาก และความบันเทงิ เชน เร่อื งที่ฟง และดู - เรอื่ งเลาและสารคดสี ำหรบั เดก็ - นิทาน - การต ูน - เรื่องขบขนั ๔. พูดสื่อสารไดต ามวัตถุประสงค  การพดู สื่อสารในชวี ติ ประจำวนั เชน - การแนะนำตนเอง - การขอความชวยเหลือ - การกลา วคำขอบคุณ - การกลาวคำขอโทษ ๕. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู  มารยาทในการฟง เชน - ตัง้ ใจฟง ตามองผูพ ดู - ไมรบกวนผอู น่ื ขณะทฟ่ี ง

ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง - ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทาน ขณะทฟี่ ง - ใหเ กียรตผิ ูพูดดว ยการปรบมือ - ไมพ ูดสอดแทรกขณะทฟ่ี ง  มารยาทในการดู เชน - ตัง้ ใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ อง ผูอ น่ื  มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคำและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใชน้ำเสยี งนุมนวล - ไมพ ูดสอดแทรกในขณะท่ผี อู ่ืนกำลงั พดู สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมปิ ญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ขิ องชาติ ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต  พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต และเลขไทย  เลขไทย ๒. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ  การสะกดคำ การแจกลกู และการอา นเปนคำ  มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไมตรงตาม มาตรา  การผันคำ

ชนั้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง  ความหมายของคำ ๓. เรียบเรียงคำเปน ประโยคงา ย ๆ  การแตงประโยค ๔. ตอคำคลอ งจองงา ยๆ  คำคลองจอง สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและ นำมาประยุกตใ ชใ นชวี ิตจริง ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง ป.๑ ๑. บอกขอคิดทไ่ี ดจ ากการอานหรอื การฟง  วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก วรรณกรรมรอยแกว และรอยกรองสำหรับ เชน เดก็ - นิทาน - เรือ่ งสน้ั งายๆ - ปรศิ นาคำทาย - บทรอ งเลน - บทอาขยาน - บทรอ ยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี น ๒. ทองจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบท  บทอาขยานและบทรอ ยกรอง รอ ยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามทกี่ ำหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

โครงสรางหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบานทา อาจ โครงสรา งเวลาเรียน ระดบั ประถมศึกษา กลมุ สาระการเรยี นรู / กิจกรรม ป. ๑ เวลาเรยี น ( ชั่วโมง / ป ) ป. ๖  กลมุ สาระการเรยี นรู ๒๐๐ ระดบั ประถมศกึ ษา ๑๖๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ภาษาไทย ๘๐ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๘๐ คณติ ศาสตร ๘๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๔๐ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัติศาสตร ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ ๘๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐ ภาษาตา งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน ( พน้ื ฐาน ) ๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๔๐  รายวชิ าเพิม่ เตมิ ๓๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓๐ ๑๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๐ วิทยาการคำนวณ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น ( เพ่ิมเติม ) ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐  กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน ๑,๐๐๐ ช่ัวโมง / ป กจิ กรรมลกู เสือ / ยวุ กาชาด กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น รวมเวลาเรียนทง้ั หมด จำนวนชั่วโมงที่จัดใหนักเรียนระดับประถมศึกษา ( ป.๑ - ป.๓ ) เรียนทั้งป เทากับ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง ระดับชั้นประถมศึกษา ( ป.๔ - ป.๖ ) เทากับ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง แผนการเรียนรู / จุดเนนการพัฒนาผูเรียนท่ี ตอ งการเนนเปนพิเศษ คอื กลุมสาระการเรยี นรทู กั ษะภาษาไทย คณิตศาสตร เพ่ือพฒั นาการอา นออก เขียนได ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร คดิ วเิ คราะห คดิ สงั เคราะห คิดสรางสรรคท ่ีดี มีประโยชน มีความสนใจใฝร ู ใฝเรียน โดยจัดการเรียนการสอนและวัดผลประเมินผลเปน รายป

โครงสรางหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดับช้นั ประถมศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๑ รหสั วิชา รายวชิ ากิจกรรม/ เวลาเรียน ท ๑๑๑๐๑ รายวิชาพ้นื ฐาน ช่วั โมง(ป) ชวั่ โมง(สับดาห) ค ๑๑๑๐๑ ว ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๘๔๐ ๒๑ ส ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ ๒๐๐ ๕ ส ๑๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ ๒๐๐ ๕ พ ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑ ๘๐ ๒ ศ ๑๑๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร ๑ ๘๐ ๒ ง ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ๑ อ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๘๐ ๒ รหัสวชิ า การงานอาชีพ ๑ ๔๐ ๑ ว ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๔๐ ๑ รหัสกจิ กรรม ๘๐ ๒ รายวิชาเพิม่ เติม ๔๐ ๑ วทิ ยาการคำนวน ๑ ๔๐ ๑ ๑๒๐ ๓ กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น ๔๐ ๑  กิจกรรมแนะแนว ๘๐ ๒  กิจกรรมนักเรียน ๔๐ ๑ ๔๐ ๑  ลกู เสือ/ยุวกาชาด ๑๐ ผนวกในกจิ กรรม  ชุมนมุ  กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ลูกเสอื /ยวุ กาชาด ๑,๐๐๐ ๒๕ รวมเวลาเรียนท้งั หมดตามโครงสรา งหลกั สูตร

คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง อานออกเสียงคำ คำคลองจอง และขอความสั้น ๆ บอกความหมายของคำและขอความที่อาน ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน อานหนังสือ ตามความสนใจอยา งสม่ำเสมอและนำเสนอเรอื่ งที่อา น บอกความหมายของเครอื่ งหมายหรือสัญลกั ษณสำคัญท่ี มักพบเห็นในชวี ิตประจำวัน มีมารยาทในการอา น คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นสอ่ื สารดวยคำและประโยคงา ย ๆ มมี ารยาทในการเขียน ฟงคำแนะนำ คำสั่งงาย ๆ และปฏิบัติตาม ตอบคำถามและเลาเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและ ความบันเทงิ พูดแสดงความคิดเห็นและความรสู ึกจากเรือ่ งท่ีฟงและดู พดู สอ่ื สารไดต ามวตั ถปุ ระสงค มมี ารยาท ในการฟง การดูและการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรยี บเรยี งคำเปนประโยคงาย ๆ ตอคำคลอ งจองงา ย ๆ บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก ทองจำบท อาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอ ยกรองตามความสนใจ มาตรฐาน / ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ , ป.๑/๖ , ป.๑/๗ , ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้วี ดั

คณะทีป่ รึกษา คณะผูจดั ทำ ๑. นายกิชสณพนธ เฉลมิ วสิ ุตมกลุ ผูอำนวยการโรงเรยี นบานทา อาจ ๒. นางสาววรากร ทองทวี รองผูอ ำนวยการโรงเรียนบานทาอาจ ๓. นายอดลุ ย แยมมี หวั หนาฝายบรหิ ารงานทว่ั ไป ๔. นางสุภาพร จอมประเสรฐิ หัวหนาฝา ยวชิ าการ ๕. นางธัญลักษณ กาวนิ ำ หัวหนา ฝา ยงบประมาณ ๖. นายอศิ ยม เครือคำแดง หวั หนา ฝา ยบริหารงานบุคคล ผูรับผดิ ชอบกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย นางสาวกณกิ าร ปรอื ปรัง หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย นางสาวพจนีย ปญญาเสน ผชู วย นางบังอร คชเถ่ือน ผชู วย นางสาวมะลิวัลย วงษก าวนิ ผูชวย นางสาวจริ าภรณ เมืองงา ผูชวย นางสาวสาริณี จแู วน ผชู ว ย

ปี การศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านท่าอาจ สงั กดั สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๒ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ