Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) คู่มอื DSPM
ผู้แต่ง/ผู้จัดทำ� กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0 2590 1000 www.moph.go.th ปีที่พิมพ์ ตุลาคม ปี 2561 จำ�นวนพิมพ์ 720,000 เล่ม ISBN 978-616-11-3268-2 สนับสนุนโดย งบประมาณ พิมพ์ที่ สำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำานักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
คมู่ ือ เฝา้ ระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) ชอ่ื – สกลุ เด็ก ..................................................................................... เลขทบ่ี ัตรประจ�ำตัวประชาชน เดก็ .......................................................... วัน เดือน ปีเกดิ เดก็ …………………………........................................... สถานทเ่ี กิด โรงพยาบาล ............................................................................. น้ำ� หนกั แรกเกิด ........................................................ กรัม Apgar Score ....................................................................................................... ชือ่ – สกลุ บดิ า หรอื มารดา หรอื ผูด้ ูแล ............................................................................................. โทรศัพท์ .................................................... สถานทตี่ ิดต่อ .......................................................................................................................................................................................................... คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) 1
ค�ำนำ� คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย หรือ DSPM-Developmental Surveillance and Promotion Manual ต้ังใจผลิตขึ้นมา เพ่ือให้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และอสม. ใช้เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของลูกหลานอย่างใกล้ชิด หากสงสัยล่าช้าก็สามารถแก้ไขส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย ตามค�ำแนะน�ำในคู่มือ DSPM นี้ได้ทันที ส่วนเจา้ หนา้ ทจี่ ะเปน็ ผคู้ ัดกรองพฒั นาการเมือ่ เดก็ อายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ผลการดำ� เนนิ งานในโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เด็กปฐมวยั ไทยมพี ัฒนาการสงสัยลา่ ชา้ จากการรณรงคใ์ นเดอื นกรกฎาคม 2560 = 22% เนอ่ื งจากเป้าหมายทง้ั ประเทศไมค่ วรเกิน 15% จงึ ยังมีงานท่ที า้ ทาย ความสามารถในการทำ� งานรว่ มกนั ของพวกเราอีกพอสมควรคมู่ อื DSPM เล่มน้ี ไดร้ ับการพัฒนาใหค้ รอบคลุมถึงเด็กอายุ 6 ขวบ จงึ เรยี กช่อื ใหมว่ า่ DSPM plus เพ่อื เปน็ การเตรียม ความพร้อมในการเข้าเรยี นในโรงเรียน (School Readiness) ใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกนั ของเด็กไทยทว่ั ประเทศ ขณะทีก่ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวัยมีววิ ัฒนาการที่นา่ สนใจมากขนึ้ เร่ิมจากการพฒั นา IQ และ EQ เพ่ือใหเ้ ด็กฉลาดมาเป็น EF หรือ Executive Functions คอื ทง้ั ฉลาดและ ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินชีวิตและถ้าเป็นผู้น�ำก็สามารถควบคุมอารมณ์ เพ่ือการตัดสินใจได้ถูกต้อง Emotional Intelligence และย่ิงเป็นผู้น�ำที่มีคุณธรรม Ethical Leadership เพื่อนร่วมทีมก็จะท�ำงานด้วยความสุข คณะผู้จัดท�ำได้พยายามบรรจุการฝึกทักษะท่ีเหมาะสมกับเด็กไทยไว้ใน DSPM Plus นี้ ด้วยเนื้อหาไม่มากไม่น้อยและไม่ยาก ไมง่ ่ายเกนิ ไป ไมม่ ใี ครกลา้ รบั รองว่า ประเทศจะได้ประชากรทม่ี คี ุณภาพตามตอ้ งการมากน้อยเพยี งใด แตท่ ุกคนที่เก่ียวขอ้ งกเ็ ชือ่ ว่าดว้ ยพระบารมขี องสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประเทศชาติกจ็ ะมผี ใู้ หญ่ทด่ี ีจากเด็กไทยปจั จุบนั มากข้นึ ๆ อย่างแนน่ อน นายแพทย์วัลลภ ไทยเหนือ ท่ปี รึกษาคณะกรรมการขับเคล่อื นการดำ� เนินงาน โครงการส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2 คู่มอื เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
สารบัญ แผนผงั การดูแลเฝา้ ระวัง คัดกรอง และสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ทค่ี ลอดปกติ ชว่ งอายุ 18 เดอื น (1 ป 6 เดือน) ...........................................................................31 วยั แรกเกดิ - 6 ปี .......................................................................................................4 ชว่ งอายุ 19 - 24 เดือน (1 ป 7 เดือน - 2 ป) ..........................................................36 ค�ำอธิบายแผนผัง ........................................................................................................5 ช่วงอายุ 25 - 29 เดือน (2 ป 1 เดอื น - 2 ป 5 เดือน) ............................................39 การใชค้ มู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ................................................7 ชว่ งอายุ 30 เดอื น (2 ป 6 เดอื น) ............................................................................40 ขน้ั ตอนการเตรยี มความพร้อม ....................................................................................7 ช่วงอายุ 31 - 36 เดือน (2 ป 7 เดอื น - 3 ป) .........................................................45 ขัน้ ตอนการสร้างสัมพันธภาพระหวา่ งผปู้ ระเมนิ กับเด็กและพอ่ แม่ ผูป้ กครอง.............7 ช่วงอายุ 37 - 41 เดอื น (3 ป 1 เดือน - 3 ป 5 เดือน) ............................................47 ข้นั ตอนการประเมนิ ....................................................................................................8 ชว่ งอายุ 42 เดอื น (3 ป 6 เดอื น) ...........................................................................50 ขน้ั ตอนสรุป ................................................................................................................9 ช่วงอายุ 43 - 48 เดอื น (3 ป 7 เดือน - 4 ป) .........................................................56 การสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยโดยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ...........................................10 ช่วงอายุ 49 - 54 เดือน (4 ป 1 เดอื น - 4 ป 6 เดือน) ............................................59 กญุ แจสู่ความสำ� เรจ็ .................................................................................................10 ช่วงอายุ 55 - 59 เดือน (4 ป 7 เดอื น - 4 ป 11 เดอื น) .........................................61 ขอ้ ควรค�ำนงึ ในการฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ...........................................10 ช่วงอายุ 60 เดือน (5 ป) .......................................................................................... 63 คู่มือเฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั .......................................................11 ชว่ งอายุ 61 - 66 เดือน (5 ป 1 เดอื น - 5 ป 6 เดือน) ............................................68 ช่วงอายแุ รกเกดิ - 1 เดือน ........................................................................................11 ชว่ งอายุ 67 - 72 เดอื น (5 ป 7 เดอื น - 6 ป) .........................................................70 ชว่ งอายุ 1 - 2 เดือน ................................................................................................12 ชว่ งอายุ 73 - 78 เดือน (6 ป 1 เดอื น - 6 ป 6 เดอื น) ............................................72 ชว่ งอายุ 3 - 4 เดือน ................................................................................................14 วิธสี ่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยตามช่วงอายุ ช่วงอายุ 5 - 6 เดอื น ................................................................................................16 โดยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู และผู้ดแู ลเดก็ ....................................................................75 ชว่ งอายุ 7 - 8 เดือน ................................................................................................18 แบบบันทกึ การเฝ้าระวังและส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั ตามชว่ งอายุ ช่วงอายุ 9 เดอื น .....................................................................................................21 โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครู ผู้ดแู ลเด็ก และเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข ...............................77 ชว่ งอายุ 10 - 12 เดือน (10 เดอื น - 1 ป) ..............................................................25 แบบบันทึกการคัดกรองและส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งอายุ ช่วงอายุ 13 - 15 เดือน (1 ป 1 เดือน - 1 ป 3 เดอื น) ............................................26 โดยเจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ ..........................................................................................80 ชว่ งอายุ 16 - 17 เดอื น (1 ป 4 เดือน - 1 ป 5 เดอื น) ............................................28 คมู่ อื เฝา้ ระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) 3
4 คมู่ อื เฝา้ ระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) แผนผงั การดแู ลเฝ้าระวัง คดั กรอง และส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ที่คลอดปกติ วยั แรกเกดิ – 6 ปี เด็กแรกเกิด – 6 ปี พฒั นาการปกติ/สมวยั เฝ้าระวงั /คัดกรอง หน่วยบรกิ ารตง้ั แตป่ ฐมภมู ิ คูม่ ือ DSPM (เลม่ ขาว) เฝา้ ระวงั โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสรมิ 1B260 1 พัฒนาการตามวยั คัดกรองโดย บุคลากรทางการแพทย/์ พัฒนาการ เจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุขทกุ ระดบั ตามอายุถดั ไป 1B261 1B262 ของเดก็ โดยพ่อแม่ สงสัยล่าช้า แนะน�ำให้ พอ่ แม่ สงสยั ลา่ ชา้ สง่ ตอ่ ทนั ท*ี (เดก็ ทพ่ี ฒั นาการ คมู่ ือ DSPM (เล่มขาว) ผูด้ ูแลเดก็ ผปู้ กครอง สง่ เสริมพฒั นาการ ล่าช้า/ความผิดปกตอิ ยา่ งชัดเจน) โดย บุคลากรทางการแพทย/์ พเี่ ล้ยี งเดก็ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขทุกระดับ และอสม. ตามวัย ภายใน 30 วัน** และ พอ่ แม่ ผู้ปกครอง คู่มอื DSPM (เลม่ ขาว) ใช้ พปกฒั ตนิ/าสกมาวรัย หน่วยบรกิ ารต้งั แต่ปฐมภมู ิ โดย บคุ ลากรทางการแพทย/์ - คู่มือเฝ้าระวัง เจ้าหนา้ ที่สาธารณสุขทุกระดบั 1B260 2 คดั กรองพัฒนาการซำ้� หนว่ ยบรกิ ารต้ังแตป่ ฐมภูมิ และ ภายใน 30 วัน ส่งเสรมิ พัฒนาการเด็ก ล่าชา้ ให้สง่ ต่อ ปฐมวัย DSPM (เลม่ ขาว) พสมฒั วนัยาการปกติ/ ตรวจวินิจฉัย และ หน่วยบริการตงั้ แตท่ ุตยิ ภูมิ คู่มือ TEDA4I - คมู่ อื ประเมิน 1B260 ประเมนิ พฒั นาการ โดย บุคลากรที่ผ่านการอบรม และ สง่ เสริม 3 ลา่ ชา้ ใหส้ ง่ ต่อ พฒั นาการเด็ก กลุม่ เสยี่ ง DAIM - พัฒนาการบ�ำบัด (Developmental หน่วยบริการตัง้ แต่ทุติยภูมิ คมู่ อื TEDA4I + พฒั นาการบ�ำบดั (เล่มเขยี ว) Intervention) เป็นระยะเวลา 3 เดอื น โดย บุคลากรทผ่ี า่ นการอบรม - รกั ษาสาเหตุ (ถา้ มี) (นัดอย่างน้อยเดอื นละ 1 ครั้ง) สพมฒั วนัยาการปกต/ิ ประเมนิ พัฒนาการซ�้ำ หน่วยบรกิ ารตง้ั แต่ทตุ ิยภูมิ คู่มือ TEDA4I โดย บคุ ลากรท่ีผ่านการอบรม 1B270 4 ลา่ ช้า ให้สง่ ตอ่ หน่วยบริการตัง้ แต่ทุตยิ ภูมิ ตาม service plan ประเมินพฒั นาการด้วย TDSI III ของแตล่ ะเขตสุขภาพ - TDSI III ตรวจวินจิ ฉัยเพ่ิมเตมิ - CPG รายโรค และตรวจวนิ จิ ฉัยเพ่มิ เตมิ โดย กมุ ารแพทย/์ กมุ ารแพทยด์ า้ นพฒั นาการ และพฤติกรรมเด็ก/จิตแพทย์/จิตแพทย์เด็ก และวยั รุ่น ให้การดแู ลรักษาแกไ้ ขตามรายโรคและติดตามเปน็ ระยะ หมายเหตุ : **สง่ รายชอื่ เดก็ สงสยั ลา่ ชา้ ให้ อสม./พอ่ แม่ กระตนุ้ พฒั นาการและตามทกุ สปั ดาห์ หากสมวยั ใหแ้ จง้ จนท.รพ.สต. เพอื่ ตรวจซำ้� และบนั ทกึ ข้อมูลลงโปรแกรม โดยหากเด็กคนใดยงั สงสัยลา่ ช้าอยใู่ หโ้ อกาสเดก็ ได้ฝึกจนครบ 30 วนั ถ้ายงั ไมผ่ า่ นใหบ้ ันทกึ วา่ ลา่ ช้าแล้วสง่ ตอ่ *สงสยั ลา่ ชา้ ส่งต่อทนั ที คือเดก็ ทพ่ี ัฒนาการล่าชา้ /ความผิดปกตอิ ยา่ งชดั เจน เช่น ดาวน์ซินโดรม ศรี ษะเลก็ เป็นตน้ - การเฝ้าระวงั พัฒนาการเดก็ ดว้ ย DSPM ท�ำโดยพ่อแม่ ผู้ปกครองทกุ ช่วงอายุ - การคัดกรองพฒั นาการเดก็ ดว้ ย DSPM ทำ� โดยบุคลากรทางการแพทย์/เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข ทกุ อายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน - TEDA4I คือ ค่มู ือประเมินเพ่ือช่วยเหลือเดก็ ปฐมวยั ที่มีปัญหาพฒั นาการ
คำ� อธบิ ายแผนผงั 1. ค่มู อื เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย ; DSPM (เลม่ ขาว) ใช้ส�ำหรบั ประเมินพฒั นาการเด็ก ในชว่ งอายนุ ้อยกวา่ 2 ปี คือ เดก็ ทคี่ ลินกิ สขุ ภาพเด็กดี (Well Child Clinic) และศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก สว่ นช่วงอายุมากกวา่ 2 ปี ใช้สำ� หรบั เด็กท่ศี ูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ และโรงเรียนอนบุ าล ท้ังน้เี จ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข ทหี่ นว่ ยบริการตั้งแตป่ ฐมภมู ิ (รพ.สต./ รพช./รพท./รพศ.) จะประเมินพัฒนาการเด็กดว้ ยคมู่ อื เฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย ; DSPM (เลม่ ขาว) ในช่องวิธีประเมิน • กรณมี พี ฒั นาการสมวัย แนะน�ำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสรมิ พัฒนาการตามวัย ตามชว่ งวิธฝี กึ ทกั ษะ ในชว่ งอายตุ อ่ ไป • กรณีมพี ฒั นาการไมส่ มวยั แนะน�ำใหพ้ อ่ แม่ ผปู้ กครอง ฝึกทกั ษะเด็กเร่อื งน้ันบ่อย ๆ เป็นเวลา 1 เดือน แลว้ นัดใหม้ าพบผู้ประเมนิ 2. หลังจาก 1 เดือน เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขท่ีหน่วยบริการตั้งแต่ปฐมภูมิ (รพ.สต./รพช./รพท./รพศ.) ประเมินพัฒนาการเด็กซ�้ำ ด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เดก็ ปฐมวัย ; DSPM (เลม่ ขาว) ในชอ่ งวธิ ีประเมนิ โดยเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ของทักษะท่ีไมผ่ ่าน และทักษะอื่น ๆ ตามช่วงอายุ • หากเด็กผ่านทกั ษะที่เคยลา่ ช้าและทักษะอน่ื ๆ ตามช่วงอายุ แสดงวา่ มีพัฒนาการสมวยั ให้เฝา้ ระวงั พฒั นาการตามวยั ต่อเน่ืองตามปกติ • หากเดก็ ผา่ นทกั ษะทเ่ี คยลา่ ชา้ แตพ่ บทกั ษะอน่ื มพี ฒั นาการไมส่ มวยั ผปู้ ระเมนิ แนะนำ� ใหพ้ อ่ แม่ ผปู้ กครอง ฝกึ พฒั นาเดก็ ในเรอื่ งนน้ั บอ่ ย ๆ เปน็ เวลา 1 เดอื น แลว้ นดั ใหม้ าพบ ผปู้ ระเมนิ • หากเด็กยงั ไมผ่ ่านทักษะทเ่ี คยล่าช้า ใหส้ ง่ ต่อไปยงั หนว่ ยบริการทตุ ยิ ภมู ิ ท่มี ีแพทย์ หรอื กมุ ารแพทย์ (รพช./รพท./รพศ./รพ.จิตเวช) ท่มี คี ลินิกกระตุ้นพฒั นาการ 3. หนว่ ยบริการทตุ ิยภมู ิ ท่มี แี พทย์ หรือกมุ ารแพทย์ (รพช./รพท./รพศ./รพ.จติ เวช) ที่มคี ลินกิ กระตนุ้ พัฒนาการ ใช้ค่มู ือประเมนิ เพ่ือช่วยเหลอื เด็กปฐมวัยท่ีมปี ัญหาพัฒนาการ (TEDA4I) โดยบุคลากรทผ่ี ่านการอบรม โดยใช้โปรแกรมกระต้นุ พัฒนาการของสถานบรกิ ารเป็นระยะเวลา 3 เดือน 4. หลงั จาก 3 เดอื น สถานบรกิ ารทมี่ คี ลนิ กิ กระตนุ้ พฒั นาการ ประเมนิ พฒั นาการซำ�้ ดว้ ยคมู่ อื ประเมนิ เพอื่ ชว่ ยเหลอื เดก็ ปฐมวยั ทมี่ ปี ญั หาพฒั นาการ (TEDA4I) โดยบคุ ลากร ทผี่ า่ นการอบรม • กรณเี ดก็ พัฒนาการสมวัย ให้ส่งเสริมพฒั นาการตามวยั ในระบบปกติ • กรณีเดก็ มีพัฒนาการไม่สมวยั หรือมีปญั หาซ�้ำซ้อน สง่ ตอ่ หน่วยบรกิ ารทตุ ิยภูมิ ทมี่ ีแพทย์ หรอื กมุ ารแพทย์ (รพช./รพท./รพศ./รพ.จติ เวช) 5. ส�ำหรับเดก็ ท่ีมพี ฒั นาการไม่สมวัย หน่วยบรกิ ารท่มี แี พทย์ กุมารแพทย์ หรือหนว่ ยบรกิ ารตาม Service Plan ของแตล่ ะเขตบรกิ ารสุขภาพ ประเมินพัฒนาการด้วยคูม่ อื ประเมินและแก้ไข /ฟ้นื ฟพู ัฒนาการเดก็ วยั แรกเกดิ – 6 ปี สำ� หรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI III) หากยงั พบปญั หาอยใู่ ห้แกไ้ ขหรอื สง่ ต่อ และหรือ CPG รายโรค ใหก้ ารดูแลรกั ษา แก้ไขตามรายโรคและติดตามเป็นระยะ เพ่ือคณุ ภาพชีวิตทด่ี ขี องเด็กและครอบครวั คมู่ อื เฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) 5
นิยามศัพท์ : เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ เดก็ ต้ังแต่แรกเกดิ ถงึ อายุ 5 ปี 11 เดอื น 29 วนั Gross motor (GM) หมายถึง พฒั นาการดา้ นการเคลอ่ื นไหว Fine Motor (FM) หมายถึง พฒั นาการด้านกลา้ มเนือ้ มดั เล็กและสตปิ ญั ญา Receptive Language (RL) หมายถงึ พัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา Expressive Language (EL) หมายถึง พัฒนาการด้านการใชภ้ าษา Personal and Social (PS) หมายถงึ พัฒนาการด้านการช่วยเหลอื ตนเองและสังคม EF : Executive Functions of the Brain ทกั ษะทเี่ ป็นแกนหลกั 3 อย่างในวัยเด็กปฐมวยั หมายถงึ การทำ� งานข้นั สูงของสมองที่ช่วยใหน้ ำ� เอาความรไู้ ปวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจในการปฏิบัติ เป็นความสามารถของสมองท่ีพัฒนาได้อย่างรวดเร็วในช่วงปฐมวัย และเป็นพื้นฐานส�ำคัญที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จในการด�ำเนินชีวิตในสังคม การศึกษา และการท�ำงานซ่งึ ในชว่ งปฐมวยั ประกอบด้วยทักษะส�ำคัญ 3 อย่าง ดังน้ี 1. Working Memory : ทกั ษะความจ�ำทีน่ �ำข้อมลู มาใชง้ าน 2. Inhibitory Control/Self-Regulation : ทักษะการยบั ยง้ั ชัง่ ใจและควบคุมตนเอง 3. Cognitive Flexibility : ทกั ษะการคิดและปรับการกระท�ำอยา่ งยืดหยุ่น 6 คู่มอื เฝา้ ระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
การใช้คูม่ ือเฝา้ ระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย ผใู้ ชต้ อ้ งทำ� ความเขา้ ใจปฏบิ ตั เิ ปน็ แนวทางเดยี วกนั จงึ จะทำ� ใหผ้ ลการประเมนิ มคี วามถกู ตอ้ งนา่ เชอ่ื ถอื และเปน็ ประโยชนต์ อ่ การสง่ เสรมิ พฒั นาการของเดก็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมี 4 ขัน้ ตอน ได้แก่ 1. ขั้นตอนการเตรียมความพรอ้ ม 1.1 การเตรียมตวั ผู้ประเมินและส่งเสรมิ พัฒนาการ : ศกึ ษาทบทวนความรเู้ ก่ียวกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย ความสำ� คญั ของการประเมนิ และส่งเสริมพฒั นาการของ เดก็ ในประเทศไทย สถานการณ์ของเด็กและภมู ิหลงั ครอบครวั ในเขตความรบั ผิดชอบ จำ� เปน็ จะต้องศึกษาเอกสารค่มู อื เฝา้ ระวังฯ ตัง้ แต่ ค�ำน�ำ ความน�ำ แผนผงั ค�ำอธิบายแผนผงั แนวทางการใช้คู่มือฯ 4 ขั้นตอน การใช้ทกั ษะ วิธีการเฝ้าระวงั วิธีการประเมนิ เกณฑก์ ารตดั สิน และรายละเอียดของอปุ กรณ์ การใช้อุปกรณ์ และควรเตรียมค�ำพูดที่จะใช้ในข้อค�ำถาม ไว้ล่วงหน้า ในกรณีท่ีต้องใช้ค�ำสั่ง เพ่ือความรวดเร็ว ทดลองท�ำหรือฝึกก่อนการประเมินจริง เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยและมีความม่ันใจก่อนปฏิบัติจริง ซึ่งรวมถึงแนวทางการแนะน�ำ ส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั โดยพ่อแม่ ผู้ปกครองดว้ ย 1.2 การเตรียมอปุ กรณ์ - จัดเตรยี มและตรวจสอบอปุ กรณใ์ หค้ รบตามหมวดหมู่และเรียงตามล�ำดับการใชก้ อ่ นหลงั - อปุ กรณ์เปิดใช้ครง้ั ละ 1 ชดุ ใช้เสรจ็ แล้วเกบ็ ทันที แล้วจึงเปดิ ชุดใหม่ เพ่ือความสะดวกในการจดั เกบ็ และให้เด็กมสี มาธิหรอื สนใจในอุปกรณเ์ ฉพาะทต่ี อ้ งการ จะใช้ประเมินเทา่ นัน้ - เมอื่ ประเมนิ เดก็ ในทอ้ งถิน่ ท่ีมวี ฒั นธรรมทแ่ี ตกต่าง ผปู้ ระเมินสามารถดัดแปลงใชว้ สั ดุในท้องถิ่นที่มี ทดแทนไดอ้ ย่างเหมาะสมในการประเมนิ เดก็ - ตอ้ งทำ� ความสะอาดอุปกรณ์และตรวจสอบความปลอดภยั ของอปุ กรณห์ ลงั นำ� ไปใชท้ ุกครงั้ 1.3 การเตรยี มสถานทส่ี ำ� หรบั ประเมนิ พฒั นาการเดก็ : ควรเปน็ หอ้ งหรอื มมุ ทเ่ี ปน็ สดั สว่ น ไมค่ บั แคบเกนิ ไป อากาศถา่ ยเทสะดวก เพอ่ื ใหเ้ ดก็ รสู้ กึ สขุ สบาย ไมห่ งดุ หงดิ และใหค้ วามรว่ มมอื ในการประเมนิ ไมม่ สี ง่ิ อน่ื ทกี่ ระตนุ้ หรอื เรา้ ความสนใจของเดก็ เชน่ โทรทศั น์ วทิ ยุ คอมพวิ เตอร์ รปู หรอื วตั ถทุ ม่ี สี สี นั ฉดู ฉาด ควรเปน็ หอ้ งทไ่ี มม่ เี สยี งดงั รบกวน หรอื มคี นอ่นื ผา่ นไปมา พ้นื ห้องสะอาด ปลอดภยั ไม่ลนื่ ไมม่ ีสิ่งของที่ไม่จำ� เป็นอยใู่ นหอ้ ง อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ภายในหอ้ งตอ้ งมีความปลอดภัย ไม่แหลมคม ไม่มีเหล่ียมหรือมุมท่ีอาจก่อให้เกิด อนั ตราย ควรมกี ารจัดเบาะ โตะ๊ หรอื เก้าอ้ีตา่ ง ๆ ท่ใี ช้ในการประเมินในแต่ละชว่ งวยั ให้เหมาะสม 1.4 การเตรยี มเดก็ : เด็กตอ้ งไมป่ ่วยทางกาย ไมห่ ิว ไม่งว่ ง อม่ิ เกินไป หรือหงดุ หงิด งอแง เน่ืองจากจะทำ� ให้เดก็ ไม่ให้ความรว่ มมือในการประเมิน พาเดก็ เขา้ หอ้ งน�ำ้ ขับถา่ ยให้เรยี บรอ้ ยก่อนการประเมิน เพ่ือไมใ่ หข้ าดความต่อเนื่องในการประเมนิ ใหเ้ ดก็ เลน่ พูดคุย ท�ำความค้นุ เคยกบั ผู้ประเมนิ และอุปกรณ์บางสว่ น 2. ข้ันตอนการสร้างสัมพนั ธภาพระหว่างผู้ประเมินกับเดก็ และพอ่ แม่ ผูป้ กครอง : เดก็ แตล่ ะวยั จะมพี ฒั นาการทางรา่ งกาย ความคดิ และอารมณท์ ี่แตกต่างกัน ดังนน้ั ผูป้ ระเมนิ ควรสรา้ งสมั พันธภาพทดี่ ีกบั เดก็ ก่อนท่จี ะท�ำการประเมนิ พัฒนาการ โดยแบ่งตามช่วงอายุได้ดงั นี้ คูม่ อื เฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) 7
2.1 ช่วงวัยแรกเกดิ – 9 เดอื น 2.1.1 ผ้ปู ระเมินย้มิ แย้มแจ่มใส พูดคุย ทกั ทายกับพอ่ แม่ ผปู้ กครองก่อน แลว้ จึงพูดคุย เลน่ เสียงกับเด็กด้วยนำ้� เสยี งน่มุ นวล 2.1.2 ถา้ เดก็ รอ้ งไห้ ใหพ้ ่อแม่ ผูป้ กครองอมุ้ ปลอบใหเ้ ด็กสงบจงึ เริ่มประเมนิ 2.1.3 ช่วงอายุ 6 - 9 เดอื น เด็กเริ่มมีความกังวล เม่อื พบคนแปลกหน้า ควรใหเ้ วลากบั เดก็ ท�ำความคนุ้ เคยกอ่ นประเมิน 2.2 ชว่ งอายุ 10 เดอื น – 2 ปี 2.2.1 ผปู้ ระเมนิ ควรเรมิ่ ดว้ ยการพดู คยุ กบั พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เกยี่ วกบั ชวี ติ ประจำ� วนั พฤตกิ รรมและพฒั นาการของเดก็ เพอ่ื ใหเ้ วลาเดก็ ปรบั ตวั คนุ้ เคยกบั ผปู้ ระเมนิ และไดส้ งั เกตพฤติกรรมเด็ก 2.2.2 เมอื่ เดก็ เรมิ่ สนใจและคนุ้ เคยกบั ผปู้ ระเมนิ ใหพ้ ดู คยุ กบั เดก็ ดว้ ยนำ�้ เสยี งนมุ่ นวลและนำ� อปุ กรณป์ ระเมนิ พฒั นาการบางสว่ นชวนใหเ้ ดก็ เลน่ หรอื อาจสาธติ ใหเ้ ดก็ ดู 2.2.3 หากเด็กร้องไห้ไม่ให้ความร่วมมือ ผู้ประเมินควรเปล่ียนไปประเมินข้อทักษะท่ีใช้การสังเกตหรือสอบถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ก่อนแล้วจึงกลับมาท�ำ เมื่อเด็กพรอ้ ม 2.3 ช่วงอายุ 3 – 6 ปี 2.3.1 ช่วงวยั น้เี ด็กสามารถสื่อสารโต้ตอบและทำ� ตามค�ำส่ังไดด้ ี ดงั นน้ั ผปู้ ระเมินสามารถทจ่ี ะพูดคยุ กบั เดก็ ไดโ้ ดยตรง 2.3.2 การพดู คยุ กับเดก็ ควรใชน้ ำ�้ เสียงนุ่มนวล ระดบั เสียงปกติ แต่เมื่อเดก็ เรม่ิ คุน้ เคยกบั ผปู้ ระเมินแล้วควรปรบั สีหน้าและน้�ำเสียงใหด้ นู า่ สนใจ เชน่ พูดเสียงสงู ตำ�่ เพื่อเรา้ ความสนใจ หรือท�ำสหี นา้ ดใี จ ตนื่ เตน้ ให้ชดั เจนข้ึน เพ่ือใหเ้ ดก็ มคี วามสนใจในกิจกรรมท่ีจะเริม่ ประเมนิ โดยคำ� พดู ทเ่ี หมาะสมในการสรา้ งสัมพนั ธภาพกับเด็กวยั น้ี ได้แก่ การชวนคยุ ท่ัว ๆ ไป หรอื การชม เชน่ - ผมเปยี หนูสวยจังเลย ใครเป็นคนถักใหห้ นูคะ - วันนี้ใครเป็นคนมาสง่ หนทู โี่ รงเรยี นคะ - วันน้ีหนูกินข้าวกบั อะไรเอย่ เป็นต้น 2.3.3 เมื่อเดก็ ใหค้ วามร่วมมอื ในการประเมินหรอื สามารถเรม่ิ ประเมินได้ ควรพูดชมเชยเดก็ ทุกครั้ง 2.4 ผ้ปู ระเมนิ แนะน�ำตวั เอง “ชอ่ื ....เปน็ .... วันนีป้ ระเมินพัฒนาการน้อง .... ระยะเวลาที่ใชท้ ้งั หมด ประมาณ 10 - 20 นาที จะท�ำโดยสังเกตถามจากผ้ปู กครอง และให้เดก็ เลน่ ของเลน่ หรืออปุ กรณ์ทเี่ ตรยี มมาให้เดก็ เลน่ ในขณะท่ีกำ� ลงั ประเมินเด็ก ผู้ปกครองอยกู่ บั เด็กไดต้ ลอดเวลา แต่ไม่ตอ้ งช่วยเดก็ ทำ� กจิ กรรม บอก แนะนำ� หรือท�ำแทนเดก็ เพราะจะท�ำให้ผลการประเมนิ ไมต่ รงกับความเปน็ จริง ถ้าเดก็ และผปู้ กครองพร้อมแลว้ เราจะเร่มิ กนั เลยนะคะ” 3. ขั้นตอนการประเมนิ คู่มือเฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยฉบับน้ี อธบิ ายขอ้ ประเมนิ DSPM ใหช้ ัดเจน รวมจำ� นวน 42 ข้อ ประกอบดว้ ย 1. วธิ กี ารประเมนิ ให้ชดั เจน (เปน็ ขอ้ ซ้ำ� กับข้อทีอ่ ธิบายเน้ือหาสง่ เสรมิ EF (Executive Function) จำ� นวน 20 ขอ้ ) จ�ำนวน 32 ข้อ 2. วิธสี ง่ เสริมพฒั นาการและฝึกทักษะ EF (Executive Function) ( ) จ�ำนวน 30 ข้อ 8 คู่มอื เฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
3.1 สอบถามวนั เดือนปเี กดิ เดก็ จากผ้ปู กครองแลว้ ค�ำนวณอายเุ ดก็ วธิ กี ารคำ� นวณ : เรม่ิ จาก วนั เดอื น และปที ท่ี ำ� การประเมนิ เปน็ ตวั ตงั้ วนั เดอื น และปเี กดิ เดก็ เปน็ ตวั ลบ ถา้ วนั ตวั ตงั้ จำ� นวนนอ้ ยกวา่ ใหย้ มื ทเี่ ดอื นมา 1 เดอื น (30 วนั ) ถา้ ตวั ตงั้ เดือนนอ้ ยกว่าตวั ลบใหย้ ืมทีป่ ี 1 ปี (12 เดอื น) ตวั อยา่ งที่ 1 ตัวอยา่ งท่ี 2 ปี เดือน วนั ปี เดอื น วัน วันที่ทำ� การประเมิน 2556 3 5 วนั ทที่ ำ� การประเมิน 2557 3 15 วัน เดือน ปีเกิด 2551 8 10 วนั เดือน ปเี กิด 2554 2 27 เด็กอายุ 4 6 25 เดก็ อายุ 3 0 18 3.2 เริ่มประเมนิ พฒั นาการจากด้านใดก่อนกไ็ ด้ ทต่ี รงกับช่วงอายจุ ริงของเด็ก 3.2.1 ใสเ่ ครือ่ งหมาย ในช่อง ผ่าน เมอื่ เด็กประเมินผ่าน 3.2.2 ในกรณที เ่ี ดก็ ประเมินไมผ่ า่ น ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย ลงในชอ่ ง ไม่ผา่ น 3.2.3 ในช่วงอายใุ ดที่มขี อ้ ประเมิน 2 หรอื 3 ข้อ หากเดก็ ไมผ่ ่านขอ้ ใดข้อหน่งึ ใหถ้ อื ว่าไม่ผา่ นในช่วงอายนุ ัน้ 3.3 ในกรณที ม่ี ีการประเมนิ เพอ่ื ติดตามพฒั นาการในครั้งตอ่ ไป ให้เริ่มต้นประเมินข้อทีเ่ ดก็ ประเมนิ ไมผ่ ่าน ในครัง้ ที่ผา่ นมา หมายเหตุ : - เมื่อประเมินเด็กในท้องถิ่นท่ีใช้ภาษาหรือวัฒนธรรมท่ีแตกต่าง ผู้ประเมินจะต้องท�ำความเข้าใจ ใช้ค�ำพูด และ/หรือวัสดุทดแทนท่ีเหมาะสม ในการประเมินเด็ก - ข้อทดสอบทกุ ขอ้ ได้มกี ารทดสอบเพ่ือหาคา่ เฉล่ียความสามารถของเด็กไทยอย่างน้อยร้อยละ 75 สามารถทำ� ได้ - ข้อทดสอบท่ีมีเกณฑ์ผ่านเป็นจ�ำนวนครั้ง เช่น ....อย่างน้อย 1 ใน 3 คร้ัง หมายถึง ให้โอกาสเด็กได้ทดสอบ 3 ครั้ง หากผ่านแล้วครั้งต่อไป ไมต่ อ้ งทดสอบ 4. ขั้นตอนสรปุ : เมือ่ ประเมนิ พัฒนาการเดก็ เสร็จแล้วทุกครงั้ ผ้ปู ระเมินจะต้องสรุปผลการประเมินและใหข้ ้อมูลแก่พอ่ แม่ ผูป้ กครองเด็ก ดังน้ี 4.1 กรณปี ระเมนิ แล้วพบว่าสมวัย ใหแ้ นะน�ำพอ่ แม่ ผปู้ กครองสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ในช่วงอายุตอ่ ไปตามคูม่ อื ฯ 4.2 กรณีที่เด็กประเมินแล้วพบว่าไม่สมวัย ผู้ประเมินให้ค�ำแนะน�ำพ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามคู่มือฯ ในข้อทักษะท่ีเด็กไม่ผ่านการประเมินบ่อย ๆ หลงั จากนนั้ อีก 1 เดอื น กลับมาประเมินซ�้ำ 4.3 กรณีประเมนิ ซำ้� หลงั จากการกระตนุ้ แลว้ ยังไม่สมวยั ต้องใหข้ อ้ มูลแกพ่ อ่ แม่ ผปู้ กครองเด็กในการส่งตอ่ เพ่อื ตรวจและวนิ ิจฉยั เพมิ่ เตมิ ทีโ่ รงพยาบาล (รพช./รพท./ รพศ./รพ.จิตเวช) พร้อมใบส่งตวั คูม่ ือเฝ้าระวงั และสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) 9
การสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยพ่อแม่ ผปู้ กครอง กญุ แจสคู่ วามส�ำเร็จ • รักลูกแสดงออกอย่างสมำ่� เสมอในการดแู ลเดก็ ทุก ๆ วันตัง้ แต่การกนิ นอน เลน่ ออกก�ำลังกาย และเรยี นรู้ที่เหมาะสมถูกสขุ อนามัยและปลอดภยั • ไม่เปรียบเทียบกันระหว่างเด็ก เพราะเดก็ แตล่ ะคนมีความแตกตา่ งกนั • การเรยี นร้ขู องเดก็ เร่ิมตัง้ แตป่ ฏิสนธิ เป็นแบบค่อยเปน็ คอ่ ยไปและตอ่ เน่อื ง • เด็กเรียนรู้ผา่ นการฟัง การดู การจบั ตอ้ ง การเล่น การท�ำตามแบบอยา่ ง และลองท�ำ พอ่ แม่ ผู้ปกครองจงึ ควรคุยกับลูกต้ังแตว่ ัยทารก เลน่ เลา่ เรอื่ งสง่ิ ที่ก�ำลงั ทำ� กบั เดก็ เลา่ นิทาน อ่านหนงั สอื ใหฟ้ ัง ชช้ี วนดูสิ่งต่างๆ รอบตัว ดรู ูป การมกี จิ กรรมศิลปะและดนตรี กิจกรรมในบ้าน และประสบการณ์ตรงอ่ืน ๆ • พ่อแม่ ผปู้ กครอง ตอ้ งฟังเด็ก ส่งเสริมให้เด็กถามและสงั เกต ช้ีชวนกนั สนทนาและใหเ้ ดก็ มีสว่ นร่วมแสดงความคิดเห็น • ไมใ่ ชว้ ธิ บี ังคับฝนื ใจ ไมก่ ดดันหรอื เรง่ รัดเดก็ ไม่ก้าวรา้ วหรือท�ำร้ายเด็กทั้งทางร่างกาย จิตใจ และวาจา • เด็กตอ้ งได้รบั โอกาสฝกึ การมีวินยั ในตนเอง เชน่ การกนิ การนอนเป็นเวลา การเกบ็ ของเล่น การท้ิงขยะในท่ที ิง้ ขยะ การลา้ งมือ การไมแ่ ย่งของคนอ่นื การไม่ทบุ ตที �ำรา้ ยคนอน่ื เปน็ ตน้ • โทรทัศนห์ รอื สอ่ื ทำ� นองเดียวกันอาจขัดขวางพฒั นาการรอบดา้ นของเดก็ อายุตำ�่ กวา่ 2 ปี และรบกวนการนอนหลบั ของเดก็ • พ่อแม่ ผู้ปกครอง ต้องเป็นตัวอย่างพฤติกรรมที่ดีส�ำหรับเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กได้ฝึกท�ำ และควรชี้แจงเม่ือเด็กท�ำผิดพลาด เปลี่ยนเป็นให้ก�ำลังใจ เมื่อเด็กพยายามท�ำสิ่ง ทพี่ ึงปรารถนา และชมเชย เมือ่ เด็กทำ� ได้ เดก็ จะค่อย ๆ รู้จักใช้เหตผุ ลและรกั ษาค�ำพูดตามแบบที่พ่อแม่ปฏบิ ตั ิ ข้อควรค�ำนึงในการฝกึ ทักษะเพือ่ สง่ เสริมพัฒนาการเดก็ การฝึกทกั ษะเดก็ มเี ปา้ หมายส่งเสริมพฒั นาการเด็กให้ก้าวหนา้ เป็นไปตามวัย สามารถใชใ้ นชวี ิตจริงและในสภาพแวดลอ้ มจริง โดยควรคำ� นึงถึงสิง่ ตอ่ ไปน้ี • คำ� พูดทีใ่ ชค้ วรงา่ ย สนั้ ชัดเจน และคงเสน้ คงวา • ใหเ้ วลาเด็กปฏบิ ัตติ าม 3 - 5 วินาที ถา้ เดก็ ยังไมไ่ ดท้ �ำ ให้พดู ซำ�้ (ข้อความเหมือนเดิม) พร้อมให้การชว่ ยเหลือเด็กทำ� จนเสร็จ • ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เด็กเทา่ ทีจ่ �ำเปน็ ลดการช่วยเหลือลงเมื่อเด็กท�ำได้ ซงึ่ อาจชว่ ยเหลอื โดย - ทางกาย : จับมอื ท�ำ แตะขอ้ ศอกกระตุน้ - ทางวาจา : บอกให้เดก็ ลองท�ำดู หากจ�ำเป็นอาจจะบอกให้เดก็ ทราบวธิ ี ทลี ะข้ัน - ทางท่าทาง : ชี้ ผงกศรี ษะ สา่ ยหนา้ ขดั ขวางไมใ่ หเ้ กดิ พฤตกิ รรมทไี่ มต่ อ้ งการ เชน่ เมอ่ื บอกใหเ้ ดก็ ชแี้ ปรงสฟี นั แตเ่ ดก็ จะชแี้ กว้ นำ้� ใหใ้ ชม้ อื ปดิ แกว้ นำ�้ เพอื่ ใหเ้ ดก็ รวู้ า่ จะตอ้ ง ชแี้ ปรงสฟี นั เม่ือเดก็ เกิดการเรยี นรูแ้ ลว้ ใหเ้ ปลีย่ นขอ้ ความแบบต่าง ๆ แต่มคี วามหมายเหมอื นกัน เพอ่ื ให้เดก็ รจู้ กั สิง่ ที่แตกต่างกัน การให้แรงเสริมควรให้ทันทีเมอ่ื เด็กท�ำไดถ้ กู ต้อง ไม่ว่าจะเป็น การชว่ ยเพื่อใหเ้ ดก็ ท�ำได้หรือเดก็ ท�ำไดเ้ อง เชน่ ชมเชย ย้ิม ปรบมือ สมั ผัส ใหข้ นม แต่ควรคำ� นงึ ถึงสง่ิ ต่อไปนี้ 1. แรงเสริมควรเหมาะสมกบั วยั เป็นสิง่ ท่เี ดก็ ชอบแต่ละคนไม่เหมือนกนั 2. ควรใหแ้ รงเสริมบอ่ ย ๆ เมอื่ ต้องการให้เกิดทักษะหรอื พฤตกิ รรมใหม่ 3. การลดแรงเสริมลงเม่อื เด็กทำ� ได้ สังเกตว่าเด็กมีความพอใจร้สู ึกดใี นส่ิงทตี่ นทำ� ได้ จึงไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งอาศยั แรงเสริมจากภายนอก 4. การให้รางวัล เช่น การแสดงความเอาใจใส่ ยิ้ม กอด ปรบมือให้หรือให้ของ เมื่อเด็กตั้งใจท�ำหรือท�ำส�ำเร็จจะเป็นประโยชน์ต่อพัฒนาการของเด็กในระยะยาว ต่างกับ การให้สินบนและการขเู่ ขญ็ บงั คับใหท้ �ำ ”ควรใช้การสอนโดยอธิบายอย่างนุ่มนวลแต่หนักแน่น” 10 คมู่ อื เฝา้ ระวังและส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วธิ ีประเมิน เฝ้าระวัง วธิ ฝี ึกทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู และผดู้ แู ลเด็ก 1 แรกเกดิ - ท่านอนคว่�ำยกศีรษะและหัน จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนคว่�ำบนเบาะนอน จัดให้เดก็ อย่ใู นทา่ นอนคว่�ำ เขย่าของเลน่ ทมี่ ีเสยี งตรงหนา้ เดก็ ระยะ 1 เดือน ผ่าน ไปข้างใดข้างหนึง่ ได้ (GM) แขนทั้งสองข้างอยู่หน้าไหล่ สังเกตเด็ก ห่างประมาณ 30 ซม. เมื่อเดก็ มองทีข่ องเลน่ แล้วคอ่ ย ๆ เคล่อื นของ ยกศีรษะ เลน่ มาทางดา้ นซ้ายหรอื ขวา เพื่อให้เด็กหนั ศรี ษะมองตาม ถา้ เด็กทำ� ไม่ผา่ น ผ่าน : เด็กสามารถยกศีรษะและหันไป ไม่ได้ช่วยประคองศีรษะเด็กให้หันตาม ท�ำซ�้ำอีกคร้ังโดยเปล่ียนให้ ขา้ งใดข้างหน่งึ ได้ เคลือ่ นของเล่นมาทางด้านตรงขา้ ม 2 มองตามถงึ กงึ่ กลางลำ� ตวั (FM) จดั ใหเ้ ดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย ถอื ลกู บอลผา้ 1. จัดใหเ้ ด็กอยใู่ นท่านอนหงาย กม้ หน้าให้อยู่ใกล้ ๆ เด็ก หา่ งจาก ผ่าน อปุ กรณ์: ลูกบอลผ้าสแี ดง สีแดงห่างจากหน้าเด็กประมาณ 20 ซม. หน้าเด็กประมาณ 20 ซม. ขยับลูกบอลผ้าสีแดงเพื่อกระตุ้นให้เด็ก 2. เรียกให้เด็กสนใจ โดยเรียกช่ือเด็ก เม่ือเด็กสนใจมองให้เคลื่อน ไมผ่ ่าน สนใจ แล้วเคล่ือนลูกบอลผ้าสีแดงช้า ๆ หรอื เอยี งหนา้ ไปทางดา้ นขา้ งลำ� ตวั เดก็ อยา่ งชา้ ๆ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มองตาม ไปทางด้านข้างล�ำตัวเด็กข้างใดข้างหนึ่ง 3. ถา้ เดก็ ไมม่ องใหช้ ว่ ยเหลอื โดยการประคองหนา้ เดก็ ใหม้ องตาม เคลื่อนลูกบอลผ้าสีแดงกลับมาท่ีจุด 4. ฝึกเพ่ิมเติมโดยใช้ของเล่นท่ีมีสีสันสดใสกระตุ้นให้เด็กสนใจและ กง่ึ กลางลำ� ตัวเด็ก มองตาม ผ่าน : เด็กมองตามลกู บอลผ้าสแี ดง จาก ของเลน่ ทใ่ี ชแ้ ทนได้ : อปุ กรณท์ มี่ สี สี ดใส เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ ดา้ นข้างถึงระยะกึ่งกลางล�ำตัวได้ 10 ซม. เชน่ ผ้า/ลกู บอลผา้ พู่ไหมพรม 3 สะดุ้งหรือเคลื่อนไหวร่างกาย 1. จัดให้เด็กอยใู่ นทา่ นอนหงาย 1. จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนหงาย เรียกช่ือหรือพูดคุยกับเด็กจาก เมื่อได้ยินเสียงพูดระดับปกติ 2. อยู่ห่างจากเด็กประมาณ 60 ซม. ดา้ นขา้ งทลี ะข้างท้ังขา้ งซา้ ยและขวาโดยพดู เสียงดงั กว่าปกติ ผา่ น (RL) เรียกช่ือเด็กจากด้านข้างทีละข้างท้ังซ้าย 2. หากเด็กสะดุ้งหรือขยับตัวให้ยิม้ และสัมผสั ตัวเดก็ ลดเสียงพูดคุย และขวา โดยพูดเสียงดงั ปกติ ลงเรื่อย ๆ จนให้อยู่ในระดับปกติ ไมผ่ ่าน ผ่าน : เด็กแสดงการรับรดู้ ว้ ยการกะพริบ ตา สะด้งุ หรอื เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ชว่ งอายแุ รกเกดิ - 1 เดือน https://youtu.be/GapgV-TiH54 11คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝ้าระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ข้อที่ ทกั ษะ วิธีประเมิน เฝา้ ระวัง วิธีฝกึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู และผู้ดแู ลเด็ก แรกเกดิ - 4 ส่งเสยี งออ้ แอ้ (EL) สังเกตว่าเด็กส่งเสียงอ้อแอ้ในระหว่าง อมุ้ หรอื สมั ผสั ตวั เดก็ เบา ๆ มองสบตา แลว้ พดู คยุ กบั เดก็ ดว้ ยเสยี งสงู ๆ 1 เดือน ท�ำการประเมิน หรือถามจากพ่อแม่ ต�่ำ ๆ เพ่ือใหเ้ ดก็ สนใจและหยุดรอใหเ้ ด็กส่งเสยี งออ้ แอ้ตอบ ผา่ น ผ้ปู กครอง ผ่าน : เดก็ ท�ำเสียงอ้อแอไ้ ด้ ไมผ่ ่าน 5 มองจอ้ งหนา้ ไดน้ าน 1 - 2 วนิ าที อุ้มเด็กให้ห่างจากหน้าพ่อแม่ ผู้ปกครอง 1. จดั ใหเ้ ด็กอยใู่ นท่านอนหงายหรืออุ้มเดก็ (PS) หรอื ผูป้ ระเมนิ ประมาณ 30 ซม. ยมิ้ และ 2. สบตา พูดคยุ ส่งเสียง ยิ้ม หรอื ท�ำตาลกั ษณะต่าง ๆ เชน่ ตาโต ผา่ น พดู คยุ กบั เดก็ กะพรบิ ตา เพือ่ ใหเ้ ด็กสนใจมอง ผา่ น : เด็กสามารถมองจ้องหนา้ ได้ ไมผ่ ่าน อย่างน้อย 1 วนิ าที 1-2 6 ท่านอนควำ่� ยกศีรษะต้ังข้นึ ได้ จดั ให้เดก็ อย่ใู นทา่ นอนคว�่ำ ข้อศอกงอ มอื 1. จดั ใหเ้ ดก็ อย่ใู นทา่ นอนควำ�่ ข้อศอกงอ 45 องศา นาน 3 วนิ าที (GM) ทง้ั สองขา้ งวางทพี่ น้ื เขยา่ กรงุ๋ กรงิ๋ ดา้ นหนา้ 2. ใชห้ นา้ และเสยี งของพอ่ แม่ ผปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลเดก็ พดู คยุ กบั เดก็ ผ่าน อปุ กรณ์: กร๋งุ กริ๋ง เด็ก แลว้ เคลอื่ นขึ้นด้านบน กระตุ้นใหเ้ ด็ก ตรงหน้าเด็ก เมอื่ เดก็ มองตามค่อย ๆ เคลือ่ นหน้าพอ่ แม่ ผู้ปกครอง มองตาม หรอื ผดู้ แู ลเดก็ ขนึ้ ดา้ นบนเพอ่ื ใหเ้ ดก็ เงยหนา้ จนศรี ษะยกขน้ึ นบั 1, 2 ไมผ่ ่าน ผ่าน : เดก็ สามารถยกศรี ษะขนึ้ ได้ คอ่ ย ๆ เคลอ่ื นหนา้ พอ่ แม่ ผปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลเดก็ ลงมาอยตู่ รงหนา้ 45 องศา นาน 3 วินาที อยา่ งน้อย 2 ครงั้ เด็กเหมือนเดิม ช่วงอายุ 1 - 2 เดอื น 3. เคล่ือนหน้าพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้สูงขึ้น จนเด็กยก ศรี ษะตามได้ในแนว 45 องศา และนบั 1, 2, 3 https://youtu.be/MsLe0DIVSZ4 4. ฝึกเพิ่มเติมโดยใช้ของเล่นท่ีมีสีสันสดใสกระตุ้นให้เด็กสนใจและ มองตาม ของเลน่ ทใ่ี ชแ้ ทนได้ : อปุ กรณท์ ม่ี สี แี ละเสยี ง เชน่ กรงุ๋ กรง๋ิ ทำ� ดว้ ยพลาสตกิ / ผา้ ลกู บอลยางบบี /สตั วย์ างบบี ขวดพลาสตกิ ใสเ่ มด็ ถวั่ /ทรายพนั ใหแ้ นน่ 12 คู่มอื เฝ้าระวังและส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ข้อท่ี ทกั ษะ วิธปี ระเมนิ เฝ้าระวัง วิธฝี กึ ทักษะ (เดอื น) โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เจา้ หนา้ ที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเดก็ 1-2 7 มองตามผ่านก่ึงกลางล�ำตัว 1. จดั ใหเ้ ดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย ถอื ลกู บอล 1. จดั ใหเ้ ดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงาย ยน่ื ใบหนา้ หา่ งจากหนา้ เดก็ ประมาณ (FM) ผ้าสีแดงห่างจากหน้าเด็ก 30 ซม. โดย 20 ซม. กระตุน้ ใหเ้ ดก็ มองหน้าและเคลอ่ื นใบหนา้ ผา่ นก่ึงกลางลำ� ตวั ผา่ น ใหอ้ ยู่เยือ้ งจุดก่งึ กลางล�ำตวั เดก็ เล็กน้อย เพอ่ื ใหเ้ ด็กมองตาม 2. กระตุ้นให้เด็กจ้องมองท่ีลูกบอลผ้า 2. ถ้าเด็กไม่มองให้ประคองหน้าเด็กให้หันมองตาม หลังจากที่เด็ก ไมผ่ ่าน สแี ดง สามารถมองตามใบหน้าได้แล้ว ให้ถือของเล่นที่มีสีสดใสห่างจาก 3. เคลอ่ื นลกู บอลผา้ สแี ดงผา่ นจดุ กง่ึ กลาง หนา้ เด็กประมาณ 20 ซม. กระต้นุ ให้เดก็ มองที่ของเลน่ และเคลอ่ื น อปุ กรณ:์ ลูกบอลผ้าสแี ดง ล�ำตวั เดก็ ไปอีกดา้ นหนงึ่ อย่างช้า ๆ ของเล่นผ่านกึ่งกลางลำ� ตัวเพ่ือใหเ้ ด็กมองตาม 3. เม่ือเด็กมองตามได้ดีแล้ว ควรเพ่ิมระยะห่างของใบหน้า หรือ ผ่าน : เดก็ มองตามลูกบอลผา้ สีแดง ผา่ น ของเลน่ จนถึงระยะ 30 ซม. จดุ กงึ่ กลางลำ� ตวั ไดต้ ลอด โดยไมห่ นั ไปมอง ของเลน่ ทใี่ ชแ้ ทนได้ : อปุ กรณท์ ม่ี สี สี ดใส เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ ทางอ่นื 10 ซม. เชน่ ผ้า/ลูกบอลผา้ พไู่ หมพรม 8 มองหน้าผู้พูดคุย ได้นาน 1. จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนหงายหรือ 1. จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนหงายหรืออุ้มเด็ก ให้หน้าห่างจากเด็ก 5 วนิ าที (RL) อุ้มเด็กให้ใบหน้าผู้ประเมินห่างจากเด็ก ประมาณ 60 ซม. ผ่าน ประมาณ 60 ซม. 2. สบตาและพดู คุยหรือทำ� ทา่ ทางใหเ้ ดก็ สนใจ เช่น ท�ำตาโต ขยบั 2. พูดคุยกับเด็กในขณะที่เด็กไม่ได้ ริมฝปี าก ยิ้ม หวั เราะ ไม่ผ่าน มองหนา้ ผูป้ ระเมิน 3. หยิบของเล่นสีสดใสมาใกล้ ๆ หน้า กระตุ้นให้เด็กมองของเล่น ผา่ น : เดก็ หนั มามองหนา้ ผพู้ ดู ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย และมองหนา้ เมือ่ เดก็ มองแล้วให้นำ� ของเล่นออก 5 วนิ าที วัตถุประสงค์ : เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก กับพ่อแม่ ผูป้ กครองหรือผู้ดแู ลเด็ก 13คู่มือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
ค่มู อื เฝ้าระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ข้อท่ี ทกั ษะ วิธปี ระเมิน เฝ้าระวงั วิธีฝึกทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผูด้ ูแลเด็ก 1-2 9 ท�ำเสียงในล�ำคอ (เสียง “อู” ฟังเสียงเด็กขณะประเมิน โดยอยหู่ า่ งจาก 1. จดั เด็กอยใู่ นทา่ นอนหงาย หรืออุ้มเด็ก หรือ “อา” หรือ “อือ”) อย่าง เด็กประมาณ 60 ซม. หรือถามจากพอ่ แม่ 2. ย่นื หนา้ เข้าไปหาเดก็ สบตาและพดู คุยให้เดก็ สนใจ แล้วทำ� เสยี ง ผา่ น ชัดเจน (EL) ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ว่าเด็กท�ำเสียง อู หรือ อือ หรอื อา ในลำ� คอใหเ้ ด็กได้ยิน หยุดฟังเพื่อรอจงั หวะให้ “อ”ู หรอื “ออื ” หรอื “อา” ได้หรอื ไม่ เด็กสง่ เสยี งตาม ไมผ่ ่าน ผ่าน : เด็กท�ำเสียงอู หรือ อือ หรือ อา 3. เมอ่ื เดก็ ออกเสยี งได้ ใหย้ น่ื หนา้ หา่ งจากเดก็ เพม่ิ ขนึ้ จนถงึ ประมาณ อย่างชัดเจน 60 ซม. 10 ยิ้มตอบหรือส่งเสียงตอบได้ จัดเด็กอยู่ในท่านอนหงายพร้อมก้มหน้า อุ้มเด็กอยู่ในท่านอนหงาย มองตาเด็กและสัมผัสเบาๆ พร้อมกับพูด เม่ือพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือ ไปใกล้เด็ก ย้ิมและพูดคุยกับเด็ก โดย คยุ กบั เดก็ เปน็ คำ� พดู สน้ั ๆ ซำ้� ๆ ชา้ ๆ เชน่ “วา่ ไงจะ๊ .. (ชอ่ื ลกู )..คนเกง่ ” ผ่าน ผู้ประเมินย้ิมและพูดคุยด้วย ไม่แตะตอ้ งตวั เด็ก “ย้ิมซิ” “เด็กดี” “.. (ชื่อลูก)..ลูกรัก” “แม่รักลูกนะ” หยุดฟังเพ่ือ (PS) ผ่าน : เด็กสามารถย้ิมตอบหรือส่งเสียง รอจงั หวะใหเ้ ดก็ ยม้ิ หรอื สง่ เสยี งตอบ ไมผ่ ่าน ตอบได้ 3 - 4 11 ท่านอนคว�่ำยกศีรษะและอก 1. จดั ใหเ้ ด็กอย่ใู นทา่ นอนควำ่� บนพ้นื ราบ 1. จัดใหเ้ ดก็ อยู่ในท่านอนคว่�ำ ขอ้ ศอกงอ พ้นพน้ื (GM) 2. เขย่ากรุ๋งกริ๋งด้านหน้าเด็กเพื่อให้เด็ก 2. ใชห้ นา้ และเสยี งของพอ่ แม่ ผปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลเดก็ พดู คยุ กบั เดก็ ผา่ น อปุ กรณ:์ กรงุ๋ กร๋งิ สนใจ แลว้ เคลอ่ื นขนึ้ ดา้ นบน กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตรงหนา้ เด็ก เมอื่ เดก็ มองตามคอ่ ย ๆ เคล่อื นหนา้ พ่อแม่ ผปู้ กครอง มองตาม หรือผู้ดูแลเด็กขน้ึ ดา้ นบนเพื่อใหเ้ ด็กสนใจยกศรี ษะ โดยมอื ยันพนื้ ไว้ ไมผ่ ่าน ผ่าน : เด็กยกศีรษะและอกโดยใช้แขน แขนเหยียดตรงและหนา้ อกพ้นพืน้ ยนั กับพ้นื พยุงตวั ไวอ้ ยา่ งน้อย 5 วินาที 3. ฝึกเพิ่มเติมโดยใช้ของเล่นที่มีสีสันสดใสกระตุ้นให้เด็กสนใจและ ช่วงอายุ 3 - 4 เดอื น มองตาม ของเล่นท่ใี ช้แทนได้ : https://youtu.be/qxm0bNV1tPw อปุ กรณท์ ม่ี สี แี ละเสยี ง เชน่ กรงุ๋ กรง๋ิ ทำ� ดว้ ยพลาสตกิ /ผา้ ลกู บอลยาง บีบ/สตั วย์ างบีบ ขวดพลาสตกิ ใส่เมด็ ถั่ว/ทราย พันให้แนน่ 14 คมู่ อื เฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝา้ ระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วธิ ีประเมิน เฝ้าระวัง วิธีฝกึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู และผดู้ ูแลเด็ก 3-4 12 มองตามส่ิงของที่เคลื่อนท่ีได้ 1. จัดให้เดก็ อยู่ในทา่ นอนหงาย 1. จดั เด็กอยูใ่ นทา่ นอนหงายโดยศรี ษะเด็กอยูใ่ นแนวกง่ึ กลางลำ� ตวั เป็นมุม 180 องศา (FM) 2. ถือลูกบอลผ้าสีแดงห่างจากหน้าเด็ก 2. ก้มหน้าให้อยู่ใกล้ ๆ เด็ก ห่างจากหน้าเด็กประมาณ 30 ซม. ผ่าน ประมาณ 30 ซม. (1 ไม้บรรทดั ) อุปกรณ์ : ลกู บอลผ้าสีแดง 3. กระต้นุ เด็กให้มองท่ลี ูกบอลผ้าสแี ดง 3. เรียกชอื่ เด็กเพื่อกระต้นุ เด็กให้สนใจจอ้ งมอง จากน้ันเคลอื่ นหนา้ ไมผ่ ่าน 4. เคลื่อนลูกบอลผ้าสีแดงเป็นแนวโค้ง พ่อแม่ ผปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลเด็กอยา่ งชา้ ๆ เปน็ แนวโคง้ ไปทางด้านซ้าย ไปทางดา้ นขวาหรอื ดา้ นซา้ ยของเดก็ อยา่ ง 4. ทำ� ซำ้� โดยเปลย่ี นเปน็ เคลอ่ื นหนา้ พอ่ แม่ ผปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลเดก็ ช้า ๆ แล้วเคลอื่ นกลบั มาทางดา้ นตรงขา้ ม จากทางดา้ นซ้ายไปดา้ นขวา ใหโ้ อกาสประเมนิ 3 ครั้ง 5. ถ้าเด็กยังไม่มองตาม ให้ช่วยประคองหน้าเด็กเพื่อให้หันหน้ามา ผ่าน : เด็กมองตามลูกบอลผ้าสีแดงได้ มองตาม 180 องศา อย่างนอ้ ย 1 ใน 3 ครง้ั 6. ฝึกเพ่ิมเติมโดยใช้ของเล่นท่ีมีสีสันสดใสกระตุ้นให้เด็กสนใจและ มองตาม ของเล่นท่ีใช้แทนได้ : อุปกรณ์ท่ีมีสีสดใส เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 10 ซม. เช่น ผ้า/ลกู บอลผ้า พู่ไหมพรม 13 หนั ตามเสยี งได้ (RL) 1. จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนหงายหรืออุ้ม 1. จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนหงาย หรืออุ้มเด็กนั่งบนตักโดยหันหน้า น่ังตกั หนั หนา้ ออกจากผปู้ ระเมิน ออกจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรอื ผู้ดูแลเดก็ ผา่ น อปุ กรณ์ : กรุ๋งกรง๋ิ 2. เขย่ากรุ๋งกริ๋งด้านซ้ายและขวาของ 2. เขยา่ ของเล่นใหเ้ ด็กดู ตัวเด็กทีละขา้ งโดยหา่ งประมาณ 60 ซม. 3. เขย่าของเลน่ ทางดา้ นข้าง ห่างจากเดก็ ประมาณ 30 – 45 ซม. และ ไมผ่ า่ น และไม่ให้เด็กเห็น รอให้เด็กหันมาทางของเลน่ ทม่ี ีเสียง ผา่ น : เดก็ หนั ตามเสยี งและมองทกี่ รงุ๋ กรงิ๋ ได้ 4. จากน้ันให้พูดคุยและย้ิมกับเด็ก ถ้าเด็กไม่หันมามองของเล่น ใหป้ ระคองหนา้ เดก็ เพอื่ ใหห้ นั ตามเสยี งคอ่ ย ๆ เพม่ิ ระยะหา่ งจนถงึ 60 ซม. ของเลน่ ทใ่ี ชแ้ ทนได้ : อปุ กรณท์ มี่ สี แี ละเสยี ง เชน่ กรงุ๋ กรง๋ิ ทำ� ดว้ ยพลาสตกิ / ผา้ ลกู บอลยางบบี /สตั วย์ างบบี ขวดพลาสตกิ ใสเ่ มด็ ถว่ั /ทราย พนั ใหแ้ นน่ 15คู่มอื เฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
ค่มู อื เฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ข้อที่ ทกั ษะ วิธปี ระเมนิ เฝา้ ระวงั วธิ ฝี กึ ทักษะ (เดอื น) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครู และผดู้ แู ลเด็ก 3-4 14 ทำ� เสียงสูง ๆ ต่ำ� ๆ เพ่อื แสดง ในระหวา่ งทปี่ ระเมนิ สงั เกตวา่ เดก็ สง่ เสยี ง มองสบตาเดก็ และพดู ด้วยเสยี งสูง ๆ ต�่ำ ๆ เลน่ หัวเราะกับเดก็ หรอื ความรสู้ ึก (EL) สูง ๆ ต่�ำ ๆ ได้หรือไม่ หรือถามพ่อแม่ สมั ผสั จดุ ตา่ ง ๆ ของรา่ งกายเดก็ เชน่ ใชน้ วิ้ สมั ผสั เบา ๆ ทฝ่ี า่ เทา้ ทอ้ ง ผ่าน ผู้ปกครองหรอื ผู้ดแู ลเด็ก เอว หรือใชจ้ มูกสัมผัสหน้าผาก แก้ม จมกู ปากและท้องเดก็ โดยการ สมั ผสั แต่ละครัง้ ควรมจี ังหวะหนักเบาแตกตา่ งกันไป ไมผ่ ่าน ผ่าน : เด็กส่งเสยี งสูง ๆ ตาํ่ ๆ เพื่อแสดง ความรูส้ ึกอย่างน้อย 2 ความรสู้ ึก 15 ยิ้มทักคนท่คี นุ้ เคย (PS) สังเกตขณะอยู่กับเด็กหรือถามพ่อแม่ 1. ยม้ิ และพดู คุยกับเด็กเมื่อท�ำกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหเ้ ด็กทกุ ครัง้ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กว่า “เด็กย้ิมทัก 2. อ้มุ เด็กไปหาคนที่คุ้นเคย เชน่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อแม่ ผปู้ กครองยม้ิ ผ่าน คนท่ีคุ้นเคยก่อนได้หรอื ไม่” ทักคนทค่ี ุ้นเคยใหเ้ ด็กดู ผ่าน : เด็กย้ิมทักพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือ 3. พดู กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ทำ� ตาม เชน่ “ยม้ิ ใหค้ ณุ พอ่ ซลิ กู ” “ยม้ิ ให.้ ....ซลิ กู ” ไมผ่ ่าน ผูด้ ูแลเดก็ หรือคนทคี่ ยุ้ เคยกอ่ นได้ วัตถุประสงค์ : สรา้ งเสรมิ อารมณด์ ี 5 - 6 16 ยันตัวขึ้นจากท่านอนคว�่ำโดย จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนคว�่ำ เขย่ากรุ๋งกร๋ิง 1. จดั ให้เดก็ อยใู่ นท่านอนควำ่� เหยียดแขนตรงทั้งสองข้างได้ ด้านหน้าเด็ก กระตุ้นให้เด็กมองสนใจ 2. ถอื ของเลน่ ไวด้ ้านหน้าเหนือศรี ษะเด็ก ผา่ น (GM) แล้วเคล่ือนข้ึนด้านบน กระตุ้นให้เด็ก 3. เรียกชื่อเด็กให้มองดูของเล่นแล้วเคล่ือนของเล่นให้สูงข้ึนเหนือ อปุ กรณ์ : กรุ๋งกรง๋ิ มองตาม ศรี ษะอยา่ งชา้ ๆ เพอื่ ใหเ้ ดก็ ยกศรี ษะตาม โดยมอื ยนั พนื้ ไว้ แขนเหยยี ด ไมผ่ า่ น ผา่ น : เดก็ สามารถใชฝ้ า่ มอื ทัง้ สองขา้ งยนั ตรงจนหนา้ อกและทอ้ งพน้ พน้ื ตัวขึ้นจนข้อศอกเหยียดตรง ท้องและ ของเลน่ ท่ใี ช้แทนได้ : อปุ กรณ์ทม่ี ีสแี ละเสียง เชน่ กรุง๋ กริง๋ ทำ� ดว้ ย ชว่ งอายุ 5 - 6 เดอื น หน้าอกต้องยกขึน้ พน้ พื้น พลาสติก/ผ้า ลูกบอลยางบีบ/สัตว์ยางบีบ ขวดพลาสติกใส่เม็ดถ่ัว/ ทราย พนั ใหแ้ น่น https://youtu.be/loDZZ90-Rzg 16 คู่มอื เฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ ข้อที่ ทกั ษะ วิธีประเมิน เฝ้าระวัง วธิ ฝี กึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง เจา้ หนา้ ที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเดก็ 5-6 17 เอ้ือมมือหยิบ และถือวัตถุไว้ จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนหงาย ถือกรุ๋งกร๋ิง 1. จัดให้เด็กอยู่ในท่านอนหงาย เขย่าของเล่นให้ห่างจากตัวเด็ก ขณะอย่ใู นทา่ นอนหงาย (FM) ใหห้ ่างจากตัวเดก็ ประมาณ 20 - 30 ซม. ในระยะที่เด็กเอื้อมถงึ ผา่ น ทจี่ ดุ กงึ่ กลางลำ� ตวั อาจกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ สนใจ 2. ถ้าเด็กไม่เอ้ือมมือออกมาคว้าของเล่น ให้ใช้ของเล่นแตะเบา ๆ อปุ กรณ์ : กรุ๋งกรง๋ิ และหยบิ กร๋งุ กริ๋งได้ ท่ีหลังมือเด็ก หรือจับมือเด็กให้เอ้ือมมาหยิบของเล่น ท�ำซ�้ำจนเด็ก ไมผ่ ่าน ผา่ น : เดก็ สามารถเออ้ื มมอื ขา้ งใดขา้ งหนง่ึ สามารถเออื้ มมือมาหยบิ ของเล่นได้เอง ไปหยิบและถือกรุ๋งกริ๋งได้ (อาจจะมีการ 3. อาจแขวนโมบายในระยะทเ่ี ดก็ เออ้ื มถงึ เพอื่ ใหเ้ ดก็ สนใจควา้ หยบิ เคลื่อนไหวแบบสะเปะสะปะเพื่อหยิบ ของเลน่ ทใี่ ชแ้ ทนได้ : อปุ กรณท์ มี่ สี แี ละเสยี ง เชน่ กรงุ๋ กรงิ๋ ทำ� ดว้ ยพลาสตกิ / กรุ๋งกรง๋ิ ) ผา้ ลกู บอลยางบบี /สตั วย์ างบบี ขวดพลาสตกิ ใสเ่ มด็ ถว่ั /ทราย พนั ใหแ้ นน่ 18 หนั ตามเสียงเรยี ก (RL) อยู่ข้างหลังเด็กเยื้องไปทางซ้ายหรือขวา 1. ให้เด็กน่งั บนเบาะนอน หา่ งจากเด็กประมาณ 20 - 30 ซม. ใชม้ อื 2. พยงุ อยู่ดา้ นหลงั ระยะห่างตวั เดก็ 30 ซม. พูดคยุ กับเด็กดว้ ยเสยี ง ผา่ น ป้องปากแลว้ พดู คุยและเรียกเด็กหลาย ๆ ปกติ รอให้เด็กหันมาทางทศิ ของเสียง ใหย้ ิม้ และเล่นกับเด็ก (ขณะ ครงั้ และทำ� ซำ้� โดยเยอื้ งไปอกี ดา้ นตรงขา้ ม ฝกึ อย่าใหม้ ีเสยี งอนื่ รบกวน) ไม่ผ่าน ผ่าน : เด็กหันตามเสียงเรียกหรือเสียง 3. ถา้ เดก็ ไมม่ องใหป้ ระคองหนา้ เดก็ หนั ตามเสยี งจนเดก็ สามารถหนั พูดคุย ตามเสยี งไดเ้ อง ถา้ เดก็ ยงั ไมห่ นั ใหพ้ ดู เสยี งดงั ขน้ึ เมอื่ หนั มองลดระดบั เสยี งลงจนเสียงปกติ 19 เลียนแบบการเล่นท�ำเสียงได้ ใชป้ ากท�ำเสยี งใหเ้ ด็กดู เช่น จบุ๊ หรือ ถาม 1. สบตาและพดู คยุ กบั เดก็ ใชร้ มิ ฝปี ากทำ� เสยี ง เชน่ “จบุ๊ จบุ๊ ” เดาะลน้ิ (EL) พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กว่าเด็ก หรือจับมือเด็กมาไวท้ ่ปี ากแล้วขยบั ตีปากเบา ๆ กระตนุ้ ให้ออกเสียง ผา่ น สามารถขยับปากทำ� เสยี ง จบุ๊ ได้หรือไม่ “วา..วา” ใหเ้ ดก็ ดหู ลาย ๆ ครง้ั แลว้ รอใหเ้ ดก็ ทำ� ตาม จนเดก็ สามารถ เลียนแบบได้ ไม่ผา่ น ผ่าน : เดก็ สามารถเลียนแบบการเล่นทำ� 2. รอ้ งเพลงง่าย ๆ ทมี่ เี สยี งสงู ๆ ตำ่� ๆ ให้เดก็ ฟัง เช่น เพลงช้าง เสยี งตามได้ เพลงเปด็ เป็นต้น 17คู่มือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คูม่ ือเฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทักษะ วิธีประเมนิ เฝา้ ระวัง วธิ ฝี ึกทกั ษะ (เดือน) โดย พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็ก 5-6 20 สนใจฟังคนพูดและสามารถ น่ังหันหน้าเข้าหาเด็กแล้วเรียกชื่อเด็ก 1. จดั เด็กนง่ั หันหนา้ เขา้ หาพอ่ แม่ ผู้ปกครองหรือผดู้ แู ลเดก็ มองไปที่ของเล่นที่ผู้ทดสอบ เมื่อเด็กมองแล้วหยิบตุ๊กตาผ้าให้เด็กเห็น 2. เรียกช่ือและสบตา พูดคุยกับเด็กเม่ือเด็กมองสบตาแล้ว น�ำของ ผ่าน เลน่ กับเดก็ (PS) ในระดับสายตาเด็ก กระตุ้นให้เด็กสนใจ เล่นมาอยู่ในระดับสายตาเด็ก พูดคุยกับเด็กเกี่ยวกับของเล่น เช่น ตุ๊กตาผ้าด้วยค�ำพูด ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ใน “วนั น้ีแมม่ พี ตี่ ุ๊กตามาเลน่ กับหนู พต่ี กุ๊ ตามผี มสีน�ำ้ ตาลใส่ชดุ สีเขยี ว” ไมผ่ ่าน อปุ กรณ์ : ต๊กุ ตาผ้า ครง้ั แรก ใหท้ ำ� ซ้�ำไดร้ วมไมเ่ กิน 3 ครั้ง ผา่ น : เดก็ สบตากับผ้ปู ระเมนิ และมองท่ี ของเล่นที่ใชแ้ ทนได้ : ของเล่นใด ๆ กไ็ ดท้ เ่ี ดก็ สนใจหรอื คุน้ เคยที่มี ตุ๊กตาผ้าได้นาน 5 วินาที อย่างน้อย 1 ในบา้ น เช่น ลูกบอล รถ หนังสือภาพ ตุ๊กตาอืน่ ๆ ใน 3 ครั้ง 7 - 8 21 นั่งได้มั่นคง และเอย้ี วตัวใช้มอื 1. จัดเด็กอยูใ่ นท่านั่ง 1. จัดเด็กอยู่ในท่าน่ัง วางของเล่นไว้ท่ีพื้นทางด้านข้างเย้ืองไป เลน่ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ (sit stable) 2. วางกรุ๋งกร๋ิงไว้ด้านข้างเยื้องไปทาง ด้านหลงั ของเด็กในระยะท่เี ด็กเอ้ือมถงึ ผา่ น (GM) ดา้ นหลงั กระต้นุ ใหเ้ ดก็ สนใจหยบิ กรุ๋งกร๋ิง 2. เรียกชื่อเด็กให้สนใจของเล่นเพื่อจะได้เอ้ียวตัวไปหยิบของเล่น ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ให้เล่ือนของเล่นใกล้ตัวเด็กอีกเล็กน้อย แล้วช่วยจับ ไมผ่ า่ น อปุ กรณ์ : กรุ๋งกรง๋ิ แขนเดก็ ให้เอี้ยวตัวไปหยบิ ของเล่นน้ัน ท�ำอกี ข้างสลับกนั ไป จนเดก็ หยบิ ได้เอง ผ่าน : เด็กสามารถน่งั ได้ม่นั คง และเอย้ี วตวั ของเลน่ ท่ใี ช้แทนได้ : อปุ กรณท์ ม่ี สี ีและเสียง เชน่ กรงุ๋ กร๋งิ ทำ� ดว้ ย หรอื หมนุ ตวั ไปหยบิ กรงุ๋ กรง๋ิ แลว้ กลบั มานง่ั พลาสติก/ผ้า ลูกบอลยางบีบ/สัตว์ยางบีบ ขวดพลาสติกใส่เม็ดถั่ว/ ตวั ตรงอีก ทราย พนั ให้แน่น ช่วงอายุ 7 - 8 เดอื น https://youtu.be/37Ntmiq91L4 18 คมู่ ือเฝา้ ระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝา้ ระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย อายุ ข้อที่ ทกั ษะ วธิ ีประเมนิ เฝ้าระวงั วิธีฝกึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผูด้ แู ลเด็ก 7-8 22 ยืนเกาะ เครื่องเรือนสูงระดับ 1. วางกรุง๋ กรง๋ิ ไว้บนเครือ่ งเรอื น เชน่ โต๊ะ 1. จดั เด็กใหย้ นื เกาะพ่อแม่ ผปู้ กครองหรอื ผู้ดแู ลเดก็ /เครือ่ งเรือน อกได้ (GM) หรือเก้าอี้ 2. จับท่ีสะโพกเด็กก่อน ต่อมาเปลี่ยนจับท่ีเข่า แล้วจึงจับมือเด็ก ผ่าน 2. จัดเดก็ ยืนเกาะเครื่องเรอื น เกาะทเี่ ครือ่ งเรอื น อุปกรณ์ : กรุ๋งกริ๋ง 3. กระตุ้นใหเ้ ดก็ สนใจทก่ี ร๋งุ กริง๋ 3. เมอ่ื เดก็ เรม่ิ ทำ� ได้ ใหเ้ ดก็ ยนื เกาะเครอ่ื งเรอื นเอง โดยไมใ่ ชห้ นา้ อก ไมผ่ ่าน พิง หรือทา้ วแขนเพ่ือพยุงตัว ผ่าน : เด็กสามารถยืนเกาะเครื่องเรือน 4. คอยอยใู่ กล้ ๆ เดก็ อาจเปดิ เพลงแลว้ กระตนุ้ ใหเ้ ตน้ ตามจงั หวะเพลง ไดเ้ อง อยา่ งนอ้ ย 10 วนิ าที โดยใชแ้ ขนพยงุ ของเลน่ ทใ่ี ชแ้ ทนได้ : อปุ กรณท์ ม่ี สี แี ละเสยี ง เชน่ กรงุ๋ กรง๋ิ ทำ� ดว้ ยพลาสตกิ / ตวั ไวแ้ ละสามารถขยับขาได้ ผา้ ลกู บอลยางบบี /สตั วย์ างบบี ขวดพลาสตกิ ใสเ่ มด็ ถวั่ /ทราย พนั ใหแ้ นน่ 23 จ้องมองไปที่หนังสือพร้อมกับ จัดเด็กนงั่ บนตกั ใหพ้ ่อแม่ ผูป้ กครองหรอื 1. อุ้มเด็กนั่งบนตัก เปิดหนังสือพร้อมกับพูดคุย ชี้ชวนให้เด็กดู ผู้ใหญน่ าน 2 - 3 วินาที (FM) ผู้ดูแลเด็กเปิดหนังสือ ชี้ชวนและพูดกับ รูปภาพในหนงั สอื ผา่ น อปุ กรณ์ : หนงั สอื รูปภาพ เดก็ เกย่ี วกับรปู ภาพนั้น ๆ 2. หากเดก็ ยงั ไมม่ อง ใหป้ ระคองหนา้ เดก็ ใหม้ องทรี่ ปู ภาพในหนงั สอื ไมผ่ ่าน ผา่ น : เด็กจอ้ งมองที่รปู ภาพขณะท่ีพ่อแม่ หนังสอื ทใ่ี ชแ้ ทนได้ : หนังสือเดก็ ทมี่ ีรูปภาพชดั เจน ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กพูดด้วยเป็นเวลา 2 - 3 วนิ าที 24 เดก็ หันตามเสยี งเรยี กชือ่ (RL) 1. ใหเ้ ดก็ เลน่ อยา่ งอสิ ระ ผปู้ ระเมนิ อยหู่ า่ ง เรยี กชือ่ เดก็ ดว้ ยนำ้� เสยี งปกตบิ อ่ ย ๆ ในระยะหา่ งประมาณ 120 ซม. จากเด็ก ควรเป็นชื่อที่ใช้เรียกเด็กเป็นประจ�ำ ถ้าเด็กไม่หัน เมื่อเรียกช่ือแล้ว ผ่าน 2. ประมาณ 120 ซม. แล้วเรียกชื่อเด็ก ให้ประคองหนา้ เดก็ ให้หนั มามองจนเด็กสามารถทำ� ไดเ้ อง ด้วยเสยี งปกติ ไม่ผ่าน ผ่าน : เด็กสามารถตอบสนองโดยหันมา มองผ้ปู ระเมนิ 19ค่มู ือเฝ้าระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ ือเฝ้าระวังและส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วธิ ีประเมิน เฝา้ ระวัง วธิ ีฝึกทกั ษะ (เดอื น) 25 เลียนเสียงพูดคุย (EL) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผดู้ แู ลเดก็ 7-8 ผ่าน ถามพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก พูดคยุ เล่นกบั เดก็ และออกเสยี งใหม่ ๆ ให้เด็กเลยี นเสียงตาม เชน่ หรอื สงั เกตระหวา่ งประเมนิ วา่ เดก็ ทำ� เสยี ง จา มา ปา ดา อู ตา หรอื ออกเสยี งตามทำ� นองเพลง หรือรอ้ งเพลง ไมผ่ ่าน เลยี นเสยี งพดู หรอื ไม่ เชน่ เพลงจับปดู �ำ ผ่าน : เด็กเลียนเสียงท่ีแตกต่างกัน อยา่ งนอ้ ย 2 เสียง เชน่ จา มา ปา ดา อู ตา 26 เด็กเล่นจ๊ะเอ๋ได้และมองหา 1. ใหเ้ ด็กมองผปู้ ระเมนิ 1. เลน่ “จะ๊ เอ๋” กบั เด็กโดยใช้มอื ปดิ หนา้ หลงั จากนน้ั เปลยี่ นเปน็ ใช้ หน้าของผู้เล่นได้ถูกทิศทาง 2. ใชผ้ า้ ท่ีเตรียมไวบ้ ังหนา้ ตนเอง ผา้ ปดิ หนา้ เล่น “จะ๊ เอ”๋ กบั เดก็ (PS) 3. โผล่หนา้ ด้านเดียวกัน 2 คร้ังพรอ้ มกบั 2. ให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผดู้ ูแลเดก็ ใชผ้ า้ เช็ดหนา้ หรอื ผา้ ผนื เล็ก ๆ ผ่าน พดู “จ๊ะเอ”๋ คร้งั ท่ี 3 ไม่โผลห่ น้าแตใ่ หพ้ ดู บังหน้าไว้ โผลห่ น้าออกมาจากผ้าเช็ดหนา้ ดา้ นใดด้านหนึง่ พรอ้ มกบั อปุ กรณ์ : ผ้าขนาด 30x30 ซม. ค�ำว่า “จ๊ะเอ๋” แล้วให้ผู้ประเมินมองผ่าน พดู วา่ “จะ๊ เอ”๋ หยดุ รอจงั หวะเพอ่ื ใหเ้ ดก็ หนั มามองหรอื ยม้ิ เลน่ โตต้ อบ ไมผ่ ่าน มีรอู ยู่ตรงกลาง รผู า้ วา่ เดก็ จอ้ งมองดา้ นทผ่ี ปู้ ระเมนิ เคยโผล่ ฝึกบ่อย ๆ จนกระท่ังเด็กสามารถย่ืนโผลห่ นา้ ร่วมเลน่ จะ๊ เอไ๋ ด้ หนา้ ไดห้ รือไม่ 3. ซอ่ นของเลน่ ไวใ้ ตผ้ นื ผา้ แลว้ ใหเ้ ดก็ หาโดยเรม่ิ จากซอ่ นไวบ้ างสว่ น แลว้ ค่อยซ่อนทั้งชิน้ เพอื่ ฝึกทกั ษะการสังเกตและความจำ� ผ่าน : เด็กจ้องมองตรงท่ีผู้ประเมินโผล่ สิ่งทใี่ ชแ้ ทนได้ : ผา้ ขนหนู ผ้าเช็ดตัว กระดาษ หนา้ ออกไป หรอื เดก็ รจู้ กั ซอ่ นหนา้ และเลน่ วัตถปุ ระสงค์ : เพ่ือเสรมิ สรา้ งสตปิ ัญญาและความจ�ำ จ๊ะเอก๋ ับผู้ประเมนิ 20 คมู่ ือเฝ้าระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ ือเฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วธิ ปี ระเมิน เฝา้ ระวงั วิธฝี ึกทักษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง และ ผ้ดู ูแลเดก็ 9 27 ลุกขึ้นนั่งได้จากทา่ นอน (GM) 1. จดั ใหเ้ ดก็ อยใู่ นทา่ นอนหงายหรอื นอนควำ่� 1. จัดเดก็ ในท่านอนคว�ำ่ จับเขา่ งอท้ัง 2 ขา้ ง จบั มอื เด็กท้ัง 2 ข้าง 2. กระตุน้ ให้เดก็ ลกุ ขึน้ นั่ง เชน่ ใชล้ ูกบอล ยนั พน้ื ผา่ น อุปกรณ์ : สิ่งที่กระตุ้นให้ กระต้นุ หรือ ตบมือ/ใชท้ ่าทางเรียก เด็กสนใจอยากลุกขึ้นน่ัง เช่น ไมผ่ า่ น ลกู บอล หรอื กรงุ๋ กริ๋ง ผ่าน : เด็กสามารถลุกขึ้นน่ังจากท่านอน ไดเ้ อง 2. กดทสี่ ะโพกเดก็ ทงั้ สองขา้ ง เพอื่ ใหเ้ ดก็ ยนั ตวั ลกุ ขน้ึ มาอยใู่ นทา่ นงั่ ของเล่นท่ีใช้แทนได้ : อุปกรณ์ท่ีมีสีและเสียง เช่น สัตว์ยางบีบ ของเล่นที่เขย่าแล้วมีเสียงดังคล้ายกรุ๋งกร๋ิง ขวดพลาสติกใส่เม็ดถ่ัว/ ทราย พันใหแ้ นน่ ชว่ งอายุ 9 เดือน https://youtu.be/cabDO9uiTgE 21คมู่ ือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มือเฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วธิ ปี ระเมิน เฝา้ ระวัง วธิ ฝี ึกทักษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง และ ผดู้ แู ลเด็ก 9 28 ยืนอยู่ได้โดยใช้มือเกาะเคร่ือง จัดเด็กยืนเกาะเครื่องเรือน พร้อมทั้งวาง 1. จดั เด็กใหย้ ืนเกาะเครอื่ งเรือน เรือนสงู ระดับอก (GM) ลกู บอล หรอื กรุง๋ กร๋ิงไวใ้ ห้เด็กเลน่ ผา่ น 2. จบั ทสี่ ะโพกเดก็ กอ่ น ตอ่ มาเปลยี่ นจบั ทเี่ ขา่ แลว้ จงึ จบั มอื เดก็ เกาะ ทีเ่ ครือ่ งเรือน อุปกรณ์ : ส่ิงท่ีกระตุ้นให้ ไม่ผ่าน เด็กสนใจอยากเกาะยืน เช่น ลูกบอล หรือ กรงุ๋ กรงิ๋ ผา่ น : เดก็ สามารถยนื อยไู่ ดโ้ ดยใชม้ อื เกาะ 3. เม่อื เด็กเร่มิ ทำ� ได้ ให้เดก็ ยนื เกาะเคร่อื งเรือนเอง โดยไม่ใช้หนา้ อก ที่เครื่องเรือน ไม่ใช้หน้าอกพิง หรือแขน พงิ หรอื แขนทา้ วเพ่อื พยงุ ตวั ท้าวเพื่อพยุงตวั 4. อาจเปดิ เพลงกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ยนื ไดน้ านหรอื เตน้ ตามจงั หวะแตต่ อ้ ง คอยอยใู่ กล้ ๆ เพ่ือระวังอนั ตราย ของเล่นท่ีใช้แทนได้ : อุปกรณ์ท่ีมีสีและเสียง เช่น สัตว์ยางบีบ ของเลน่ ทเ่ี ขยา่ แลว้ มเี สยี งดงั คลา้ ยกรงุ๋ กรงิ๋ ขวดพลาสตกิ ใสเ่ มด็ ถว่ั /ทราย พนั ใหแ้ นน่ 29 หยิบก้อนไม้จากพ้ืนและถือไว้ วางก้อนไม้ลงบนพ้ืนพร้อมกับบอกให้เด็ก 1. นำ� วัตถสุ สี ดใสขนาดประมาณ 1 นิว้ เชน่ กอ้ นไม้ 2 ก้อน มอื ละช้นิ (FM) หยิบกอ้ นไม้ (ใช้วตั ถุเหมอื นกนั 2 ชิ้น) ผา่ น หมายเหตุ : หากเด็กไมห่ ยิบสามารถกระตุ้น 2. เคาะของเลน่ กบั โต๊ะทีละชิ้นเพ่อื กระตนุ้ ให้เด็กหยิบ อุปกรณ์ : ก้อนไม้สี่เหล่ียม ใหเ้ ด็กสนใจโดยการเคาะก้อนไม้ 3. ถา้ เด็กไมห่ ยบิ ช่วยจับมือเด็กใหห้ ยิบ ไมผ่ า่ น ลูกบาศก์ 2 ก้อน ผา่ น : เดก็ สามารถหยบิ กอ้ นไมท้ ง้ั สองกอ้ น วสั ดทุ ีใ่ ชแ้ ทนได้ : กลอ่ งเล็ก ๆ หรือวสั ดทุ ี่ปลอดภยั มขี นาดพอดีมือเดก็ ข้ึนพร้อมกัน หรือทีละก้อนก็ได้ และถือ ประมาณเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 1 นิ้ว เช่น ลกู ปิงปอง มะนาวผลเลก็ ก้อนไมไ้ วใ้ นมอื ข้างละ 1 กอ้ น ทั้งสองข้าง 22 คูม่ ือเฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
ค่มู อื เฝ้าระวงั และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทักษะ วธิ ปี ระเมิน เฝา้ ระวงั วิธฝี ึกทักษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจา้ หน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง และ ผดู้ ูแลเด็ก 9 30 ใช้นิ้วหัวแม่มือ และนิ้วอื่น ๆ 1. วางวตั ถุชิ้นเล็ก 1 ชน้ิ บนพนื้ โดยใหอ้ ยู่ 1. น�ำวัตถุสีสดใส เช่น ก้อนไม้ เชือก หรืออาหารช้ินเล็ก ๆ หยิบของขึน้ จากพน้ื (FM) ในระยะทีเ่ ด็กเอือ้ มมือไปหยิบได้ง่าย เช่น แตงกวา ขนมปัง วางตรงหน้าเดก็ ผ่าน 2. บอกเด็กให้หยบิ วตั ถุ หรอื แสดงใหเ้ ดก็ 2. หยบิ ของใหเ้ ดก็ ดู แลว้ กระตุ้นให้เด็กหยิบ อุปกรณ์ : วตั ถุชิ้นเล็ก ขนาด ดูกอ่ น 3. ถา้ เด็กท�ำไมไ่ ด้ ชว่ ยจบั มือเด็ก ใหห้ ยบิ สิ่งของหรืออาหาร ไม่ผ่าน 2 ซม. ชนิ้ เลก็ ลดการช่วยเหลือลงจนเดก็ สามารถท�ำไดเ้ อง ผ่าน : เด็กหยิบวัตถุขึ้นจากพ้ืนได้โดยใช้ 4. ควรระวังไม่ให้เด็กเล่นหรือหยิบของท่ีเป็นอันตรายเข้าปาก น้ิวหัวแม่มือและนิ้วอ่ืน ๆ (ไม่ใช่หยิบขึ้น เช่น กระดุม เหรยี ญ เม็ดยา เมลด็ ถัว่ เมล็ดผลไม้ เป็นต้น ดว้ ยฝา่ มอื ) ของทใี่ ชแ้ ทนได้ : ของกนิ ชนิ้ เลก็ ทอ่ี อ่ นนมุ่ ละลายไดใ้ นปากไมส่ ำ� ลกั เชน่ ถัว่ กวน ฟกั ทองนง่ึ มันนึง่ ลกู เกด ขา้ วสุก 31 ท�ำตามค�ำสั่งง่าย ๆ เมื่อใช้ สบตาเด็ก แล้วบอกให้เด็กโบกมือหรือ 1. เล่นกับเด็กโดยใช้ค�ำส่งั งา่ ย ๆ เชน่ โบกมือ ตบมอื พรอ้ มกับท�ำ ท่าทางประกอบ (RL) ตบมอื โดยใชท้ า่ ทางประกอบ เชน่ โบกมอื ท่าทางประกอบ ฝึกบ่อย ๆ จนเดก็ ทำ� ได้ 2. ถ้าเด็กไม่ท�ำ ให้จับมือท�ำและค่อย ๆ ลดความช่วยเหลือลงโดย ผ่าน ผ่าน : เด็กสามารถท�ำท่าทางตามค�ำส่ัง เปลย่ี นเปน็ จบั ขอ้ มอื จากนน้ั เปลย่ี นเปน็ แตะขอ้ ศอก เมอื่ เรม่ิ ตบมอื เอง ง่าย ๆ ท่ีมีท่าทางประกอบ เช่น โบกมือ ไดแ้ ลว้ ลดการชว่ ยเหลือลง เปน็ บอกใหท้ �ำอย่างเดียว ไม่ผ่าน บ๊ายบาย ตบมือ หรือยกมือสาธุ แม้ยัง 3. เลน่ ทำ� ทา่ ทางประกอบเพลง ฝกึ การเคลอ่ื นไหวของนวิ้ มอื ตามเพลง ไมส่ มบูรณ์ เชน่ “แมงมมุ ” “นิ้ว...อยไู่ หน” วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ ให้เด็กเข้าใจภาษาและพัฒนาความจำ� 23คูม่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ ือเฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ข้อที่ ทักษะ วิธีประเมิน เฝา้ ระวงั วิธีฝกึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง และ ผู้ดูแลเดก็ 9 32 เด็กรู้จักการปฏิเสธด้วยการ สังเกต หรือถามว่าเด็กปฏิเสธส่ิงของ 1. เมอื่ คนแปลกหนา้ ยืน่ ของให้ หรอื ขออมุ้ ให้พอ่ แม่ ผูป้ กครองหรือ แสดงทา่ ทาง (EL) อาหาร หรือการช่วยเหลือจากพ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก ส่ายหน้า พร้อมกับพูดว่า “ไม่เอา” ให้เด็กเลียนแบบ ผูป้ กครองหรือผู้ดูแลเด็กไดห้ รือไม่ เพ่อื ใหเ้ ดก็ รจู้ ักปฏเิ สธ โดยการแสดงท่าทาง ผ่าน 2. เมื่อเดก็ รับประทานอาหารหรอื ขนมอ่มิ แลว้ ถามเด็กวา่ “กนิ อีก ผ่าน : เด็กสามารถใช้ท่าทางเดิมในการ ไหม” แลว้ ส่ายศรี ษะพร้อมกบั พูดว่า “ไม่เอา” ให้เด็กเลียนแบบตาม ไม่ผา่ น ปฏิเสธ เช่น ส่ายหน้า ใช้มือผลักออกไป ทำ� เชน่ นกี้ ับสถานการณ์อ่นื ๆ เพอื่ ใหเ้ ด็กเรยี นรเู้ พิม่ ขึ้น หนั หนา้ หนี วัตถุประสงค์ : เพ่อื รจู้ กั แยกแยะและสื่อความตอ้ งการของตนได้ 33 เลียนเสียงค�ำพูดที่คุ้นเคยได้ ถามพ่อแม่ ผปู้ กครองหรือผู้ดูแลเดก็ หรือ เปลง่ เสยี งที่เด็กเคยทำ� ไดแ้ ลว้ เชน่ ป๊ะ จะ๊ จ๋า รอให้เดก็ เลียนเสยี ง อย่างน้อย 1 เสียง (EL) สงั เกตระหวา่ งประเมนิ วา่ เดก็ ทำ� เสยี งเลยี น ตามจากน้ันเปล่งเสียงท่ีแตกต่างจากเดิมให้เด็กเลียนเสียงตาม เช่น ผา่ น เสยี งพดู ได้หรอื ไม่ “แม่” “ไป” “หม�ำ่ ” “ป(ล)า ” ผ่าน : เด็กเลียนเสียงค�ำพูดที่คุ้นเคยได้ ไมผ่ า่ น อยา่ งนอ้ ย 1 เสยี ง เชน่ “แม”่ “ไป” “หมำ่� ” “ป(ล)า ” แตเ่ ดก็ อาจจะออกเสยี งยงั ไมช่ ดั 34 ใชน้ ว้ิ หยบิ อาหารกนิ ได้ (PS) ถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 1. วางอาหารทเ่ี ดก็ ชอบและหยบิ งา่ ยขนาด 1 คำ� เชน่ ขนมปงั กรอบ วา่ เดก็ ใชน้ ้ิวหยบิ อาหารกินไดห้ รือไม่ ตรงหนา้ เดก็ ผ่าน 2. จับมือเด็กหยบิ อาหารใส่ปาก แลว้ ปล่อยใหเ้ ด็กท�ำเองฝกึ บอ่ ย ๆ ผ่าน : เด็กสามารถใช้นิ้วมือหยิบอาหาร จนสามารถหยบิ อาหารกินไดเ้ อง ไม่ผ่าน กนิ ได้ 24 คู่มือเฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คูม่ อื เฝา้ ระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย อายุ ขอ้ ท่ี ทักษะ วิธปี ระเมิน เฝ้าระวงั วิธีฝกึ ทักษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู และผูด้ ูแลเดก็ 35 ยืนนาน 2 วินาที (GM) 10 - 12 จัดให้เด็กอย่ใู นท่ายืนโดยไมต่ อ้ งช่วยพยงุ พยุงล�ำตัวเด็กให้ยืน เมื่อเด็กเริ่มยืนทรงตัวได้แล้ว ให้เปลี่ยนมาจับ (10 เดอื น ผ่าน ข้อมอื เดก็ แล้วค่อย ๆ ปล่อยมอื เพอื่ ให้เด็กยืนเอง - 1 ป)ี ผ่าน : เด็กสามารถยืนได้เอง โดยไม่ต้อง ไม่ผ่าน ช่วยพยงุ ไดน้ าน อย่างนอ้ ย 2 วนิ าที 36 จีบน้ิวมือเพ่ือหยิบของชิ้นเล็ก 1. วางวัตถุชน้ิ เลก็ ๆ ตรงหนา้ เด็ก 1 ชน้ิ 1. แบ่งขนมหรืออาหารเป็นช้ินเล็ก ๆ ประมาณ 1 ซม. ไว้ในจาน (FM) 2. กระตุ้นความสนใจของเด็กไปท่ีวัตถุ แล้วหยิบอาหารหรือขนมโดยใช้น้ิวหัวแม่มือและนิ้วช้ีหยิบให้เด็กดู ผา่ น ชน้ิ เลก็ แลว้ บอกใหเ้ ดก็ หยบิ หรอื อาจหยบิ แลว้ บอกใหเ้ ด็กท�ำตาม อุปกรณ์ : วัตถุขนาดเล็ก ใหเ้ ดก็ ดู สงั เกตการหยิบของเด็ก 2. ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ ช่วยเหลือเด็กโดยจับรวบน้ิวกลาง น้ิวนางและ ไม่ผา่ น ขนาด 1 ซม. นิ้วก้อยเขา้ หาฝา่ มือ เพอ่ื ให้เด็กใช้นว้ิ หัวแมม่ อื และน้ิวช้หี ยิบวัตถุ 3. เลน่ กจิ กรรมทเ่ี ดก็ ตอ้ งใชน้ ว้ิ หวั แมม่ อื และนว้ิ ชแี้ ตะกนั เปน็ จงั หวะ ผา่ น : เดก็ สามารถจบี นวิ้ โดยใชน้ ว้ิ หวั แมม่ อื หรอื เล่นรอ้ งเพลงแมงมมุ ขย้มุ หลังคาประกอบท่าทางจบี นวิ้ และนิ้วชี้หยิบวัตถุชิ้นเล็กขึ้นมาได้ 1 ใน ของทใี่ ชแ้ ทนได้ : ของกนิ ชนิ้ เลก็ ทอ่ี อ่ นนมุ่ ละลายไดใ้ นปากไมส่ ำ� ลกั 3 ครัง้ เชน่ ถ่วั กวน ฟักทองนงึ่ มันนึง่ ลูกเกด ข้าวสุก 37 โบกมือหรือตบมือตามค�ำส่ัง สบตาเด็กแล้วบอกให้เด็กโบกมือ หรือ 1. เลน่ กับเด็กโดยใช้ค�ำสั่งงา่ ย ๆ เช่น โบกมอื ตบมอื พร้อมกับทำ� (RL) ตบมอื โดยหา้ มใช้ทา่ ทางประกอบ ทา่ ทางประกอบ ผ่าน ผา่ น : เดก็ สามารถทำ� ตามค�ำส่งั แม้ไมถ่ กู 2. ถ้าเด็กไม่ท�ำ ให้จับมือท�ำและค่อย ๆ ลดความช่วยเหลือลง ตอ้ งแตพ่ ยายามยกแขนและเคลอื่ นไหวมอื โดยเปล่ียนเป็นจับข้อมือ จากนั้นเปลี่ยนเป็นแตะข้อศอก เมื่อเร่ิม ไมผ่ า่ น อย่างนอ้ ย 1 ใน 3 ครั้ง ตบมือเองได้แล้ว ลดการช่วยเหลือลงเป็นบอกหรือบอกให้ท�ำ อยา่ งเดียว ช่วงอายุ 10 -12 เดอื น https://youtu.be/no2szvhRR9w 25ค่มู ือเฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
ค่มู อื เฝา้ ระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ข้อท่ี ทกั ษะ วธิ ปี ระเมิน เฝ้าระวงั วธิ ฝี กึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู และผดู้ แู ลเดก็ 10 - 12 38 แสดงความต้องการ โดยท�ำ ถามพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กว่า น�ำของเลน่ หรืออาหารท่ีเด็กชอบ 2 - 3 อย่าง วางไว้ดา้ นหนา้ เด็ก (10 เดอื น ทา่ ทาง หรือเปลง่ เสียง (EL) เมือ่ เด็กตอ้ งการสงิ่ ตา่ ง ๆ เดก็ ท�ำอยา่ งไร ถามเด็กว่า “หนูเอาอันไหน” หรอื ถามว่า “หนูเอาไหม” รอให้เดก็ - 1 ปี) ผา่ น ผ่าน : เด็กแสดงความต้องการด้วยการ แสดงความต้องการ เช่น ช้ี แลว้ จึงจะใหข้ อง ท�ำเช่นนที้ กุ คร้งั เมอื่ เด็ก ทำ� ทา่ ทาง เช่น ยน่ื มือใหอ้ มุ้ ชี้ ดึงเสื้อ หรอื ต้องการของเล่นหรอื อาหาร ไม่ผา่ น เปลง่ เสียง 39 เล่นสิ่งของตามประโยชน์ของ 1. ยื่นของเล่นที่เตรียมไว้ให้เด็กคร้ังละ ฝกึ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ เชน่ การหวผี ม การแปรงฟนั การปอ้ นอาหารเดก็ ส่ิงของได้ (PS) 1 ชิ้น จนครบ 4 ชนิด โดยทำ� ให้เด็กดู และกระตุ้นใหเ้ ดก็ ทำ� ตาม ผ่าน อปุ กรณ์ : ของเลน่ 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ 2. สงั เกตเดก็ เลน่ ของเลน่ ทงั้ 4 ชนดิ วา่ ตรง หวี/ชอ้ น/แกว้ นำ้� /แปรงสีฟัน ตามประโยชนห์ รือไม่ หรือถามจากพอ่ แม่ วัสดทุ ใ่ี ชแ้ ทนได้ : ของใชใ้ นบ้านชนิดอ่ืน ๆ ท่ไี ม่เป็นอนั ตราย ไม่ผ่าน ผูป้ กครองหรือผดู้ ูแลเดก็ ผ่าน : เดก็ เลน่ ส่งิ ของตามประโยชนไ์ ดถ้ ูก ต้องอย่างนอ้ ย 1 ใน 4 ชน้ิ เชน่ เลน่ หวผี ม ปอ้ นอาหาร ดืม่ น�ำ้ 13 - 15 40 ยนื อยตู่ ามลำ� พงั ไดน้ านอยา่ งนอ้ ย จดั เด็กอยู่ในท่ายืนโดยไม่ต้องชว่ ยพยงุ พยุงตัวเด็กให้ยืน เม่ือเด็กยืนได้แล้วให้เปลี่ยนมาจับข้อมือเด็กแล้ว (1 ปี 1 เดือน 10 วินาที (GM) ผา่ น : เดก็ สามารถยนื โดยไมต่ อ้ งชว่ ยพยงุ ค่อย ๆ ปลอ่ ยมอื เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ยนื เอง และค่อย ๆ เพิม่ เวลาข้ึนจนเดก็ ยืน ผา่ น ได้นาน อย่างนอ้ ย 10 วินาที ได้เอง นาน 10 วนิ าที - 1 ปี 3 เดอื น) ไมผ่ ่าน 26 ค่มู ือเฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ขอ้ ท่ี ทกั ษะ วิธปี ระเมนิ เฝา้ ระวัง วิธฝี กึ ทักษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หนา้ ที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผูด้ แู ลเดก็ 41 ขดี เขียน (เป็นเส้น) 13 - 15 บนกระดาษได้ (FM) 1. แสดงวิธีการขีดเขียนบนกระดาษด้วย 1. ใช้ดนิ สอสแี ทง่ ใหญ่เขยี นเปน็ เสน้ ๆ บนกระดาษใหเ้ ด็กดู (อาจใช้ (1 ปี 1 เดือน ผา่ น ดนิ สอให้เดก็ ดู ดนิ สอ หรอื ปากกา หรอื สีเมจกิ ได)้ อุปกรณ์ : 2. สง่ ดนิ สอใหเ้ ดก็ และพดู วา่ “ลองวาดซ”ิ 2. ให้เด็กลองท�ำเอง ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ ช่วยจับมือเด็กให้จับดินสอ - ไม่ผ่าน 1. ดินสอ ขีดเขียนเป็นเสน้ ๆ ไปมาบนกระดาษ จนเดก็ สามารถทำ� ได้เอง 1 ปี 3 เดอื น) 2. กระดาษ ผา่ น : เด็กสามารถขีดเขยี นเปน็ เส้นใด ๆ กไ็ ด้บนกระดาษ 42 เลือกวัตถุตามค�ำส่ังได้ถูกต้อง วางวัตถุ 2 ชนิด ไว้ตรงหน้าเด็ก แล้ว 1. เตรียมวัตถุท่ีเด็กคุ้นเคย 2 ชนิด น่ังตรงหน้าเด็ก เรียกช่ือเด็ก 2 ชนดิ (RL) ถามว่า “...อยู่ไหน” จนครบทั้ง 2 ชนิด ใหเ้ ดก็ มองหนา้ แลว้ จงึ ใหเ้ ดก็ ดขู องเลน่ พรอ้ มกบั บอกชอ่ื วตั ถทุ ลี ะชน้ิ ผา่ น อปุ กรณ์ : ชดุ ทดสอบการเลอื ก แล้วจึงสลับต�ำแหน่งที่วางวัตถุ ให้โอกาส 2. เกบ็ วตั ถใุ หพ้ น้ สายตาเดก็ สกั ครหู่ ยบิ วตั ถทุ ง้ั 2 ชน้ิ ใหด้ ู แลว้ บอก สิ่งของ เช่น บอล ตุ๊กตาผ้า ประเมิน 3 คร้งั ช่อื ของ หลงั จากน้ันบอกช่อื วัตถทุ ีละช้นิ แล้วให้เด็กชี้ ถ้าชี้ได้ถกู ต้อง ไมผ่ ่าน ถ้วย รถ ผ่าน : เด็กสามารถชี้หรือหยิบวัตถุได้ ใหพ้ ูดชมเชย ถา้ ไมท่ �ำใหจ้ บั มือเดก็ ช้ี พร้อมกับเล่ือนของไปใกล้และ ถกู ตอ้ งทัง้ 2 ชนดิ ชนิดละ 1 ครัง้ ย�้ำชือ่ ของแตล่ ะชนิ้ ช่วงอายุ 13 -15 เดือน 3. ถ้าเด็กช้ีไม่ถูกต้อง ให้หยิบของชิ้นนั้นออก และเล่ือนของชิ้นท่ี ถูกต้อง ไปใกล้ ถา้ เด็กหยบิ ของนน้ั ให้ชมเชย https://youtu.be/YdE_zFi8v30 4. เมอื่ เด็กท�ำได้ 4 ใน 5 ครัง้ ให้เปล่ยี นของเลน่ คู่ตอ่ ไป วัสดุท่ใี ช้แทนได้ : ของใช้ในบ้านชนิดอ่นื ๆ ท่ีไมเ่ ปน็ อันตราย 27ค่มู อื เฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ ือเฝา้ ระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วิธีประเมิน เฝา้ ระวัง วธิ ฝี กึ ทกั ษะ (เดอื น) 43 พดู คำ� พยางคเ์ ดยี ว (ค�ำโดด) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ครู และผ้ดู แู ลเด็ก 13 - 15 ได้ 2 ค�ำ (EL) (1 ปี 1 เดอื น ผา่ น ถามผู้ปกครองว่า “เด็กพูดเป็นค�ำอะไร 1. สอนใหเ้ ดก็ พูดค�ำสน้ั ๆ ตามเหตกุ ารณ์จรงิ เชน่ ในเวลารับประทาน ไดบ้ ้าง” หรือสังเกตเด็ก อาหาร กอ่ นป้อนข้าวพดู “หม�ำ่ ” ให้เดก็ พดู ตาม “หม่ำ� ” - ไมผ่ า่ น ผ่าน : เด็กสามารถพูดค�ำพยางค์เดียว 2. เมือ่ แตง่ ตัวเสร็จ ใหพ้ ูด “ไป” ให้เดก็ พดู ตาม “ไป” กอ่ น แลว้ พา 1 ปี 3 เดอื น) (ค�ำโดด) ได้อย่างน้อย 2 ค�ำ ถึงแม้จะยัง เดินออกจากหอ้ ง ไม่ชัด 3. เมื่อเปิดหนังสือนิทานให้พูดค�ำว่า “อ่าน” หรือ “ดู” ให้เด็ก หมายเหตุ ต้องไม่ใช่ชื่อคนหรือชื่อสัตว์ พดู ตาม แลว้ แสดงใหเ้ ด็กเข้าใจโดยอ่านหรือดู เลีย้ งในบ้าน 44 เลียนแบบท่าทางการท�ำงาน ถามจากพอ่ แม่ ผูป้ กครองหรือผู้ดูแลเดก็ วา่ ขณะท�ำงานบ้าน จัดหาอุปกรณ์ท่ีเหมาะกับเด็ก และกระตุ้นให้เด็ก บ้าน (PS) เดก็ เคยเลน่ เลยี นแบบการทำ� งานบา้ นบา้ ง มสี ว่ นรว่ มในการทำ� งานบา้ น เชน่ เชด็ โตะ๊ กวาดบา้ น ถบู า้ น เกบ็ เสอ้ื ผา้ ผ่าน หรือไม่ เช่น กวาดบา้ น ถูบา้ น เช็ดโต๊ะ เปน็ ตน้ โดยทำ� งานใหเ้ ดก็ ดูเปน็ ตัวอย่าง หากเดก็ ทำ� ไดค้ วรจะชมเชย ผ่าน : เด็กเลยี นแบบทา่ ทางการท�ำงานบ้าน เพอ่ื ให้เดก็ อยากจะทำ� ไดด้ ว้ ยตนเอง ไม่ผ่าน ไดอ้ ย่างน้อย 1 อย่าง วตั ถปุ ระสงค์ : ฝกึ ความรบั ผดิ ชอบ 16 - 17 45 เดินลากของเล่น หรือสิ่งของ 1. เดินลากของเลน่ ให้เด็กดู 1. จับมือเด็กให้ลากของเล่นเดินไปขา้ งหน้าด้วยกนั (1 ปี 4 เดอื น ได้ (GM) 2. สง่ เชอื กลากของเลน่ ใหเ้ ดก็ และบอกให้ 2. กระต้นุ ให้เด็กเดินเองตอ่ ไป โดยทำ� หลาย ๆ ครงั้ จนเด็กสามารถ ผา่ น อุปกรณ์ : กล่องพลาสติก เด็กเดนิ ลากของเล่นไปเอง เดินลากของเล่นไปได้เอง - ผูกเชือก ผา่ น : เด็กเดินลากรถของเล่นหรือสง่ิ ของ วัสดุท่ีใช้แทนได้ : สิ่งของในบ้านท่ีสามารถลากได้ เช่น ตะกร้า 1 ปี 5 เดือน) ไม่ผา่ น ไดไ้ กล 2 เมตร โดยอาจเดนิ ไปขา้ งหนา้ หรอื รถของเลน่ กลอ่ งตา่ ง ๆ เดนิ ถอยหลงั กไ็ ด้ พรอ้ มกบั ลากของเลน่ ไป โดยของเล่นอาจคว่ำ� ได้ 28 คู่มอื เฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มือเฝ้าระวงั และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ท่ี ทกั ษะ วิธีประเมิน เฝ้าระวงั วธิ ฝี ึกทกั ษะ (เดอื น) โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เจา้ หน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผดู้ แู ลเดก็ 46 ขดี เขยี นได้เอง (FM) 16 - 17 อุปกรณ์ : 1. สง่ กระดาษและดนิ สอใหเ้ ดก็ 1. ใช้ดินสอสแี ท่งใหญ่เขยี นเปน็ เสน้ ๆ บนกระดาษให้เดก็ ดู (อาจใช้ (1 ปี 4 เดอื น ผ่าน 1. ดินสอ 2. บอกเด็ก “หนูลองวาดรูปซคิ ะ” ดนิ สอ หรือปากกา หรอื สีเมจกิ ได้) 2. กระดาษ (โดยไมส่ าธิตให้เดก็ ด)ู 2. ให้เด็กลองท�ำเอง ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ ช่วยจับมือเด็กให้จับดินสอ - ไม่ผ่าน ผา่ น : เด็กสามารถขดี เขียนเป็นเสน้ ใด ๆ ขีดเขยี นเป็นเส้น ๆ ไปมาบนกระดาษ จนเดก็ สามารถทำ� ได้เอง 1 ปี 5 เดือน) บนกระดาษได้เอง หมายเหตุ : ถา้ เดก็ เพยี งแตเ่ ขยี นจดุ ๆ หรอื กระแทก ดินสอกับกระดาษให้ถือว่าไม่ผ่าน 47 ท�ำตามค�ำส่ังง่าย ๆ โดยไม่มี 1. วางของเล่นทกุ ชนิ้ แลว้ เล่นกบั เด็ก 1. ฝึกเด็ก ขณะท่ีเด็กก�ำลังถือหรือเลน่ ของเลน่ อยู่ ท่าทางประกอบ (RL) 2. มองหนา้ เดก็ แล้วบอกเดก็ เชน่ “กอด 2. บอกเด็กว่า “สง่ ของให้แม่” และมองหนา้ เดก็ ผา่ น อุปกรณ์ : ของเล่นเด็ก เช่น ตกุ๊ ตาซ”ิ “ขวา้ งลกู บอลซ”ิ “สง่ รถใหค้ รซู ”ิ 3. ถ้าเดก็ ทำ� ไม่ได้ ใหจ้ ับมือเด็กหยบิ ของแลว้ สง่ ใหพ้ อ่ แม่ ผู้ปกครอง ตกุ๊ ตาผ้า บอล รถ หรือผ้ดู ูแลเดก็ พรอ้ มพูดวา่ “ส่งของให้แม่” ถ้าเด็กเรมิ่ ทำ� ไดใ้ หอ้ อก ไมผ่ ่าน คำ� ส่งั เพียงอยา่ งเดียวและเปลยี่ นเป็นค�ำส่งั อนื่ ๆ เพิม่ ผ่าน : เด็กสามารถแสดงกริยากับสิ่งของ 4. กระตุ้นให้เด็กรู้จักแบ่งปัน ของเล่น ขนม หรือสิ่งของอื่น ๆ ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 1 คำ� สงั่ โดยผปู้ ระเมนิ ไมต่ อ้ ง ใหค้ นรอบขา้ ง เมื่อเด็กทำ� ไดใ้ หช้ มเชย แสดงท่าทางประกอบ วัสดทุ ี่ใช้แทนได้ : ของใชใ้ นบ้านชนดิ อื่น ๆ ทไี่ มเ่ ป็นอันตราย 48 ตอบช่อื วตั ถไุ ด้ถูกตอ้ ง (EL) ช้ีไปท่ีของเล่นที่เด็กคุ้นเคยแล้วถามว่า 1. ใหใ้ ชส้ ง่ิ ของหรอื ของเลน่ ทเี่ ดก็ คนุ้ เคยและรจู้ กั ชอื่ เชน่ ตกุ๊ ตา บอล อุปกรณ์ : ของเล่นเด็ก เช่น “น่อี ะไร” 2. หยิบของให้เด็กดู ถามว่า “นี่อะไร” รอให้เด็กตอบ ถ้าไม่ตอบ ผ่าน ตุ๊กตาผ้า บอล รถ ผา่ น : เดก็ สามารถตอบชือ่ วตั ถไุ ดถ้ ูกต้อง ใหบ้ อกเดก็ และใหเ้ ด็กพดู ตามแลว้ ถามซ�้ำให้เด็กตอบเอง หรอื ออกเสยี งไดใ้ กลเ้ คยี ง เชน่ ตกุ๊ ตา – ตา วสั ดทุ ีใ่ ช้แทนได้ : ของใช้ในบ้านชนดิ อ่นื ๆ ทีไ่ ม่เป็นอันตราย ไมผ่ า่ น ได้ 1 ชนิด ชว่ งอายุ 16 - 17 เดือน https://youtu.be/OetHyVaPc9Y 29คู่มือเฝา้ ระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ขอ้ ท่ี ทกั ษะ วธิ ีประเมนิ เฝ้าระวัง วิธีฝึกทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู และผ้ดู ูแลเดก็ 49 16 - 17 เล่นการใช้ส่ิงของตามหน้าที่ ย่ืนของเล่นทั้งหมดให้เด็ก และสังเกต 1. เลน่ สมมตกิ บั เดก็ เชน่ แปรงฟนั ใหต้ กุ๊ ตา เลน่ ปอ้ นอาหารใหต้ กุ๊ ตา (1 ปี 4 เดอื น ผ่าน ได้มากข้ึนด้วยความสัมพันธ์ ลักษณะการเล่นของเด็ก หวผี มใหต้ กุ๊ ตา ของ 2 ส่ิงขึน้ ไป (PS) 2. ถ้าเด็กยงั ทำ� ไมไ่ ด้ ใหจ้ ับมอื เด็กท�ำตามจนเด็กเลน่ ได้เอง - ไม่ผา่ น 1 ปี 5 เดือน) อปุ กรณ์ : ผ่าน : เดก็ สามารถเลน่ การใชส้ งิ่ ของตาม 1. ตุ๊กตาผ้า 2. หวี หน้าที่ เช่น ใช้ช้อนตักในถ้วย หรือใช้หวี 3. ถ้วย 4. ชอ้ นเล็ก หวีผมให้ตุ๊กตา โดยเด็กเล่นได้อย่างน้อย วัสดุที่ใช้แทนได้ : ของใช้ในบ้านชนิดอน่ื ๆ ทไี่ มเ่ ป็นอนั ตราย 5. แปรงฟัน 3 ชนิด 30 คู่มือเฝ้าระวงั และส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ ือเฝ้าระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ข้อท่ี ทักษะ วธิ ีประเมนิ เฝา้ ระวัง วิธีฝกึ ทักษะ (เดอื น) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง และ ผ้ดู แู ลเดก็ 50 วิ่งได้ (GM) 18 ว่ิงเล่นกับเด็ก หรืออาจกล้ิงลูกบอล 1 จบั มอื เดก็ วง่ิ เลน่ หรอื รว่ มวงิ่ กบั เดก็ คนอน่ื ๆ เพอื่ ใหเ้ ดก็ สนกุ สนาน (1 ปี 6 เดอื น) ผ่าน อุปกรณ์ : ลูกบอลเส้นผ่าน แล้วกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ว่งิ ตามลูกบอล 2. ลดการช่วยเหลือลง เมื่อเด็กมั่นใจและเร่ิมว่ิงได้ดีข้ึนจนเด็ก ศูนย์กลาง 15 - 20 เซนตเิ มตร สามารถวิง่ ไดเ้ อง ไมผ่ า่ น ผ่าน : เดก็ ว่ิงไดอ้ ย่างม่ันคงโดยไมล่ ม้ และ ไม่ใช่การเดนิ เรว็ ของเล่นที่ใช้แทนได้ : วัสดุมาท�ำเป็นก้อนกลม ๆ เช่น ก้อนฟาง ลูกบอลสานด้วยใบมะพร้าว 51 เดินถือลูกบอลไปได้ไกล 1. จัดให้เด็กและพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือ 1. ฝึกให้เด็กเดินโดยถือของมือเดียว 3 เมตร (GM) ผู้ดูแลเด็กยืนหันหน้าเข้าหากันระยะห่าง 2. เมื่อเดก็ ทำ� ไดแ้ ลว้ ใหพ้ อ่ แม่ ผปู้ กครอง หรือผู้ดแู ลเด็ก วางตะกร้า 3 เมตร ไว้ในระยะห่าง 3 เมตร แล้วถือของท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึนด้วยสองมือ ผา่ น อุปกรณ์ : ลูกบอลเส้นผ่าน 2. ส่งลูกบอลให้เด็กถือ และบอกให้เด็ก และเดินเอาของไปใสต่ ะกร้าให้เดก็ ดู แล้วบอกใหเ้ ด็กท�ำตาม ศูนยก์ ลาง 15 - 20 เซนตเิ มตร เดนิ ไปหาพอ่ แม่ ผ้ปู กครองหรือผ้ดู แู ลเด็ก 3. ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ ให้ขยับตะกร้าให้ใกล้ข้ึน และจับมือเด็กถือของ ไม่ผา่ น ชว่ ยพยงุ หากเดก็ ยงั ทรงตัวไดไ้ มด่ ี 4. เม่ือเด็กทรงตัวได้ดีและถือของได้ด้วยตนเองให้เพ่ิมระยะทาง จนถงึ 3 เมตร ผา่ น : เดก็ สามารถเดนิ ถอื ลกู บอล ไปไดไ้ กล ของท่ใี ช้แทนได้ : วสั ดใุ นบ้าน เชน่ ตุ๊กตา หมอน 3 เมตร โดยไมล่ ้ม และไม่เสียการทรงตวั วัตถุประสงค์ : เด็กต้งั ใจควบคมุ การเคล่ือนไหวของตนเอง ชว่ งอายุ 18 เดือน https://youtu.be/XhDj_ec8LQQ 31ค่มู อื เฝา้ ระวังและส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝา้ ระวงั และส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ข้อท่ี ทักษะ วธิ ีประเมิน เฝ้าระวัง วิธฝี กึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง และ ผูด้ ูแลเด็ก 52 18 เปิดหน้าหนังสือที่ท�ำด้วย วางหนังสือไว้ตรงหน้าเด็ก แสดงวิธีการ 1. เปิดหน้าหนังสอื ทีละหน้าแลว้ ช้ใี ห้เดก็ ดูรปู ภาพและปดิ หนังสอื (1 ปี 6 เดอื น) ผ่าน กระดาษแข็งทีละแผ่นได้เอง เปิดหนังสือให้เด็กดู และบอกให้เด็ก 2. บอกใหเ้ ดก็ ท�ำตาม (FM) ทำ� ตาม 3. ถา้ เด็กท�ำไม่ได้ใหช้ ่วยจบั มอื เด็กพลิกหน้าหนังสือทลี ะหนา้ ไมผ่ ่าน อุปกรณ์ : หนังสือรูปภาพ ผา่ น : เด็กสามารถแยกหนา้ และพลกิ หนา้ 4. เลา่ นทิ านประกอบรูปภาพ เพื่อเสริมสรา้ งจนิ ตนาการของเดก็ ทำ� ด้วยกระดาษแขง็ หนังสือได้ทีละแผ่นด้วยตนเองอย่างน้อย หนงั สอื ทใ่ี ชแ้ ทนได้ : หนงั สอื เดก็ ทท่ี ำ� ดว้ ยพลาสตกิ ผา้ หรอื กระดาษ 1 แผน่ หนา ๆ 53 ตอ่ ก้อนไม้ 2 ช้นั (FM) 1. วางก้อนไม้ 4 กอ้ น ตรงหน้าเดก็ 1. ใช้วัตถุท่ีเป็นทรงสี่เหล่ียม เช่น ก้อนไม้กล่องสบู่ วางต่อกัน 2. ต่อก้อนไม้ 2 ช้ันให้เด็กดูแล้วร้ือ ในแนวตั้งใหเ้ ดก็ ดู อุปกรณ์ : ก้อนไม้ส่ีเหลี่ยม แบบออก 2. กระต้นุ ใหเ้ ดก็ ท�ำตาม ผ่าน ลูกบาศก์ 4 กอ้ น 3. กระตุ้นให้เด็กต่อก้อนไม้เองให้โอกาส 3. ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ให้จับมือเด็กวางก้อนไม้ก้อนท่ี 1 ที่พ้ืน และวาง ประเมิน 3 คร้ัง กอ้ นที่ 2 บนกอ้ นท่ี 1 ไม่ผา่ น 4. ทำ� ซ้ำ� หลายครง้ั และลดการชว่ ยเหลอื ลง จนเด็กตอ่ ก้อนไมไ้ ดเ้ อง หากเด็กท�ำไดแ้ ล้วให้ชมเชย หากเด็กต่อได้ 2 ช้นั แล้วใหเ้ ปล่ยี นเป็น ผ่าน : เด็กสามารถต่อก้อนไม้โดยไม่ล้ม ตอ่ มากกว่า 2 ชนั้ 2 ใน 3 ครงั้ วสั ดทุ ใี่ ชแ้ ทนได้ : กล่องเล็ก ๆ เชน่ กล่องสบู่ กลอ่ งนม วัตถปุ ระสงค์ : เด็กตัง้ ใจ ท�ำตามแบบจนส�ำเร็จ 32 คู่มอื เฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คูม่ ือเฝ้าระวังและสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ขอ้ ท่ี ทกั ษะ วิธปี ระเมิน เฝา้ ระวัง วิธีฝึกทกั ษะ (เดอื น) โดย พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง เจา้ หน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง และ ผูด้ แู ลเดก็ 54 เลือกวัตถตุ ามคำ� ส่ังได้ถกู ตอ้ ง 18 3 ชนิด (RL) วางวัตถุ 3 ชนดิ ไว้ตรงหนา้ เดก็ แล้วถามว่า 1. เตรยี มของเลน่ หรอื วตั ถทุ เ่ี ดก็ คนุ้ เคย 2 ชนดิ และบอกใหเ้ ดก็ รจู้ กั (1 ปี 6 เดอื น) อปุ กรณ์ : ตุ๊กตาผ้า บอล รถ “…อยไู่ หน” จนครบทง้ั 3 ชนดิ แลว้ จงึ สลบั ชอ่ื วตั ถทุ ลี ะชนดิ ผ่าน ตำ� แหน่งท่ีวางวัตถุ ให้โอกาสประเมิน 3 ครงั้ 2. ถามเดก็ “…อยไู่ หน” โดยใหเ้ ดก็ ชห้ี รอื หยบิ ถา้ เดก็ เลอื กไมถ่ กู ตอ้ ง หมายเหตุ : ในกรณีท่ีมีข้อ ใหเ้ ลือ่ นของเขา้ ไปใกล้ และจบั มอื เด็กช้ีหรือหยิบ ไม่ผา่ น ขดั ขอ้ งทางสงั คมและวฒั นธรรม 3. เมื่อเด็กสามารถเลือกได้ถูกต้อง เพิ่มของเล่นหรือวัตถุท่ีเด็ก ให้ใช้ถ้วยหรือหนังสือท่ีเป็น ผ่าน : เด็กสามารถชี้หรือหยิบวัตถุได้ คุ้นเคย เป็น 3 ชนิด และถามเช่นเดิมจนเด็กช้ีหรือหยิบได้ถูกต้อง ชุดอุปกรณ์ DSPM แทนได้ ถกู ตอ้ งทัง้ 3 ชนดิ อยา่ งน้อย 2 ครง้ั ทง้ั 3 ชนดิ 4. เพิ่มวัตถุชนิดอื่นที่เด็กสนใจชี้ให้เด็กดู แล้วพูดให้เด็กชี้ เพ่ือเพ่ิม การเรยี นรภู้ าษาของเด็ก วัสดุที่ใชแ้ ทนได้ : ของใช้ในบ้านชนดิ อน่ื ๆ ที่ไมเ่ ปน็ อันตราย เชน่ แก้วน�ำ้ ถ้วย ชอ้ น แปรง หวี ตุก๊ ตาจากวัสดุอ่ืน หรือของเลน่ วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ ใหเ้ ดก็ เข้าใจภาษาและเป็นการฝกึ ความจำ� 55 ชอ้ี วยั วะได้ 1 สว่ น (RL) 1. ถามพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 1. เร่ิมฝึกจากการชี้อวัยวะของพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก ก่อนว่า เด็กรู้จักอวัยวะของร่างกาย ให้เดก็ ดู สว่ นไหนบ้าง 2. หลงั จากนนั้ ชช้ี วนใหเ้ ดก็ ทำ� ตาม โดยชอี้ วยั วะของตวั เองทลี ะสว่ น ผา่ น 2. ถามเด็กว่า “…อยู่ไหน” โดยถาม 3. ถา้ เดก็ ชไี้ มไ่ ดใ้ หจ้ บั มอื เดก็ ชใี้ หถ้ กู ตอ้ ง และลดการชว่ ยเหลอื ลงจน เหมอื นเดมิ 3 ครัง้ เด็กสามารถช้ีได้เอง โดยอาจใช้เพลงเข้ามาประกอบในการท�ำ ไม่ผา่ น ผ่าน : เด็กสามารถชี้อวัยวะ ได้ถูกต้อง กิจกรรม 2 ใน 3 คร้ัง วัตถปุ ระสงค์ : เพือ่ ให้เด็กเขา้ ใจภาษาและเปน็ การฝกึ ความจ�ำ 33ค่มู ือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝ้าระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทักษะ วิธปี ระเมิน เฝ้าระวงั วิธีฝกึ ทักษะ (เดอื น) โดย พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหนา้ ที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง และ ผ้ดู ูแลเดก็ 56 18 พูดเลียนค�ำที่เด่น หรือค�ำ พูดคุยกับเด็กเป็นประโยคหรือวลีส้ัน ๆ 1. พดู กบั เดก็ กอ่ นแลว้ คอ่ ยทำ� กรยิ านน้ั ใหเ้ ดก็ ดู เชน่ เมอื่ แตง่ ตวั เสรจ็ (1 ปี 6 เดอื น) ผา่ น สดุ ทา้ ยของค�ำพดู (EL) ไมเ่ กนิ 3 คำ� แลว้ สงั เกตการโตต้ อบของเดก็ พูดว่า “ไปกินข้าว” แล้วออกเสียง “กิน” หรือ “ข้าว” ให้เด็กฟัง แลว้ จึงพาไป ไมผ่ ่าน 2. สอนให้เดก็ พูดตามความจริง เชน่ - ขณะแตง่ ตวั เมื่อเด็กให้ความร่วมมอื ดี ให้ชมเชยว่า ผ่าน : เด็กเลียนคำ� พูดท่ีเดน่ หรือคำ� สุดทา้ ย “หนูเป็นเด็กด”ี เพอื่ ใหเ้ ดก็ เลยี นคำ� “เดก็ ” หรือ “ดี” ได้ ของค�ำพูด เช่น “หนูเป็นเด็กดี” - เม่ือแต่งตัวเสร็จ พูดว่า “ไปกินข้าว” รอให้เด็กออกเสียง เดก็ เลียนคำ� “เดก็ ” หรือ “ดี” ได้ “กนิ ” หรือ “ข้าว” กอ่ นแลว้ จึงพาไป 3. ถา้ เดก็ ไมอ่ อกเสยี งพดู ตาม ใหซ้ ำ้� คำ� เดน่ หรอื คำ� สดุ ทา้ ยนน้ั จนเดก็ สามารถเลียนคำ� พดู สดุ ทา้ ยน้ันได้ 4. เมอื่ เดก็ พดู ไดแ้ ลว้ ใหค้ วามสนใจและพดู โตต้ อบกบั เดก็ โดยเปลยี่ น ใช้คำ� อื่น ๆ ตามสถานการณต์ ่าง ๆ 57 พดู เปน็ ค�ำๆ ได้ 4 ค�ำ เรียกช่ือ ถามพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กว่า สอนใหเ้ ดก็ พูดคำ� ส้ัน ๆ ตามเหตุการณจ์ รงิ เช่น สิ่งของหรือทักทาย (ต้องเป็น เด็กพูดเป็นค�ำ ๆ หรือรู้จักชื่อสิ่งของ - เมื่อพบหน้าผู้ใหญ่ให้พูดทักทายค�ำว่า “สวัสดีค่ะ/ครับ” หรือใช้ ค�ำอื่นท่ีไม่ใช่ค�ำว่าพ่อแม่ ช่ือ อะไรบา้ ง คำ� ทท่ี ักทายในทอ้ งถน่ิ เชน่ ธจุ า้ ทกุ ครัง้ ผ่าน ของคนคุ้นเคย หรือชื่อของ - ขณะรบั ประทานอาหาร ก่อนป้อนข้าวพดู “ข้าว” ให้ สัตว์เลย้ี งในบ้าน) (EL) เด็กพูดตาม “ข้าว” ไม่ผ่าน ผ่าน : เด็กพูดได้อย่างน้อย 4 ค�ำ เช่น - ขณะก�ำลังดูหนังสือฝึกให้เด็กพูดค�ำต่าง ๆ ตามรูปภาพ เช่น ทักทาย - สวสั ดี และเรยี กชอ่ื ส่งิ ของตา่ ง ๆ “ปลา” “โต๊ะ” “แมว” เช่น โตะ๊ แมว วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้เดก็ ส่อื ภาษาและเปน็ การฝึกความจ�ำ 34 คู่มอื เฝา้ ระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วธิ ปี ระเมนิ เฝา้ ระวัง วธิ ฝี ึกทักษะ (เดือน) โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผูป้ กครอง และ ผ้ดู ูแลเดก็ 58 สนใจและมองตามส่ิงท่ีผู้ใหญ่ 18 ชี้ที่อยู่ไกลออกไปประมาณ ช้ีส่ิงที่อยู่ไกลประมาณ 3 เมตร เช่น ชส้ี ง่ิ ทอี่ ยใู่ กลต้ วั ใหเ้ ดก็ มองตาม หากเดก็ ยงั ไมม่ องใหป้ ระคองหนา้ เดก็ (1 ปี 6 เดือน) 3 เมตร (PS) หลอดไฟ นาฬิกา แล้วพูดชื่อส่ิงของ ให้หนั มองตาม แล้วคอ่ ยชข้ี องที่อย่ไู กลออกไป จนถงึ 3 เมตร ผ่าน เชน่ “โน่นหลอดไฟ” “โน่นนาฬกิ า” แล้ว สงั เกตว่าเด็กมองตามได้หรือไม่ ไม่ผ่าน ผ่าน : เดก็ หันมาสนใจและมองตาม เม่ือช้ี หมายเหตุ : ของควรจะเปน็ ของช้นิ ใหญ่และมสี สี ดใส สิ่งท่ีอย่ไู กลออกไป อย่างน้อย 3 เมตร วตั ถุประสงค์ : เพอื่ ควบคุมตนเองให้สนใจร่วมกบั ผอู้ นื่ 59 ดืม่ น�้ำจากถ้วยโดยไมห่ ก (PS) สง่ ถว้ ยทม่ี นี ำ�้ 1/4 ของถว้ ยใหเ้ ดก็ แลว้ บอก 1. ประคองมือเด็กให้ยกแก้วน้�ำขึ้นดื่ม ค่อย ๆ ลดการช่วยเหลือ อปุ กรณ์ : ถ้วยฝึกด่ืมมหี ูใส่น�้ำ เด็กให้ด่ืมน้�ำ สังเกตการด่ืมของเด็ก หรือ จนเด็กสามารถถอื แก้วนำ้� ยกขน้ึ ดืม่ โดยไมห่ ก 1/4 ถ้วย ถามพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ว่า 2. ฝกึ เด็กดม่ื นมและนำ้� จากแก้ว (เลกิ ใช้ขวดนม) ผา่ น “เดก็ สามารถยกถว้ ยหรอื ขนั นำ้� ขนึ้ ดม่ื โดย ไม่หกได้หรอื ไม”่ ของที่ใชแ้ ทนได้ : ขันนำ้� ไม่ผ่าน วตั ถปุ ระสงค์ : เด็กสามารถพฒั นาการดดู เป็นดม่ื โดยยกถ้วยข้ึนดม่ื ผา่ น : เดก็ ยกถว้ ยหรอื ขนั นำ�้ ขนึ้ ดมื่ โดยไมห่ ก ด้วยการเม้มริมฝีปากท่ีขอบถ้วยในการดื่มน้�ำจากถ้วยทีละน้อย (โดยไมใ่ ช่การดดู จากหลอดดูด) โดยไม่หก 35คู่มือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝ้าระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ขอ้ ที่ ทกั ษะ วิธปี ระเมนิ เฝ้าระวงั วธิ ีฝึกทกั ษะ (เดือน) โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ครู และผดู้ แู ลเด็ก 60 19 - 24 เหวี่ยงขาเตะลกู บอลได้ (GM) 1. เตะลกู บอลให้เด็กดู 1. ชวนเดก็ เล่นเตะลูกบอล โดยเตะใหเ้ ด็กดู (1 ปี 7 เดอื น ผา่ น 2. วางลูกบอลไว้ตรงหน้าห่างจากเด็ก 2. ชวนใหเ้ ดก็ ทำ� ตามโดยชว่ ยจบั มอื เดก็ ไวข้ า้ งหนง่ึ บอกใหเ้ ดก็ ยกขา อุปกรณ์ : ลูกบอลเส้นผ่าน ประมาณ 15 ซม. และบอกให้เด็กเตะ เหว่ียงเตะลูกบอล - 2 ป)ี ไม่ผา่ น ศูนย์กลาง 15 - 20 เซนตเิ มตร ลูกบอล 3. เมอ่ื เดก็ ทรงตวั ได้ดี กระตนุ้ ให้เดก็ เตะลูกบอลเอง 4. ฝึกบอ่ ย ๆ จนเด็กสามารถท�ำได้เอง ผ่าน : เด็กสามารถยกขาเตะลูกบอลได้ ของเล่นที่ใช้แทนได้ : วัสดุมาท�ำเป็นก้อนกลม ๆ เช่น ก้อนฟาง (ไม่ใชเ่ ขีย่ บอล) โดยไมเ่ สยี การทรงตัวและ ลกู บอลสานดว้ ยใบมะพรา้ ว ทำ� ได้อยา่ งน้อย 1 ใน 3 ครง้ั 61 ตอ่ ก้อนไม้ 4 ชนั้ (FM) 1. วางกอ้ นไม้ 8 กอ้ นไวบ้ นโตะ๊ 1. พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ใช้วัตถุท่ีเป็นทรงสี่เหล่ียม เช่น อุปกรณ์ : ก้อนไม้ส่ีเหลี่ยม 2. ต่อก้อนไม้เป็นหอสูง 4 ชั้น ให้เด็กดู กอ้ นไม้ กลอ่ งสบู่ วางตอ่ กันในแนวตง้ั ให้เดก็ ดู ผ่าน ลกู บาศก์ 8 ก้อน แล้วรอ้ื แบบออก 2. พ่อแม่ ผปู้ กครองหรือผดู้ แู ลเด็ก กระตุ้นใหเ้ ด็กทำ� ตาม 3. ยื่นก้อนไม้ให้เด็ก 4 กอ้ น และกระตุ้น 3. ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ให้จับมือเด็กวางก้อนไม้ก้อนที่ 1 ที่พ้ืน และวาง ไม่ผา่ น ให้เด็กต่อก้อนไม้เอง ให้โอกาสประเมิน กอ้ นที่ 2 บนก้อนที่ 1 วางไปเรอื่ ย ๆ จนครบ 4 ชั้น 3 ครง้ั 4. ให้เด็กท�ำซ้�ำหลายคร้ังและพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ช่วงอายุ 19 - 24 เดอื น ผ่าน : เด็กสามารถต่อก้อนไม้เป็นหอสูง ลดการช่วยเหลือลง จนเด็กต่อก้อนไม้ได้เอง หากเด็กท�ำได้แล้วให้ จ�ำนวน 4 ก้อน โดยไม่ล้ม ได้อย่างน้อย ชมเชย https://youtu.be/xJd47qOBbEk 1 ใน 3 ครั้ง 5. หากเดก็ ตอ่ ได้ 4 ช้นั แลว้ ให้เปลย่ี นเปน็ ตอ่ มากกว่า 4 ชน้ั วัสดทุ ่ีใชแ้ ทนได้ : กลอ่ งเล็ก ๆ เช่น กลอ่ งสบู่ กลอ่ งนม วัตถปุ ระสงค์ : เด็กตง้ั ใจ ท�ำตามแบบจนส�ำเร็จ 36 คู่มอื เฝา้ ระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝา้ ระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ข้อที่ ทักษะ วธิ ปี ระเมิน เฝา้ ระวงั วธิ ีฝึกทักษะ (เดือน) โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เจา้ หนา้ ที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ครู และผดู้ ูแลเดก็ 62 เลือกวัตถุตามค�ำสั่ง (ตัวเลือก 19 - 24 4 ชนดิ ) (RL) 1. วางของเล่นทั้ง 4 ช้ินไว้ตรงหน้าเด็ก 1. วางของเลน่ ทีเ่ ดก็ คนุ้ เคย 2 ช้ิน กระตุ้นใหเ้ ด็กมอง แลว้ บอกชื่อ (1 ปี 7 เดือน อปุ กรณ์ : ของเลน่ เดก็ ตกุ๊ ตาผา้ ในระยะท่เี ดก็ หยิบถงึ ของเลน่ ทีละชิ้น ผา่ น บอล รถ ถ้วย 2. ถามเด็กทีละชนิดว่า “อันไหนตุ๊กตา” 2. บอกให้เด็กหยิบของเล่นทีละช้ิน ถ้าเด็กหยิบไม่ถูกให้จับมือเด็ก - 2 ปี) “อันไหนบอล” “อันไหนรถ” “อันไหน หยบิ พรอ้ มกบั พดู ชอ่ื ของเลน่ นน้ั ซ้ำ� ไม่ผา่ น หมายเหตุ : ในกรณีที่มีข้อ ถ้วย” ถ้าเด็กหยิบของเล่นออกมา 3. ฝกึ จนเดก็ สามารถทำ� ตามคำ� สง่ั ไดถ้ กู ตอ้ งและเพมิ่ ของเลน่ ทลี ะชน้ิ ขดั ขอ้ งทางสงั คมและวฒั นธรรม ให้ผู้ประเมินน�ำของเล่นกลับไปวางท่ีเดิม จนครบทงั้ 4 ชิน้ ให้ใช้หนังสือท่ีเป็นชุดอุปกรณ์ แล้วจงึ ถามชนดิ ต่อไป จนครบ 4 ชนิด 4. เมอ่ื ท�ำได้แลว้ ให้ฝึกกบั วัตถหุ ลากหลายมากข้นึ เชน่ เคร่อื งดนตรี DSPM แทนได้ หนังสอื นิทาน ผ่าน : เด็กสามารถหยิบ/ชี้ของเล่นได้ วัสดทุ ่ใี ชแ้ ทนได้ : ของใช้ในบ้านชนิดอื่น ๆ ทไี่ ม่เป็นอนั ตราย ถกู ต้องท้ัง 4 ชนิด วตั ถุประสงค์ : เพือ่ ให้เดก็ เขา้ ใจภาษาและเป็นการฝึกความจำ� 63 เลียนค�ำพูดที่เป็นวลีประกอบ ถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 1. พดู คำ� 2 คำ� ใหเ้ ด็กฟงั บอ่ ย ๆ และให้เดก็ พดู ตาม ถ้าเดก็ พดู ได้ ด้วยคำ� 2 ค�ำขึน้ ไป (EL) ว่าเด็กสามารถพูด 2 ค�ำข้ึนไป (ไม่ใช่ ทีละค�ำ ใหพ้ ดู ขยายค�ำพดู เดก็ เป็น 2 ค�ำ เชน่ เด็กพูด “ไป” พอ่ แม่ ผ่าน 2 พยางค)์ ตอ่ กันได้หรอื ไม่ หรือขณะเล่น ผู้ปกครองหรอื ผดู้ ูแลเด็กพูดวา่ “ไปนอน” “อา่ นหนงั สอื ” กับเด็ก พยายามให้เด็กเลียนค�ำพูดที่เป็น 2. ร้องเพลงเดก็ ทใ่ี ช้คำ� พูดง่าย ๆ ให้เดก็ ฟงั บอ่ ย ๆ พรอ้ มท�ำทา่ ทาง ไมผ่ า่ น วลี 2 ค�ำข้ึนไป เช่น อาบน้�ำ ร้องเพลง ตามเพลง เว้นวรรคใหเ้ ดก็ ร้องต่อ เชน่ “จบั ... (ปดู ำ� ) ขยำ� … (ปูนา) ” อ่านหนังสือ เลา่ นทิ าน 3. พูดโต้ตอบกับเด็กบ่อย ๆ ในสิ่งที่เด็กสนใจหรือก�ำลังกระท�ำอยู่ วธิ ีพูดให้พดู ชดั ๆ ชา้ ๆ มีจังหวะหยุดเพือ่ ใหเ้ ดก็ พดู ตามในระหว่าง ผ่าน : เด็กเลียนค�ำพูดท่ีเป็นวลี 2 ค�ำ ชีวิตประจ�ำวนั เช่น ระหว่างอาบน้�ำ ระหว่างทานข้าว การดูรูปภาพ ข้ึนไปได้เอง เช่น อาบน้�ำ ร้องเพลง ประกอบ อา่ นหนังสือร่วมกนั อ่านหนังสือ เลา่ นทิ าน 37คู่มอื เฝา้ ระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝ้าระวังและส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั อายุ ขอ้ ท่ี ทักษะ วิธปี ระเมิน เฝ้าระวัง วิธฝี กึ ทักษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู และผู้ดูแลเดก็ 64 19 - 24 ใช้ช้อนตักอาหารกินเองได้ ถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก เรม่ิ จากลา้ งมอื เดก็ ใหส้ ะอาด จบั มอื เดก็ ถอื ชอ้ นและตกั อาหารใสป่ าก (1 ปี 7 เดอื น ผ่าน (PS) “เด็กสามารถใช้ช้อนตักอาหารกินเองได้ เดก็ ควรฝกึ อยา่ งสมำ่� เสมอในระหวา่ งการรบั ประทานอาหาร คอ่ ย ๆ หรือไม”่ ลดการชว่ ยเหลอื ลงจนเดก็ สามารถตกั อาหารใสป่ ากไดเ้ อง - 2 ป)ี ไม่ผา่ น ผา่ น : เดก็ ใชช้ อ้ นตกั กนิ อาหารได้ โดยอาจ วตั ถปุ ระสงค์ : ฝึกใหม้ มี ารยาทและมวี นิ ัย หกได้เล็กน้อย (ในกรณีที่เด็กรับประทาน ขา้ วเหนียวเปน็ หลัก ใหเ้ ดก็ ทดสอบการใช้ ช้อนตักอาหาร) 25 - 29 65 กระโดดเท้าพ้นพื้นทั้ง 2 ข้าง กระโดดให้เด็กดู แล้วบอกให้เด็กท�ำตาม 1. จับมือเด็กไว้ท้ัง 2 ข้าง แล้วฝึกกระโดดลงจากบันไดขั้นที่ติดกับ (2 ปี 1 เดือน (GM) โดยอาจช่วยจบั มอื เดก็ ทง้ั 2 ขา้ ง พนื้ หรือจากพนื้ ต่างระดับ ผา่ น ผา่ น : เด็กสามารถกระโดดไดเ้ อง อาจไม่ 2. หลังจากนั้นให้เร่ิมฝึกกระโดดที่พ้ืนโดยการจับมือท้ัง 2 ข้างของ - ต้องยกเท้าพ้นพืน้ พรอ้ มกันทัง้ 2 ขา้ ง เดก็ ไว้ ยอ่ ตวั ลงพรอ้ มกบั เดก็ แลว้ บอกใหเ้ ดก็ กระโดด ฝกึ หลาย ๆ ครงั้ 2 ปี 5 เดอื น) ไม่ผา่ น จนเด็กมน่ั ใจและสนกุ จึงปลอ่ ยใหก้ ระโดดเล่นเอง 3. ควรระมดั ระวงั เร่ืองความปลอดภยั ในระหวา่ งการกระโดด 66 แก้ปญั หางา่ ย ๆ โดยใช้เครอ่ื ง ถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 1. ให้โอกาสเด็กแกป้ ญั หาอ่ืน ๆ ดว้ ยตนเอง เชน่ น�ำไมเ้ ขี่ยของใต้เตียง มอื ด้วยตวั เอง (FM) วา่ เดก็ สามารถแกป้ ญั หางา่ ย ๆ ดว้ ยตนเอง ใตโ้ ต๊ะออกมาหรือเลน่ กจิ กรรมอื่น ๆ ที่ฝกึ การแก้ไขปญั หา หรือเอา ผ่าน โดยใช้เคร่ืองมือได้หรือไม่ เช่น เวลาเด็ก เก้าอ้ีมาตอ่ เพือ่ หยบิ ของที่อยู่สูง หยิบของไม่ถึงเด็กท�ำอย่างไร ใช้ไม้เข่ีย 2. ถ้าท�ำไม่ได้ ให้สอนวิธีการแก้ปัญหา โดยการท�ำให้เด็กดูใน ไม่ผา่ น ใชเ้ กา้ อ้ปี นี ไปหยบิ ของ เป็นตน้ สถานการณต์ า่ ง ๆ เช่น เม่ือจะกินขนมรู้จกั ตดั ถงุ ขนม โดยขณะฝึก ผ่าน : เดก็ สามารถแกป้ ญั หาง่าย ๆ ด้วย ให้ดแู ลฝึกสอนในเรือ่ งความปลอดภยั ชว่ งอายุ 25 - 29 เดือน ตัวเอง โดยใชเ้ ครือ่ งมือ วตั ถุประสงค์ : รู้จักดดั แปลงการแกป้ ญั หา https://youtu.be/aY1zCFWmncA 38 ค่มู ือเฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
ค่มู อื เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ขอ้ ท่ี ทกั ษะ วิธีประเมิน เฝ้าระวัง วธิ ฝี กึ ทักษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู และผูด้ แู ลเดก็ 67 ชอ้ี วัยวะ 7 ส่วน (RL) 25 - 29 1. ถามพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 1. เริ่มฝึกจากการชี้อวัยวะของพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก (2 ปี 1 เดอื น ผา่ น กอ่ นวา่ เดก็ รจู้ กั อวยั วะของรา่ งกายสว่ นไหนบา้ ง ใหเ้ ด็กดู 2. ถามเดก็ วา่ “…อยไู่ หน” โดยถาม 8 สว่ น 2. หลังจากน้ันชี้ชวนใหเ้ ดก็ ทำ� ตาม โดยช้อี วัยวะของตวั เอง - ไม่ผา่ น ผ่าน : เด็กสามารถชี้อวัยวะได้ถูกต้อง 3. ถา้ เดก็ ชไ้ี มไ่ ดใ้ หจ้ บั มอื เดก็ ชใี้ หถ้ กู ตอ้ ง และลดการชว่ ยเหลอื ลงจน 2 ปี 5 เดือน) 7 ใน 8 สว่ น เดก็ สามารถชไ้ี ดเ้ องโดยอาจใชเ้ พลงเขา้ มาประกอบในการทำ� กจิ กรรม 68 พูดตอบรับและปฏิเสธได้ (EL) 1. ถามค�ำถามเพ่ือให้เด็กตอบรับหรือ 1. พดู คยุ เลา่ เรอ่ื งเกยี่ วกบั การตอบรบั หรอื ปฏเิ สธรว่ มกบั เดก็ เพอื่ ให้ ปฏเิ สธ เชน่ เอานมไหม หรอื ฟังนทิ านไหม เดก็ เขา้ ใจ เช่น หากเดก็ ไม่ตอ้ งการ ใหต้ อบว่า ไม่ครับ ไม่เอาคะ่ (คะ่ /ครับ) 2. ถามค�ำถามเพ่ือให้เด็กตอบรับหรือปฏิเสธ เช่น เอานมไหม ผ่าน 2. ถามเด็ก 3 - 4 ค�ำถาม จนแน่ใจว่าเดก็ เล่นรถไหม อา่ นหนงั สอื ไหม กินข้าวไหม กนิ ขนมไหม กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ รู้จักความแตกต่างของค�ำตอบรับและ ตอบรบั หรอื ปฏเิ สธค�ำชวนตา่ ง ๆ ข้างตน้ รอจนแนใ่ จวา่ เดก็ ตอบรบั ไมผ่ า่ น ปฏเิ สธ หรอื ถา้ เดก็ ไมย่ อมตอบ ใหถ้ ามจาก หรือปฏิเสธคำ� ชวนตา่ ง ๆ จึงตอบสนองสิ่งที่เดก็ ต้องการ ถา้ เดก็ ตอบ พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กว่า เด็ก ไม่ได้ ใหต้ อบน�ำและถามเด็กซำ�้ สามารถพูดตอบรบั และปฏิเสธไดห้ รอื ไม่ ผา่ น : เดก็ สามารถพดู ตอบรบั และปฏเิ สธได้ วัตถุประสงค์ : เพื่อฝึกเลือกส่ิงท่ีจ�ำได้และทักษะท่ีมีอยู่ มาใช้ เชน่ เอา (คะ่ /ครบั ) ฟงั (คะ่ /ครบั ) ไม่ (คะ่ /ครบั ) สอื่ ความหมายได้อยา่ งเหมาะสม 69 ล้างและเชด็ มอื ไดเ้ อง (PS) ถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก พาเดก็ ลา้ งมอื กอ่ นรบั ประทานอาหารทกุ ครงั้ โดยทำ� ใหด้ เู ปน็ ตวั อยา่ ง ว่า “เด็กสามารถล้างมอื และเชด็ มือไดเ้ อง แล้วช่วยจับมือเด็กท�ำตามขั้นตอนต่อไปน้ี เปิดก๊อกน้�ำหรือตักน้�ำ ผา่ น หรอื ไม”่ ใส่ขัน แล้วหยิบสบู่ เอาน้�ำราดท่ีมือและสบู่ ฟอกสบู่ให้เกิดฟอง ผ่าน : เด็กสามารถล้างมือและเช็ดมือ แล้ววางสบู่ไว้ที่เดิม ถูมือท่ีฟอกสบู่ให้ทั่วแล้วล้างมือด้วยน้�ำเปล่า ไมผ่ า่ น ไดเ้ อง (โดยผใู้ หญอ่ าจจะชว่ ยหยบิ อปุ กรณ์ จนสะอาด น�ำผ้าเช็ดมือมาเช็ดมือให้แห้ง ลดการช่วยเหลือลงทีละ เปดิ ก๊อกน้ำ� หรอื ราดนำ้� ให)้ ข้ันตอนจนเด็กล้างและเชด็ มอื ไดเ้ อง 39คมู่ อื เฝ้าระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝา้ ระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ ข้อท่ี ทักษะ วธิ ีประเมนิ เฝา้ ระวงั วธิ ฝี กึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดโดยยพพอ่ ่อแมแม่ ผ่ ผ้ปู ู้ปกกคครอรองงคแรลู แะลผะผดู้ ูด้แลูแลเดเดก็ ็ก 70 30 กระโดดข้ามเชือกบนพ้ืนไป 1. วางเชอื กเปน็ เสน้ ตรงบนพนื้ หนา้ ตวั เดก็ 1. กระโดดอย่กู ับท่ี ใหเ้ ด็กดู (2 ปี 6 เดือน) ผา่ น ข้างหนา้ ได้ (GM) 2. กระโดดข้ามเชือกที่วางอยู่บนพื้นให้ 2. จบั มอื เด็กไว้ทงั้ 2 ขา้ ง แล้วฝกึ กระโดดมาจากบันไดขนั้ ทต่ี ดิ กบั อปุ กรณ์ : เชอื ก เดก็ ดู และบอกใหเ้ ด็กทำ� ตาม พื้นหรอื จากพื้นต่างระดับ ไม่ผา่ น 3. กระโดดข้ามเชือกให้เด็กดู ผ่าน : เด็กสามารถกระโดดข้ามเชือกได้ 4. ยนื หนั หนา้ เขา้ หาเดก็ โดยวางเชอื กคนั่ กลาง และจบั มอื เดก็ พยงุ ไว้ โดยเท้าลงพื้นพร้อมกัน หรือเท้าไม่ต้อง ดึงมือใหเ้ ด็กกระโดดข้ามเชือก ฝึกบอ่ ย ๆ จนเดก็ มนั่ ใจและสามารถ ลงพน้ื พรอ้ มกันกไ็ ด้ กระโดดข้ามเชือกไดเ้ อง 5. พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ควรระมัดระวังไม่ให้เด็กมี อันตรายในระหวา่ งการกระโดด วัสดทุ ี่ใช้แทนได้ : ริบบิน้ เชอื กฟาง ไมห้ รอื ชอล์ก ขีดเส้นตรงบนพนื้ 71 ขว้างลกู บอลขนาดเล็กได้ โดย ขว้างลูกบอลยางให้เด็กดู โดยจับลูกบอล 1. ขวา้ งลกู บอลใหเ้ ดก็ ดโู ดยยกมอื ขนึ้ เหนอื ศรี ษะไปทางดา้ นหลงั แลว้ ยกมอื ขน้ึ เหนอื ศรี ษะ (GM) ด้วยมือข้างเดียวยกข้ึนเหนือศีรษะไปทาง ขว้างลูกบอลไปข้างหน้า ผ่าน ดา้ นหลงั แลว้ ขวา้ งลกู บอลยางไปขา้ งหนา้ 2. จัดเด็กยืนในทา่ ทีม่ นั่ คง จับมือเด็กข้างทถ่ี นดั ถือลกู บอล แล้วยก อปุ กรณ์ : ลกู บอลยาง วดั ขนาด และบอกให้เด็กทำ� ตาม ลูกบอลข้ึนเหนือศีรษะไปทางด้านหลัง เอี้ยวตัวเล็กน้อยแล้วขว้าง ไมผ่ ่าน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ลกู บอลออกไป 7 เซนตเิ มตร ผ่าน : เด็กสามารถขว้างลูกบอลได้โดย 3. เมอื่ เด็กเรม่ิ ทำ� ได้ ลดการชว่ ยเหลือลง จนเดก็ ขวา้ งลกู บอลไดเ้ อง ยกมือขึ้นเหนือศีรษะไปทางด้านหลังแล้ว 4. เลน่ ขวา้ งลกู บอลกบั เดก็ บอ่ ย ๆ ขว้างลูกบอลไปข้างหน้า ของเล่นที่ใช้แทนได้ : ลูกบอลขนาดเล็กที่มีขนาดพอดีมือของเด็ก ชนิดอื่น ๆ เชน่ ลกู เทนนิส ช่วงอายุ 30 เดอื น https://youtu.be/C6BIz5QzWffl I 40 คู่มอื เฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
ค่มู อื เฝ้าระวังและส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ขอ้ ที่ ทักษะ วิธีประเมนิ เฝ้าระวัง วิธฝี กึ ทักษะ (เดอื น) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผูป้ กครอง และ ผดู้ แู ลเดก็ 72 ต่อก้อนไม้สี่เหลี่ยมลูกบาศก์ 30 เป็นหอสงู ได้ 8 กอ้ น (FM) 1. จัดให้เด็กอยู่ในท่าน่ังท่ีถนัดท่ีจะต่อ 1. ใช้วัตถุท่ีเป็นทรงส่ีเหล่ียม เช่น ก้อนไม้ กล่องสบู่ วางต่อกัน (2 ปี 6 เดอื น) ก้อนไมไ้ ด้ ในแนวตงั้ ให้เด็กดู ผ่าน อุปกรณ์ : ก้อนไม้สี่เหลี่ยม 2. วางก้อนไม้ 8 ก้อน ไว้ข้างหน้าเด็ก 2. กระต้นุ ใหเ้ ด็กทำ� ตาม ลกู บาศก์ 8 ก้อน กระตุ้นให้เด็กต่อก้อนไม้ให้สูงที่สุด หรือ 3. ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ให้จับมือเด็กวางก้อนไม้ก้อนที่ 1 ท่ีพื้น และวาง ไม่ผา่ น ท�ำใหเ้ ด็กดูก่อนได้ กอ้ นที่ 2 บนก้อนที่ 1 วางไปเรอ่ื ย ๆ จนครบ 8 ช้นั 4. ท�ำซ้�ำหลายครั้งและลดการชว่ ยเหลือลง จนเดก็ ต่อกอ้ นไม้ได้เอง หากเดก็ ท�ำได้แล้วใหช้ มเชย ผ่าน : เด็กสามารถต่อก้อนไม้ โดยไม่ล้ม วัสดทุ ี่ใช้แทนได้ : กลอ่ งเลก็ ๆ เชน่ กลอ่ งสบู่ กล่องนม จำ� นวน 8 ก้อน 1 ใน 3 คร้ัง วตั ถปุ ระสงค์ : เด็กตั้งใจต่อก้อนไม้ตามแบบท่ียากขนึ้ จนสำ� เร็จ 73 ยื่นวัตถุให้ผู้ทดสอบได้ 1 ชิ้น 1. วางก้อนไม้ส่ีเหลี่ยมลูกบาศก์ 3 ก้อน 1. วางวัตถชุ นิดเดียวกนั 3 ชนิ้ ตรงหนา้ เด็ก เช่น ชอ้ น 3 คนั และ ตามคำ� บอก (รจู้ ำ� นวนเทา่ กบั 1) ตรงหนา้ เดก็ พดู วา่ “หยิบชอ้ นใหค้ ณุ พ่อ/คุณแม่ 1 คัน” ผ่าน (FM) 2. แบมอื ไปตรงหนา้ เดก็ แลว้ พดู วา่ “หยบิ 2. ถ้าเด็กหยบิ ให้เกิน 1 คนั ให้พูดวา่ “พอแล้ว” หรือจับมือเด็กไว้ อุปกรณ์ : ชดุ กอ้ นไม้สเี่ หล่ียม ก้อนไม้ใหค้ รู 1 ก้อน” เพือ่ ไม่ใหส้ ง่ เพ่ิม ไม่ผ่าน ลกู บาศก์ 3 กอ้ น 3. น�ำก้อนไม้กลับไปวางท่ีเดิม แล้วพูด 3. เปลี่ยนวัตถุให้หลากหลายข้ึน เช่น ใบไม้ ดอกไม้ ผลไม้ และ ซำ�้ วา่ “หยิบก้อนไม้ ให้ครู 1 ก้อน” ควรสอนอย่างสม�ำ่ เสมอ ในสถานการณอ์ ื่น ๆ ดว้ ย ผ่าน : เด็กสามารถส่งวัตถุให้ผู้ประเมิน วัสดุทใ่ี ช้แทนได้ : กลอ่ งเลก็ ๆ เช่น กลอ่ งสบู่ กล่องนม 1 ก้อน ได้ท้ัง 2 ครั้ง โดยไม่พยายาม จะหยิบส่งให้อีก 41คู่มือเฝ้าระวงั และส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝา้ ระวังและส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ ขอ้ ท่ี ทกั ษะ วธิ ปี ระเมนิ เฝ้าระวัง วิธฝี ึกทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และ ผู้ดูแลเด็ก 74 30 สนใจฟงั นทิ านได้นาน 5 นาที ชวนเด็กมองท่ีหนังสือแล้วอ่านหรือ 1. อ่านนทิ านส้นั ๆ ให้เด็กฟงั ทกุ วันด้วยนำ�้ เสยี งทสี นกุ สนาน (2 ปี 6 เดอื น) (RL) เล่านิทานให้เด็กฟัง หรือ สอบถามจาก 2. ให้เด็กดูรูปภาพ และแต่งเร่ืองเล่าจาก รูปภาพเพื่อให้เด็กสนใจ ผา่ น อุปกรณ์ : หนังสือนิทาน ผู้ปกครองว่าเด็กสามารถสนใจฟังนิทาน เช่น “กระตา่ ยนอ้ ยมีขนสขี าวมหี ยู าว ๆ กระโดดได้ไกล และวง่ิ ได้เร็ว” ส�ำหรับเด็กที่มีรูปภาพและ ได้นานถงึ 5 นาที หรือไม่ 3. ในระยะแรกใช้นิทานส้นั ๆ ท่ีใชเ้ วลา 2 - 3 นาที ต่อเร่ืองก่อน ตอ่ ไป ไมผ่ ่าน ค�ำอธิบายประกอบหน้าละ จึงเพิม่ ความยาวของนทิ านใหม้ ากขนึ้ จนใช้เวลาประมาณ 5 นาที ประมาณ 20 - 30 ค�ำ และ ผ่าน : เด็กสามารถสนใจฟัง มองตาม หนังสือท่ีใช้แทนได้ : หนังสือรูปภาพ/หนังสือนิทานส�ำหรับเด็ก อ่านจบใน 5 นาที พดู ตาม และ/หรอื พดู โตต้ อบตามเรอ่ื งราว เร่อื งอื่น ๆ ท่มี ีรูปภาพและค�ำอธบิ ายส้ัน ๆ ในหนังสือนิทานที่มีความยาว ประมาณ วตั ถปุ ระสงค์ : สง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นภาษาและจนิ ตนาการ เปน็ การ 5 นาที อย่างต่อเนอ่ื ง ฝกึ เด็กใหค้ งความสนใจในการฟงั ไดจ้ นจบ 75 วางวัตถุไว้ “ข้างบน” และ ส่งก้อนไม้ให้เด็กแล้วพูดว่า “วางก้อนไม้ 1. วางของเล่น เชน่ บอล ไวท้ ตี่ �ำแหนง่ “ขา้ งบน” แลว้ บอกเด็กว่า “ข้างใต้” ตามคำ� สัง่ ได้ (RL) ไว้ข้างบน...(เก้าอ้ี/โต๊ะ)”“วางก้อนไม้ไว้ “บอลอยขู่ า้ งบนโตะ๊ ” ข้างใต้....(เก้าอ้ี/โต๊ะ)” บอก 3 คร้ัง โดย 2. บอกใหเ้ ดก็ หยบิ ของเลน่ อกี ชน้ิ หนงึ่ มาวางไวข้ า้ งบนโตะ๊ ถา้ เดก็ ทำ� ผ่าน อุปกรณ์ : ก้อนไม้ส่ีเหล่ียม สลบั คำ� บอก ขา้ งบน/ขา้ งใต้ ทุกครงั้ ไมไ่ ด้ ให้จับมอื เดก็ ท�ำ ลกู บาศก์ 1 กอ้ น 3. ทำ� ซำ�้ โดยเปลยี่ นเปน็ ตำ� แหนง่ “ข้างใต”้ ไม่ผา่ น ผ่าน : เด็กสามารถวางก้อนไม้ไว้ข้างบน 4. ฝึกเพ่ิมต�ำแหน่ง อื่น ๆ เช่น ข้าง ๆ ข้างใน ข้างนอก ข้างหน้า และขา้ งใตไ้ ด้ถกู ต้อง 2 ใน 3 ครั้ง ข้างหลัง (ใช้ค�ำที่ส่ือสารในภาษาตามท้องถ่ินในบริบทที่เด็กพูดใน ครอบครวั ) วัสดุที่ใชแ้ ทนได้ : กลอ่ งเลก็ ๆ เช่น กล่องสบู่ กลอ่ งนม วตั ถุประสงค์ : ฝึกทักษะการเข้าใจภาษา และน�ำไปปฏบิ ัตไิ ด้ 42 คมู่ ือเฝา้ ระวงั และสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
ค่มู อื เฝ้าระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย อายุ ข้อท่ี ทักษะ วธิ ปี ระเมนิ เฝา้ ระวัง วธิ ีฝกึ ทกั ษะ (เดอื น) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และ ผู้ดูแลเดก็ 76 พูดตดิ ตอ่ กนั 2 คำ� ขึน้ ไปอยา่ ง 30 มคี วามหมายโดยใชค้ ำ� กรยิ าได้ จบั ตกุ๊ ตาทำ� กรยิ าตา่ งๆ เช่น นง่ั เดิน นอน ฝกึ ใหเ้ ดก็ พดู ตามสถานการณจ์ รงิ เช่น ขณะรับประทานอาหารถาม (2 ปี 6 เดอื น) ถกู ตอ้ งอยา่ งนอ้ ย 4 กรยิ า (EL) ว่ิง แล้วถามเด็กว่า ตุ๊กตาท�ำอะไร หรือ เด็กว่า “หนูกำ� ลงั ท�ำอะไร” รอให้เดก็ ตอบ “กินขา้ ว” หรือ ขณะอา่ น ผา่ น สงั เกตขณะประเมินทกั ษะขอ้ อ่ืน หนงั สอื ถามเกีย่ วกับรปู ภาพในหนงั สอื เช่น ช้ไี ปท่ีรปู แมว แล้วถาม อุปกรณ์ : ตุ๊กตาผา้ หมายเหตุ : ถ้ามขี อ้ จ�ำกดั ในการใช้ตุ๊กตา วา่ “แมว ท�ำอะไร” รอให้เดก็ ตอบ เช่น “แมววง่ิ ” ถ้าเดก็ ตอบไมไ่ ด้ ไมผ่ า่ น สามารถใชภ้ าพแทนได้ เช่น หนังสอื นทิ าน ใหช้ ว่ ยตอบนำ� และถามซ้ำ� เพือ่ ให้เดก็ ตอบเองฝกึ ในสถานการณอ์ ื่น ๆ เรือ่ ง โตโต้ โดยเดก็ ตอ้ งใชว้ ลี 2 คำ� ขนึ้ ไป ทใี่ ชค้ ำ� กรยิ าไดถ้ กู ตอ้ ง เชน่ ใหต้ อบจาก ผ่าน : เด็กสามารถตอบค�ำถามโดยใช้วลี บตั รภาพค�ำกรยิ า ไดแ้ ก่ อาบน้ำ� ลา้ งหน้า แปรงฟนั เป็นต้น 2 ค�ำ ขึ้นไปท่ีใช้ค�ำกริยาได้ถูกต้อง เช่น ของเล่นทีใ่ ช้แทนได้ : ตกุ๊ ตาคนหรอื ตกุ๊ ตาสัตว์ท่ีมีอยใู่ นบา้ น “ตกุ๊ ตา/นอ้ ง นงั่ ” “ตกุ๊ ตา/นอ้ ง วงิ่ ” “(ตกุ๊ ) วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ ฝกึ ความจำ� คำ� ศพั ทแ์ ละสามารถเลอื กใชส้ อื่ ความ ตานอน” “น้องเดิน” “นอนหลบั ” หมายดว้ ยการพูดได้ตรงตามสถานการณ์ 77 ร้องเพลงได้บางค�ำหรือร้อง 1. ให้พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 1. ร้องเพลงง่าย ๆ ใหเ้ ด็กฟงั เช่น เพลงชา้ ง เพลงเปด็ โดยออกเสียง เพลงคลอตามท�ำนอง (PS) ชวนเดก็ ร้องเพลงท่ีเด็กคนุ้ เคย และท�ำนองที่ชัดเจน แล้วชวนให้เด็กร้องตาม พร้อมท้ังท�ำท่าทาง 2. ถ้าเด็กไม่ยอมร้องเพลง ให้ถามจาก ประกอบ ผ่าน พอ่ แม่ ผู้ปกครองวา่ เด็กสามารถร้องเพลง 2. ร้องเพลงเดิมซำ�้ บ่อย ๆ เพ่ือใหเ้ ด็กคนุ้ เคย จ�ำได้ และกระตุ้นให้ บางคำ� หรอื พูดค�ำคล้องจองได้หรอื ไม่ เด็กร้องตาม หรอื เว้นเพ่ือให้เดก็ ร้องต่อเป็นชว่ ง ๆ ไม่ผา่ น 3. เมื่อเด็กเริ่มร้องเพลงเองได้ ให้พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ผ่าน : เด็กสามารถร้องเพลงตามพ่อแม่ ร้องตามเด็ก เลือกเปิดเพลงที่มีเนื้อหาเหมาะสมกับเด็ก และพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กได้ โดยอาจร้อง ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก รอ้ งเพลงต่าง ๆ ร่วมกบั เดก็ พร้อมท้งั ท�ำท่า ชดั แค่บางค�ำ หรอื คลอตามทำ� นอง ประกอบ เชน่ เพลงชา้ ง เพลงเปด็ หรอื เปน็ เพลงเดก็ ภาษาองั กฤษดว้ ย วัตถุประสงค์ : ฝึกความจ�ำและการควบคุมการสื่อความหมาย ให้เข้ากบั ทำ� นอง จังหวะ เดก็ มสี ่วนร่วมทำ� กจิ กรรม เปน็ การปลกู ฝัง ศลิ ปวฒั นธรรมของครอบครัวและชุมชน 43คมู่ ือเฝ้าระวังและสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝา้ ระวงั และส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ขอ้ ท่ี ทักษะ วธิ ีประเมิน เฝา้ ระวัง วธิ ีฝึกทักษะ (เดือน) โดย พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง เจ้าหนา้ ท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผู้ปกครอง และ ผูด้ แู ลเด็ก 78 30 เด็กรู้จักรอให้ถึงรอบของ 1. ถือก้อนไม้ 2 ก้อน และยื่นก้อนไม้ 1. ผลดั กนั เลน่ กบั เดก็ จนเดก็ คนุ้ เคยก่อน (2 ปี 6 เดือน) ตนเองในการเล่นโดยมีผู้ใหญ่ ใหเ้ ดก็ 2 ก้อน 2. ฝึกให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มด้วยกันโดยมีพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล ผา่ น คอยบอก (PS) 2. วางถว้ ยตรงหนา้ เดก็ และพดู วา่ “เรามา เด็ก บอกเด็ก เชน่ “..(ชื่อเด็ก)..เอาหว่ งใสห่ ลัก” “แล้วรอกอ่ นนะ” อปุ กรณ์ : 1. ก้อนไม้ 4 ก้อน ใส่ก้อนไม้คนละ 1 ก้อน ให้ถือก้อนไม้ 3. พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก บอกให้เด็กคนต่อไปเอาห่วง ไม่ผ่าน 2. ถว้ ยส�ำหรบั ใสก่ อ้ นไม้ 1 ใบ ไวก้ อ่ น ให้ครูใสก่ อ่ น แล้วหนูคอ่ ยใส”่ ใส่หลกั ถา้ เด็กรอไม่ได้ ใหเ้ ตอื นทกุ ครั้งจนเด็กรอไดเ้ อง 3. สังเกตการรอให้ถงึ รอบของเด็ก 4. ฝกึ เลน่ กจิ กรรมอยา่ งอนื่ เชน่ รอ้ งเพลง/นบั เลขพรอ้ มกนั กอ่ นแลว้ คอ่ ยกนิ ขนม หรอื ในสถานการณอ์ ยา่ งอน่ื ทต่ี อ้ งมกี ารรอใหถ้ งึ รอบของ ตนเองกับเด็ก เช่น พ่อแม่ ผปู้ กครองหรือผดู้ แู ลเดก็ เข้าแถวรอจ่าย เงินเวลาซอื้ ของ ผ่าน : เด็กรู้จักรอให้ถึงรอบของตนเอง วัสดุท่ีใช้แทนได้ : ตะกร้าใส่ของ/กล่อง/จาน และของเล่นต่าง ๆ เมือ่ บอกใหร้ อ ทีม่ ใี นบา้ น วัตถุประสงค์ : ฝึกการควบคุมตนเองให้รอจนถึงรอบของตัวเอง มีความอดทน ท�ำกจิ กรรมร่วมกับผอู้ ื่นไดต้ ามข้ันตอน 44 คู่มือเฝ้าระวงั และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝา้ ระวังและสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย อายุ ข้อที่ ทักษะ วธิ ปี ระเมนิ เฝา้ ระวัง วธิ ฝี กึ ทกั ษะ (เดอื น) โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เจ้าหน้าที่ ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผดู้ แู ลเดก็ 79 ยนื ขาเดียว 1 วินาที (GM) 31 - 36 แสดงวิธียืนขาเดียวให้เด็กดู แล้วบอกให้ 1. ยืนบนขาขา้ งเดยี วให้เดก็ ดู (2 ปี 7 เดอื น ผ่าน เดก็ ยนื ขาเดยี วใหน้ านทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะนานได้ 2. ยนื หันหนา้ เข้าหากนั และจบั มือเดก็ ไว้ทั้งสองขา้ ง ให้โอกาสประเมิน 3 ครั้ง (อาจเปลี่ยน 3. ยกขาขา้ งหนงึ่ ขนึ้ แลว้ บอกใหเ้ ดก็ ทำ� ตามเมอ่ื เดก็ ยนื ได้ เปลย่ี นเปน็ - 3 ปี) ไมผ่ า่ น ขาได)้ จบั มอื เดก็ ข้างเดยี ว 4. เมื่อเด็กสามารถยืนด้วยขาข้างเดียวได้ ค่อย ๆ ปล่อยมือให้เด็ก ผ่าน : เด็กยืนขาเดียวได้นาน 1 วินาที ยืนทรงตัวได้ด้วยตนเอง เปลี่ยนเป็นยกขาอีกข้างหน่ึงโดยท�ำซ�้ำ อยา่ งนอ้ ย 1 ใน 3 คร้ัง เชน่ เดียวกนั 80 เลียนแบบลากเส้นเป็นวง 1. ลากเส้นเป็นวงต่อเนื่องให้เด็กดู 1. นำ� ดินสอมาลากเส้นเปน็ วงตอ่ เนื่องกันใหเ้ ดก็ ดูเป็นตวั อย่าง ต่อเนื่องกัน (FM) พร้อมกับพดู วา่ “ลากเส้นเป็นวง” 2. ส่งดินสอใหเ้ ด็กและพดู ว่า “(ช่ือเด็ก) ลากเสน้ แบบนี”้ ผ่าน 2. ยน่ื ดนิ สอและกระดาษ แลว้ บอกใหเ้ ดก็ 3. ถ้าเด็กท�ำไม่ได้ ให้ช่วยจับมือเด็กลากเสน้ เปน็ วงต่อเนอ่ื ง อปุ กรณ์ : ทำ� ตาม 4. เมื่อเด็กเริ่มท�ำเองได้ปล่อยให้เด็กท�ำเอง โดยใช้สีท่ีแตกต่างกัน ไมผ่ ่าน 1. ดินสอ เพ่อื กระตุ้นความสนใจของเดก็ 2. กระดาษ ผา่ น : เดก็ สามารถลากเสน้ เปน็ วงตอ่ เนอ่ื ง กันได้ ตัวอย่าง เสน้ วงต่อเนื่อง ชว่ งอายุ 31 - 36 เดือน https://youtu.be/8c1axMEmBbo 45คูม่ อื เฝา้ ระวังและสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝา้ ระวังและสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ข้อท่ี ทกั ษะ วธิ ปี ระเมิน เฝ้าระวงั วิธีฝึกทักษะ (เดอื น) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจา้ หน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู และผดู้ ูแลเดก็ 31 - 36 81 นำ� วตั ถุ 2 ชนดิ ในหอ้ งมาใหไ้ ด้ 1. น�ำวัตถุทั้ง 6 ชนิด วางไว้ในท่ีต่าง ๆ 1. ฝึกเด็กในชีวิตประจ�ำวัน โดยออกค�ำสั่งให้เด็กหยิบของในห้อง (2 ปี 7 เดอื น ตามค�ำสงั่ (RL) ในห้อง โดยให้อยู่หา่ งจากตัวเดก็ ประมาณ มาให้ทลี ะ 2 ชนดิ เช่น หยบิ แปรงสฟี นั และยาสฟี นั เสอ้ื และกางเกง - 3 ปี) ผ่าน 3 เมตร ถา้ เดก็ หยบิ ไมถ่ กู ใหช้ บ้ี อกหรอื จงู มอื เดก็ พาไปหยบิ ของ เมอ่ื เดก็ ทำ� ได้ อุปกรณ์ : วัตถุที่เด็กรู้จัก 2. บอกให้เด็กหยิบวัตถุ 2 ชนิด เช่น แลว้ ใหเ้ ปลีย่ นคำ� ส่งั เปน็ หยบิ ของใชอ้ น่ื ๆ ทห่ี ลากหลายมากข้ึน ไม่ผา่ น 6 ชนิด เช่น แปรงสีฟัน หวี แปรงสฟี ันและหวมี าให้ (ครง้ั ท่ี 1) 2. พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก จัดเก็บของให้เป็นระเบียบ ช้อน ถ้วย ตกุ๊ ตาผา้ บอล 3. น�ำวัตถุท้ัง 2 ชนิด กลับไปวางไว้ใน และอย่ทู ่ปี ระจำ� ทกุ ครงั้ เพื่อฝกึ ให้เด็กมีระเบียบ ต�ำแหน่งใหม่ 3. เม่ือเด็กท�ำได้แล้วให้เด็กเตรียมของก่อนท่ีจะท�ำกิจกรรมในชีวิต 4. ท�ำซำ้� ในข้อ 2 และ 3 อีก 2 ครงั้ ประจ�ำวัน เชน่ กอ่ นอาบนำ้� หยิบผ้าเช็ดตวั เสื้อผ้าก่อนไปโรงเรียน หมายเหตุ : หากค�ำสั่งแรกไม่ผ่านอาจ หยบิ กระเปา๋ รองเทา้ ฝกึ การเกบ็ ของใหเ้ ปน็ ระเบยี บเขา้ ทเี่ ดมิ ทกุ ครง้ั ให้เด็กหยิบวัตถุชนิดอ่ืน แต่ให้ทดสอบซ�้ำ ท่ีน�ำของออกมาใช้ เป็นตน้ 3 ครง้ั ในวตั ถชุ นดิ น้ัน ผา่ น : เด็กสามารถนำ� วตั ถุ 2 ชนดิ มาให้ วัสดุที่ใชแ้ ทนได้ : ของใชใ้ นบา้ นชนดิ อ่นื ๆ ที่ไม่เป็นอนั ตราย ได้ถูกตอ้ งอย่างน้อย 2 ใน 3 คร้ัง 82 พดู ติดต่อกัน 3 - 4 ค�ำได้ สังเกตหรือถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง 1. พดู ค�ำ 3 - 4 ค�ำ ให้เด็กฟงั บอ่ ย ๆ และให้เด็กพูดตาม ถ้าเดก็ พดู ได้ อยา่ งนอ้ ย 4 ความหมาย (EL) หรอื ผ้ดู ูแลเดก็ ว่าเดก็ สามารถพูด 3 - 4 คำ� ทลี ะคำ� หรือ 2 ค�ำ ใหพ้ ดู ขยายค�ำพูดเดก็ เป็น 3 - 4 คำ� เช่น เด็กพูด ผา่ น (ไมใ่ ช่ 3 - 4 พยางค์) ตอ่ กนั ได้หรือไม่ เช่น “ไป” พอ่ แม่ ผปู้ กครองหรอื ผดู้ แู ลเดก็ พดู วา่ “ไปหาแม”่ “ไปกนิ ขา้ ว” - บอกการให้ 2. ร้องเพลงเด็กทใ่ี ชค้ ำ� พูดงา่ ย ๆ ให้เดก็ ฟงั บ่อย ๆ พรอ้ มท�ำทา่ ทาง ไมผ่ ่าน - บอกความต้องการ ตามเพลง เว้นวรรคให้เดก็ รอ้ งตอ่ เช่น “จบั ...(ปดู ำ� ) ขยำ� …(ปนู า) ” - บอกปฏิเสธ 3. พดู โตต้ อบกับเดก็ บอ่ ย ๆ ในส่งิ ท่เี ดก็ สนใจหรือก�ำลังท�ำกจิ กรรม - แสดงความคิดเห็น อยู่ วธิ พี ดู ใหพ้ ดู ชา้ ๆ ชดั ๆ มจี งั หวะหยดุ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ พดู ตามในระหวา่ ง ผ่าน : เด็กพูดประโยคหรือวลีท่ีเป็นค�ำ ชีวติ ประจ�ำวนั เช่น ระหว่างอาบน�้ำ ระหวา่ งทานข้าว การดรู ปู ภาพ 3 - 4 ค�ำอยา่ งน้อย 4 ความหมาย ประกอบ อา่ นหนังสือรว่ มกนั 46 คมู่ ือเฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คมู่ อื เฝา้ ระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั อายุ ข้อที่ ทกั ษะ วิธีประเมิน เฝ้าระวัง วธิ ฝี กึ ทกั ษะ (เดือน) โดย พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เจา้ หน้าท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู และผดู้ แู ลเด็ก 83 ใสก่ างเกงไดเ้ อง (PS) 31 - 36 ถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล 1. เริ่มฝกึ เดก็ โดยใชก้ างเกงขาสั้นเอวยดื มขี ั้นตอนดงั นี้ (2 ปี 7 เดือน ผา่ น เด็กว่า “เด็กสามารถใสก่ างเกงเอวยางยดื 2. สอนให้เด็กรู้จักด้านนอกและด้านใน ด้านหน้าและด้านหลัง ไดเ้ องหรือไม่” ของกางเกง - 3 ปี) ไม่ผ่าน 3. จัดให้เดก็ นงั่ จับมอื เด็กทงั้ 2 ขา้ ง จบั ที่ขอบกางเกง และดึงขอบกางเกง ผา่ น : เด็กใส่กางเกงเอวยางยืดไดเ้ องโดย ออกให้กวา้ ง สอดขาเขา้ ไปในกางเกงทลี ะขา้ งจนชายกางเกงพน้ ข้อเทา้ ไม่ต้องช่วย และไมจ่ ำ� เป็นต้องถูกด้าน 4. ใหเ้ ดก็ ยนื ขน้ึ จับมอื เด็กดึงขอบกางเกงใหถ้ งึ ระดบั เอว 5. ถ้าเด็กเร่ิมท�ำได้ให้ลดการช่วยเหลือลงทีละข้ันตอนและปล่อยให้ เดก็ ท�ำเอง 37 - 41 84 ยืนขาเดียว 3 วนิ าที (GM) แสดงวิธียืนขาเดียวให้เด็กดู แล้วบอกให้ 1. ยืนบนขาข้างเดยี วใหเ้ ดก็ ดู (3 ปี 1 เดือน เดก็ ยนื ขาเดยี วใหน้ านทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะนานได้ 2. ยนื หนั หนา้ เข้าหากนั และจับมือเด็กไวท้ ้งั สองข้าง ผา่ น ใหโ้ อกาสประเมนิ 3 ครงั้ (อาจเปลย่ี นขาได)้ 3. ยกขาขา้ งหนง่ึ ขนึ้ แลว้ บอกใหเ้ ดก็ ทำ� ตาม เมอ่ื เดก็ ยนื ไดเ้ ปลย่ี นเปน็ - ผ่าน : เด็กยืนขาเดียวได้นาน 3 วินาที จบั มือเด็กขา้ งเดียว 3 ปี 5 เดอื น) ไม่ผา่ น อย่างนอ้ ย 1 ใน 3 ครั้ง 4. เมอื่ เดก็ สามารถยนื ดว้ ยขาขา้ งเดยี วไดค้ อ่ ย ๆ ปลอ่ ยมอื ใหเ้ ดก็ ยนื ทรงตัวได้ดว้ ยตนเอง เปล่ียนเปน็ ยกขาอกี ข้างหน่งึ โดยท�ำซำ้� เชน่ เดยี วกัน 85 เลยี นแบบวาดรปู วงกลม (FM) วาดรูปวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1. สอนให้เด็กวาดวงกลมโดยเริ่มจากจุดที่ก�ำหนดให้และกลับมา อปุ กรณ์ : ประมาณ 5 ซม. ให้เด็กดูและพูดว่า สน้ิ สดุ ทจ่ี ดุ กำ� หนดเดมิ พรอ้ มออกเสยี ง โดยวาดเปน็ วงกลมจากชา้ ไป ผา่ น 1. ดนิ สอ “ครวู าดรูปวงกลม” และให้เดก็ ทำ� ตาม เรว็ พรอ้ มออกเสยี ง “วงกลม..หยดุ ”ยกมอื ขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เขา้ ใจคำ� วา่ หยดุ 2. กระดาษ ผา่ น : เดก็ สามารถวาดรปู วงกลมโดยไมม่ ี 2. จบั มอื เดก็ วาดวงกลมและยกมอื เดก็ ขนึ้ เมอ่ื ออกเสยี ง “วงกลม.... ไม่ผา่ น เหลี่ยม ไม่เว้า และเส้นท่ีมาเช่ือมต่อซ้อน หยดุ ” โดยยกมือข้ึน ใหต้ รงกบั ค�ำวา่ หยุด กันไม่เกิน 2 ซม. ไดอ้ ย่างนอ้ ย 1 ใน 3 ครงั้ 3. เมื่อเด็กท�ำได้ดีข้ึนค่อย ๆ ลดการช่วยเหลือลง จนสามารถหยุด ช่วงอายุ 37 - 41 เดือน ได้เองเมอ่ื ลากเส้นมาถงึ จุดสน้ิ สดุ https://youtu.be/PtJknPn8GdE 47คมู่ อื เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
คู่มอื เฝา้ ระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั อายุ ข้อที่ ทกั ษะ วิธปี ระเมิน เฝ้าระวัง วธิ ีฝึกทกั ษะ (เดอื น) โดย พ่อแม่ ผปู้ กครอง เจา้ หนา้ ท่ี ครู และผดู้ แู ลเดก็ โดย พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผู้ดแู ลเด็ก 37 - 41 86 ท�ำตามค�ำสั่งต่อเนื่องได้ 2 1. วางวัตถุ 4 ชนดิ ตรงหนา้ เดก็ ในระยะ 1. ฝกึ เดก็ ในชีวิตประจ�ำวนั โดยออกค�ำสัง่ เนน้ คำ� ทีเ่ ปน็ ชือ่ ส่ิงของ (3 ปี 1 เดือน กรยิ ากบั วตั ถุ 2 ชนิด (RL) ทเี่ ดก็ หยบิ ไดแ้ ลว้ พดู กบั เดก็ เชน่ “หยบิ หวี และการกระท�ำ เช่น ขณะอาบน้�ำ “เอาเส้ือใส่ตะกร้าแล้วหยิบ - ผ่าน ใหค้ รแู ล้วชตี้ ุ๊กตาซิ” ผ้าเช็ดตัวมา” /ขณะแต่งตัว “ใส่กางเกงแล้วไปหวีผม” /ขณะ 3 ปี 5 เดอื น) อุปกรณ์ : ของเล่น เชน่ 2. วางสลับวตั ถทุ ้ัง 4 ชนิดใหม่ ไม่ผา่ น หวี ตกุ๊ ตาผา้ บอล ชอ้ น รบั ประทานอาหาร “เก็บจานแลว้ เอาผา้ ไปเช็ดโต๊ะ” 3. กรณีที่เด็กไม่ผ่านค�ำสั่งแรกให้เปล่ียน 2. ถา้ เดก็ ทำ� ไดเ้ พยี งคำ� สง่ั เดยี ว ใหช้ ไี้ ปทส่ี งิ่ ของทไี่ มไ่ ดท้ ำ� แลว้ บอกซำ้� เปน็ คำ� สงั่ อน่ื ไดอ้ กี 2 คำ� สง่ั โดยอาจเปลย่ี น หรอื พดู กระตุ้นเตอื นความจ�ำเดก็ เชน่ “ตอ่ ไปท�ำอะไรอีกนะ?” หรอื กริยาหรอื วัตถุได้ “เมื่อกี้บอกอะไรอีกนะ?” ฝึกซ้�ำ ๆ จนเด็กสามารถท�ำตามค�ำส่ังได้ ผ่าน : เด็กสามารถท�ำตามค�ำสั่งต่อเนื่อง ถูกตอ้ ง ไดอ้ ย่างน้อย 1 ใน 3 ครัง้ วสั ดทุ ี่ใชแ้ ทนได้ : ของใชใ้ นบ้านชนดิ อื่น ๆ ที่ไมเ่ ป็นอันตราย 87 ถามคำ� ถามได้ 4 แบบ เชน่ ใคร 1. สังเกตขณะเด็กเล่นของเล่นหรือ 1. ต้ังค�ำถามให้เด็กตอบบ่อย ๆ เช่น “น่ีอะไร” “ร้องเพลง อะไร ทไ่ี หน ท�ำไม (EL) ประเมินทักษะอน่ื อะไร”“หนังสอื อยทู่ ่ีไหน” “ท�ำไมตอ้ งไป” ในชวี ติ ประจ�ำวนั 2. ถามจากพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล 2. เมอื่ เดก็ ถาม ใหต้ อบเดก็ ทกุ ครงั้ ดว้ ยความเอาใจใส่ และพดู คยุ กบั ผา่ น เดก็ วา่ เดก็ เคยถามคำ� ถาม “ใคร” “อะไร” เด็กในเรื่องท่ีเดก็ ถาม “ท่ีไหน” “ท�ำไม” หรอื ไม่ 3. อา่ นนิทานใหเ้ ดก็ ฟัง ตง้ั คำ� ถามจากเน้ือเร่ืองในนทิ านให้เดก็ ตอบ ไม่ผ่าน และกระตุ้นให้เด็กเป็นผู้ถาม พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก เป็นผูต้ อบบา้ ง ผา่ น : เด็กสามารถใช้ค�ำถาม ถามต่างกนั วัตถุประสงค์ : เพ่ือฝึกความจ�ำค�ำศัพท์และสามารถเลือกใช้ 4 แบบ ส่ือความหมายดว้ ยการพูดอยา่ งเหมาะสมกับสถานการณ์ 48 คูม่ ือเฝา้ ระวังและสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั : Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM)
Search