Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องความแตกต่างทางวัฒนธรรม

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องความแตกต่างทางวัฒนธรรม

Published by muandej, 2019-05-20 08:12:59

Description: เรื่อง ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Search

Read the Text Version

กล่มุ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔

ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั วฒั นธรรม วัฒนธรรม แบบแผนในการดาเนนิ ชวี ิตของคนในสังคมทป่ี ฏิบตั ิสบื ตอ่ กันมาเปน็ เวลานาน แสดงถงึ ความเจริญของมนษุ ย์ เช่น ภาษา การแตง่ กาย ประเพณี พิธีกรรม ตา่ งๆ ประเทศไทยเป็นสังคมทมี่ ีคนอยู่รว่ มกันมากมายหลายเช้อื ชาติ หลายภาษา มคี วามเชอื่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวิถที างในการดาเนนิ ชวี ติ ท่อี าจแตกตา่ งไปจากคนรนุ่ ก่อน ๆ ดังนน้ั แตล่ ะท้องถน่ิ ยอ่ มจะมี ลักษณะเฉพาะแตกต่างกนั ไปตามเช้อื ชาติ ความเชอื่ ไม่ว่าจะเป็น ภาษา การแตง่ กาย อาหารการกนิ การสร้างทีอ่ ยอู่ าศยั การประกอบอาชีพ ตลอดจนขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และคา่ นยิ มตา่ ง ๆ ภาคเหนอื ประกอบดว้ ย 17 จงั หวดั กาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ นา่ น พะเยา พิจติ ร พิษณุโลก เพชรบูรณแ์ พร่ แมฮ่ อ่ งสอน ลาปาง ลาพนู สโุ ขทัย อุตรดติ ถ์ อุทัยธานี - ภาคเหนอื ตอนบน 8 จังหวดั - ภาคเหนอื ตอล่าง 9 จังหวดั ภาคกลาง ประกอบด้วย 26จงั หวัด กรุงเทพฯ กาญจนบรุ ี ชยั นาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทมุ ธานี ประจวบคีรขี นั ธ์ พระนครศรอี ยุธยา เพชรบุรี ราชบรุ ี ลพบรุ ี สมทุ รปราการ สมุทรสงครามสมทุ รสาคร สระบรุ ี สงิ หบ์ รุ สี ุพรรณบุรี อ่างทอง จนั ทบุรี ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง สระแกว้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ประกอบด้วย 20จังหวัด กาฬสินธ์ุ ขอนแก่น ชัยภมู ิ นครพนม นครราชสีมา บรุ ีรมั ย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร รอ้ ยเอ็ด เลย ศรสี ะเกษ สกลนคร สรุ นิ ทร์ หนองคาย หนองบัวลาภู อานาจเจรญิ อุดรธานี อุบลราชธานี บงึ กาฬ ภาคใต้ ประกอบดว้ ย 14จงั หวดั กระบี่ ชมุ พร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธวิ าส ปัตตานี พงั งา พทั ลงุ ภเู กต็ ยะลา ระนอง สงขลา สตลู สุราษฎร์ธานี

ความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม วฒั นธรรมทางภาษา คนไทยทกุ ภาคทกุ ทอ้ งถิ่น แมจ้ ะพูดภาษาไทย แตจ่ ะมสี าเนียงทแี่ ตกตา่ งกันในแต่ละ ภมู ิภาค เรยี กวา่ ภาษาถ่ิน ภาคเหนือ พอ่ แม่ = ปอ้ แม,่ พชี่ าย=อ้าย(เปรยี บไทใหญ่ อา้ ย “พี่ชายคน แรก”,พสี่ าว=ปี(้ เย้ย,เย,้ ใย)้ ,ฝรง่ั (ผลไม)้ = บะก้วยกา๋ (จาก หมากกลว้ ยกา) ภาคกลางเปน็ ภาษาถน่ิ ภาคกลางทยี่ อมรับกนั วา่ เป็นภาษามาตรฐานที่ กาหนดให้คนในชาตใิ ช้รว่ มกัน เพอื่ สอื่ สารให้ตรงกัน เช่น พอ่ แม่ ชมพู่ มะมว่ ง ข้าวโพด ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื กนิ เข้าแล้วบ่=กนิ ขา้ วหรือยงั , กซี่ น้ี งัว=เน้อื วัวยา่ ง,งามเติบ=สวยมาก, งดึ แฮง, งดึ หลาย=ประหลาดใจ เหลือเกนิ ประหลาดใจมาก, ภาคใต้ ถุงพลาสติกแบบท่มี ีหูหิ้ว=ถงุ กรอบแกรบ,เละเทะ เละตุม้ เปะ=เนียน แจก็ แจ๊ก,ย่งุ เร่ืองของคนอ่ืน=ทาถา้ ว,ไม่เอาไหน=เบลอ่ ,ดุร้าย=ด้น,กดั =ขบ

วัฒนธรรมทางด้านการกิน ในแต่ละทอ้ งถน่ิ จะมกี ารปรงุ อาหาร ซ่ึงเปน็ วฒั นธรรมที่สบื ทอดกนั มานาน ใช้วตั ถดุ บิ ทหี่ าได้ในท้องถ่นิ แตแ่ ตกต่างกนั อาหารก็จะมรี สชาตแิ ตกตา่ งกันไปตามรสนิยมของแตล่ ะภาค ภาคเหนอื แกงโฮะ คาวา่ โฮะ แปลวา่ รวม แกงโฮะก็คือแกงท่นี าเอาอาหารหลายอย่างมา รวมกนั สมยั กอ่ นแกงโฮะมักจะทาจากอาหารหลายอยา่ งทเ่ี หลอื จากงานบุญ มาผัดรวมกนั แตป่ ัจจุบนั ใชเ้ คร่ืองปรุงใหมท่ าก็ไดห้ รอื จะเป็นของท่ีค้างคืน และนามาปรุงใหม่อีกคร้ังหนงึ่ แกงโฮะเป็นอาหารที่นิยมแพรห่ ลายมขี ายกนั แทบทกุ รา้ นอาหารพ้ืนเมืองในภาคเหนอื ข้าวซอย เป็นอาหารของไทล้อื ทน่ี ามาเผยแพร่ในล้านนาหรือ ภาคเหนอื ตามตารับเดิมจะใชพ้ ริกป่นผดั โรยหน้าดว้ ย นา้ มนั เมือ่ มาสู่ครวั ไทยภาคเหนอื กป็ ระยกุ ต์ใช้พรกิ แกงคว่ั ใส่กะทลิ งไปกลายเป็น เค่ยี วให้ขน้ ราดบนเสน้ บะหม่ี ใส่ เน้อื หรือไก่ กินกบั ผักกาดดอง หอมแดงเปน็ เคร่ืองเคยี ง แกงฮงั เล เปน็ อาหารพน้ื บา้ นของชาวไทใหญอ่ ีกชนดิ หนง่ึ ซง่ึ อาจได้รบั อิทธิพลมา จากอาหารพม่าในอดีต เป็นแกงทที่ าได้งา่ ย ใส่พริกแหง้ ผงแกงฮังเล มะเขอื เทศ และเนื้อ แลว้ นามาผดั รวมกนั

ภาคกลาง ต้มยากุ้ง ตม้ ยานา้ ข้น ตม้ ยาน้าข้นถูกเขา้ ใจว่าเป็นต้นตารบั ของต้มยา แต่แท้ท่ีจริง แล้ว เป็นเพยี งการพัฒนามาจากต้มยานา้ ใสอกี ทีหน่งึ เพราะเริ่มในสมัย รชั กาลท่ี 6 ชว่ งทีท่ ่านเสดจ็ ประพาสไปเสวยเหลาแถวสามยา่ น สมยั น้ันมีเส หลาของคนจีนเข้ามาใหมร่ า้ นหนง่ึ เสหลาแห่งน้ันทาตม้ ยากงุ้ ใส่นมเปน็ น้า ขน้ น้าพรกิ -ปลาทู น้าพรกิ มมี าตง้ั แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา โดยคาวา่ \"น้าพริก\" มคี วามหมายมาจาก การปรุงด้วยการนาสมนุ ไพร น้าพริกปลาทู เปน็ เมนอู าหารที่มีการตานา้ พริก และใส่ปลาทนู ่งึ เขา้ ไปตาร่วมด้วย ปรุงรสให้ออกเผ็ด เปร้ียว เค็ม รบั ประทาน กบั ผักสด ผกั ต้ม นานาชนดิ การปรงุ น้าพรกิ ให้อร่อยควรใช้ครก แกงเขยี วหวาน ในสมัยกอ่ นน้ัน แกงไทยๆ จะเปน็ แกงเลียงซะส่วนใหญ่ และเป็นแกงป่า ตามมาเพราะจะไม่ใสก่ ะทิตอ่ มามีแกงใส่กะทเิ ข้ามาในครัว กจ็ ึงมีแกงเผด็ หรือที่หลายทอ้ งถิน่ เขาเรยี กกันและคนไทยชา่ งคดิ เปลี่ยนพริกแหง้ สแี ดง มาใช้พริกสดสเี ขียวแทนและใส่ใบพริกสดลงไปตาด้วยในนา้ พรกิ แกง นั้นๆ เพอื่ ใหม้ สี เี ขียวท่ีเด่นชัดข้ึน

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สม้ ตา คาว่า \"สม้ ตา\" นัน้ เกิดจากคาสองคาที่นามาผสมกนั ได้แก่คาว่า \"ส้ม\" ซง่ึ เป็นภาษาท้องถิ่นของภาคอีสานทีม่ คี วามหมายว่า รสชาติเปรย้ี ว และคาว่า \"ตา\" น้ันกค็ ือการใชอ้ ปุ กรณ์ เครือ่ งครวั ชนิดหน่ึงหรอื กค็ ือ สาก โดยเราจะใช้สากโขลกลงไป เพือ่ ให้วตั ถดุ ิบท้ังหมดเข้ากนั และเมอ่ื นาทั้งสองคานี้มา รวมกันก็จะหมายความวา่ อาหารรสเปรยี้ วท่ีเกิดจากการโขลก หรือตาน่ันเอง อย่างไรก็ตามตาส้มของคนอีสานนนั้ มี ความหมายกวา้ งๆ คนทางภาคอสี านเรียกส้มตาวา่ ตาบกั หงุ่ หรือตาหมากหุ่ง ม่มั คือไส้กรอกอสี าน ใชเ้ น้อื วัวสับหรือตับทเ่ี รียกวา่ “มัม่ ตบั ” นามายดั ใสใ่ นกระเพาะปัสสาวะของววั คนอีสานนยิ มทอดหรอื ย่าง จ้มิ กบั น้าพรกิ หรือแจว่ รับประทานเสนห่ อ์ าหารพน้ื บ้าน อสี านอย่ทู ีร่ ูปแบบการปรุง วตั ถดุ บิ เครอ่ื งปรุงรสชาติ ปลารา้ ทน่ี ามาผสมผสานกัน อยา่ งกลมกลืน สะทอ้ นให้เห็นวฒั นธรรมอาหารของคนอีสานอนั เปน็ ลกั ษณะเฉพาะถิน่ เป็นสำรับอำหำรท่ีคนทวั่ ไปยอมรับในควำมอร่อยและอดุ มด้วยคณุ คำ่ ทำงโภชนำกำร คนภาคอสี าน

ลาบ ลาบ เป็นอาหารท้องถิ่นทางภาคอสี าน โดยนาเนอ้ื มาสับให้ ละเอียดแล้วคลุกกบั เครือ่ งปรุง ซ่ึงเน้ือที่นามาลาบมหี ลายชนิด มที ั้งแบบเน้ือสุกและแบบเนื้อดิบ นิยมกินคู่กบั ขา้ วเหนียว ลาบของภาคอีสานมีลกั ษณะเฉพาะ คือ เปน็ อาหารทปี รงุ โดย ใชเ้ นือ้ สตั ว์ที่สบั ละเอยี ด ซอย หรือหัน่ เป็นชิ้นๆ ปรุงรสดว้ ย เกลือ น้าปลา นา้ ปลารา้ มะนาว แล้วโรยดว้ ยข้าวค่ัว พริกปน่ ใบสะระแหน่ ใบมะกรูดซอย ใบผกั หอมเปซอย ต้นหอม และ หอมแดง กินกับผกั พ้ืนบา้ นเช่น แตงกวา ยอดกระถนิ ล้นิ ฟ้า ยอดมะกอก ยอดมะเฟอื ง ยอดมะตมู ยอดสะเดา เป็นต้น ปลาร้า ปลาร้า ถอื เป็นภมู ิปัญญาอาหารที่สบื ทอดกันมาหลายช่ัวอายุ ของคนอสี าน(ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ของไทย) ทั้ง รูปลักษณ์ รสชาติและกลิ่น ก่อใหเ้ กดิ อารมณ์ร่วมของความ เป็นชาวอีสาน และขยายเป็นวัฒนธรรมรว่ มกบั ชาวลาวใน สปป.ลาว ชาวเขมรในกมั พูชา (ซ่งึ เรยี กปลาฮ็อก) และชาว เวียดนาม(ซ่ึงเรียกว่าหม่า) วฒั นธรรมปลาร้าเป็นภาพสะท้อน อย่างชัดเจนถึงการใช้โภชนาการบาบัดและปอ้ งกันโรคตา่ งๆ เพราะในวถิ ีชวี ิตของคนอีสานมหี ลกั การดาเนินชีวิตวา่ กินปลา เป็นหลกั กินผกั เปน็ ยา จึงอาจถอื วา่ ปลาร้าคอื เอกลักษณ์ อาหารของชาวอีสาน

ภาคใต้ แกงไตปลา ข้าวยา ชวี ิตของคนภาคใต้เก่ียวข้องกับท้องทะเล อาหารการกินส่วนใหญม่ า ขา้ วยาของชาวใต้ จะอร่อยหรือไม่ก็ข้ึนอยกู่ บั นา้ บดู ูเปน็ สาคัญ นา้ บดู มู ี จากทะเล ซงึ ถา้ มมี ากเกินรับประทานกจ็ ะนาอาหารท่ีไดจ้ ากทะเล รสเคม็ แหลง่ ทม่ี กี ารทาน้าบดู มู ากคือจังหวัดยะลาและปตั ตานี เวลา นั้นมาทาการถนอมอาหาร ไตปลา หรือพุงปลาไดจ้ ากการนาพงุ ปลา นามาใสข่ า้ วยาตอ้ งเอานา้ บดู ูมาปรุงรสก่อน จะออกรสหวานเลก็ นอ้ ย ทูมารีดเอาไสใ้ นออก ลา้ งพุงปลาใหส้ ะอาดแล้วใสเ่ กลือหมักไว้ แลว้ แตค่ วามชอบ นา้ บดู ูของชาวใตม้ กี ลิ่นคาวของปลาเพราะทามาจาก ประมาณ 1 เดอื นขน้ึ ไป หลังจากนนั้ จึงจะนามาปรุงอาหารได้ ปลา กลิ่นคลา้ ยของทางภาคอสี าน ลกู ปลาควั่ เกลอื แกงสม้ ออกดิบ (คูน) ลูกปลาคั่วเกลือเป็นอาหารปลาประเภทหนึ่งที่นิยมรบั ประทานกันโดยใช้ แกงสม้ ออกดิบ มีสว่ นประกอบของเครื่องปรุงสว่ นใหญ่ออกไปทางรสเผด็ ลูกปลาเล็กปลานอ้ ยท่หี าได้จากทะเล นามาผสมเครอ่ื งปรงุ และค่ัวเกลอื ร้อน เปรย้ี ว สรรพคุณชว่ ยในการขับลม ช่วยใหเ้ จริญอาหาร มะนาวและ จนแห้ง ลูกปลาท่นี ิยมนามาควั่ คอื ลกู ปลากะตักหรือลกู ปลาไสต้ ัน สม้ แขกมรี สเปรี้ยว สรรพคุณช่วยแกไ้ อ ขับเสมหะและมีวติ ามินซสี งู ลูกปลาค่ัวเกลอื เปน็ อาหารทใ่ี หแ้ คลเซยี มสงู มาก จากปลาเล็กปลาน้อย ผสมรวมกบั เครือ่ งปรงุ ก็จะชว่ ยเพมิ่ รสชาติ กระตุ้นใหเ้ จริญอาหารไดด้ ี

วฒั นธรรมด้านการแต่งกาย คนไทยในแตล่ ะภาคมีแบบแผนการแตง่ กายของตนเองมานาน มี การเปล่ียนแปลงใหด้ ูเหมาะสมไปตามยคุ สมยั และการแต่งกาย ตามแบบสากลนิยมก็ได้รบั การนยิ มอย่างแพร่หลาย ภาคเหนอื การแต่งกายของคนภาคเหนอื ทเี่ ป็นชาวบ้านทัว่ ไป ชายจะนุ่งกางเกงขายาวลกั ษณะแบบ กางเกงขายาวแบบ 3 ส่วน เรียกติดปากว่า “เตยี่ ว” หรอื เตย่ี วสะดอ ทาจากผา้ ฝ้าย ยอ้ ม สีน้าเงินหรอื สดี า ส่วนเสื้อกน็ ยิ มสวมเสอื้ ผ้าฝา้ ยคอกลม แขนส้นั แบบผา่ อก กระดุม 5 เม็ด สีน้าเงินหรอื สีดา เช่นเดียวกัน เรยี กวา่ เสื้อม่อฮ่อม ชุดน้ีใส่เวลาทางาน สาหรับ หญิงชาว เหนือจะนุง่ ผา้ ซนิ่ (ผา้ ถงุ )ยาวเกือบถึงตาตมุ่ นิยมนุ่งท้งั สาวและคนแก่ ผ้าถุงจะมคี วาม ประณตี งดงาม ตีนซ่นิ จะมีลวดลายงดงาม ส่วนเสือ้ จะเปน็ เสื้อคอกลม มสี ีสนั ลวดลาย สวยงามเช่นเดยี วกัน เร่ืองการแต่งกายน้ี หญิงชาวเหนอื จะแต่งตัวให้สวยงามอยู่เสมอ ชาว เหนอื ถือว่าเป็นเรอ่ื งสาคัญ จนถึงกับมคี าสภุ าษิตของชาวเหนอื สัง่ สอนสบื ตอ่ กนั มาเลยวา่ ภาคกลาง ผชู้ าย สมัยกอ่ นการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นยิ มสวมใส่โจงกระเบนสวม เสอื้ สขี าว ติดกระดุม 5 เม็ด ท่เี รียกวา่ “ราชประแตน” ไว้ผมสนั้ ขา้ งๆตดั เกรียนถงึ หนัง ศรี ษะข้างบนหวแี สกกลาง ผู้หญิง สมัยกอ่ นการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใสผ่ ้าซน่ิ ยาวครง่ึ แข้ง ห่มสไบเฉียงตามสมัยอยุธยา ทรงผมเกล้าเป็นมวย และสวมใส่เครือ่ งประดบั เพื่อความ สวยงาม

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ผชู้ าย สว่ นใหญน่ ิยมสวมเส้อื แขนส้นั สเี ขม้ ๆ ทเี่ ราเรียกวา่ “ม่อห่อม” สวม กางเกงสีเดยี วกบั เสอื้ จรดเข่า นิยมใช้ผ้าคาดเอวด้วยผ้าขาวม้า ผหู้ ญิง การแต่งกายส่วนใหญ่นิยมสวมใส่ผา้ ซน่ิ แบบทอทั้งตัว สวมเสอ้ื คอ เปิดเลน่ สสี ัน หม่ ผา้ สไบเฉียง สวมเครื่องประดบั ตามข้อมือ ขอ้ เท้าและคอ ภาคใต้ การแต่งกายภาคใต้ ภาคนี้มีการแต่งกายตา่ งกันตามเช้ือชาติ ถา้ เชือ้ สาย จนี จะแตง่ แบบจีน ถ้าเป็นชาวมสุ ลมิ ก็จะแต่งคลา้ ยกับชาวมาเลเซยี ปจั จบุ ันแหลง่ ทาผ้าแบบดัง้ เดมิ น้ันเกอื บจะสญู หายไป คงพบได้เฉพาะ 4 แหล่งเทา่ น้ันคอื ท่ตี าบลพุมเรีย้ ง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี , อาเภอเมือง จังหวดั นครศรีธรรมราช , เกาะยอ จงั หวัดสงขลา และตาบลนาหมน่ื ศรี จงั หวัดตรงั

ฟ้อนเลบ็ หมอลา ฟอ้ นเลบ็ เปน็ การฟอ้ นของชาวไทยภาคเหนือ การแสดงจะมี เซ้งิ สวิ้ง ดนตรบี รรเลงประกอบ จะมเี นอื้ ร้องหรอื ไม่มเี นอ้ื รอ้ งกไ็ ด้ โอกาสที่แสดง ในงานเทศกาลหรืองานนักขัตฤกษ์ต่าง ๆ หมอลาเปน็ ศลิ ปะการขับรอ้ งเพลงพื้นบา้ นและการ แสดงพื้นบา้ นของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ฟอ้ นเทียน ฟอ้ น เทียน เป็นระบาแบบเย็นๆ ตามลักษณะของการฟ้อนของไทยภาคเหนอื ผ้ฟู อ้ นถอื เทยี นจุดไฟมือละเล่มทัง้ 2 มือ ตามปกติใช้ฟ้อนในที่กลางแจง้ ในเวลาตอนกลางคืนๆ เซงิ้ สวิ้ง เปน็ การละเล่นเพ่ือส่งเสริมด้านจิตใจของ ประชาชนในทอ้ งถ่ิน ซง่ึ มอี าชพี ในการจับสตั ว์นา้ โดยมีสวงิ เปน็ เครื่องมือหลัก ในปี พ.ศ. 2515 ภาคเหนอื วัฒนธรรมด้านการแสดง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคกลาง และการละเลน่ พืน้ เมือง ภาคใต้ ลิเก รามโนราห์ หนังตะลงุ ลเิ ก มาจาก จิเก คอื การสวด โนรา หรือ มโนห์รา (เขยี นเป็น มโนรา สรรเสริญพระเจ้าของชาวไทย หรือ มโนราห์ ก็ได)้ เป็นการละเล่น มุสลิม ผสมผสานกับละครรา พ้ืนเมอื งท่ีสบื ทอดกันมานานและนิยมกัน ของไทย จนเกดิ เป็นละครแบบ อย่างแพร่หลายใน ภาคใต้ เป็นการละเล่น ใหม่ ในสมยั รัชกาลที่ ๕ และ ที่มีทัง้ การรอ้ ง การรา บางสว่ นเล่นเป็น เป็นท่ีนยิ มของชาวบ้านมาจนถึง เร่อื ง และบางโอกาสมีบางส่วน แสดงตาม ปัจจบุ ัน คตคิ วามเช่ือทเ่ี ป็นพธิ ีกรรม เต้นการาเคยี ว เตน้ การาเคยี ว เป็นการละเลน่ พื้นเมอื งที่เกา่ แก่แบบหน่งึ ของ ชาวชนบทในภาคกลางของ หนังตะลุงเป็นศิลปะการแสดงอย่าง ไทย แถบจังหวัดนครสวรรค์ หนึง่ ของชาวปักษ์ใต้ มที ั้งบทพากษ์ ทอี่ าเภอพยหุ ะคีรี ซง่ึ แต่เดมิ และบทเจรจา ผดิ กนั กับพากยโ์ ขน ประชาชนสว่ นมากยดึ อาชีพ หรือละคร ส่วนมากใชก้ ลอนตลาด การทานา เดิมทเี ดียวเล่นเร่ืองรามเกยี รตเิ์ ปน็ พื้น

ประเพณพี น้ื เมอื ง ประเพณีพน้ื เมืองทเี่ ด่นๆ ของแต่ละภูมภิ าค ได้แก่ ภาคเหนอื ประเพณีสืบชะตา เป็นประเพณที ผี่ ูกพนั กบั วถิ ีชีวติ ของคนลาปางอย่างแนน่ แฟน้ สบื ทอดกันมาแตโ่ บราณกาล เพราะมีความเชอ่ื ม่นั วา่ พิธสี ืบชะตานีเ้ ป็น การต่ออายุทั้งของตวั เองและญาติพน่ี อ้ งบริวารหรือชะตาของ บ้านเมืองใหม้ อี ายยุ ืนยาวสืบไป ก่อใหเ้ กดิ ความสุขความเจริญอกี ท้ังเปน็ การขจัดภัยอันตรายต่างๆทีจ่ ะบังเกดิ ขนึ้ ให้คลาดแคล้วจาก บาปเคราะหแ์ ละสงิ่ ช่ัวร้ายทงั้ มวลกอ่ ให้เกิดขวญั และกาลงั ใจในการ ดารงชีวิตรว่ มกนั ของคนในสังคม ซง่ึ จะมผี ลสง่ ให้บา้ น เมืองมีความ สงบสุขและมคี วามอุดมสมบูรณส์ ืบไป

ประเพณีย่เี ปง็ ย่เี ปง็ เปน็ งานประเพณี อนั ยิง่ ใหญแ่ ห่งดินแดนล้านนา ทีไ่ ด้ปฎบิ ัติ สบื ทอดกนั มาตงั้ แต่ครัง้ โบราณกาลหรอื วนั เพญ็ เดอื นยขี่ องชาว ] ล้านนา ตรงกบั วนั เพ็ญเดอื น 12 ของภาคกลาง อันเป็นชว่ งปลาย ฤดูฝนต้นฤดหู นาวอากาศปลอดโปรง่ ทอ้ งฟ้าแจ่มใสธรรมเนียม ปฎบิ ัติของ ชาวล้านนาอยา่ งหนงึ่ นอกเหนอื จากการลอยกระทงใน แมน่ า้ ก็คอื การจดุ ประทปี โคมลอยขึน้ ไปสวา่ งไสวบนท้องฟ้าโดยมี คตคิ วามเชอ่ื ว่า เพ่อื บูชาพระเกตแุ ก้วจุฬามณี บนสรวงสวรรค์ หรอื บา้ งกเ็ ช่ือว่าเปน็ การลอยเคราะห์ หรอื สะเดาะเคราะห์ใหเ้ กดิ ความ เป็นมงคลแกช่ ีวิต

ภาคกลาง ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณปี ระจาจังหวัดชลบุรี เป็นหนงึ่ ในประเพณีอนั เปน็ เอกลักษณข์ องจงั หวัด ชลบรุ ีท่ีมกี ารจัดมากวา่ 100 ปแี ล้ว ประเพณวี งิ่ ควาย เป็นประเพณีทจ่ี ดั ขน้ึ เป็นประจาทกุ ปี ในวันขนึ้ 14 ค่า เดอื น 11 หรอื กอ่ นออกพรรษา 1 วนั เพ่อื เปน็ การทาขวญั ควายและให้ ควายได้พกั ผ่อนหลังจากตรากตรากับการงานในท้อง นามายาวนาน นอกจากนป้ี ระเพณีว่ิง ควายยงั เป็นการแสดงความกตญั ญูรู้คณุ ต่อควายท่เี ป็น สตั วม์ บี ญุ คณุ ตอ่ ชาวนาและคนไทยอีก ทัง้ ยงั เพ่อื ให้ชาวบ้านไดม้ โี อกาสพักผอ่ น มาพบปะสังสรรคก์ นั ในงานวิง่ ควาย เพือ่ ให้ สอดคลอ้ งกบั ความเชื่อทีว่ ่า หากปีใดไม่มีการวง่ิ ควายปีนน้ั ควายจะเปน็ โรคระบาดกันมาก

ประเพณีว่ิงควาย เป็นพิธอี อ้ นวอนขอฝน ซ่งึ จาจัดทาขน้ึ ในปีใดที่ท้องถ่นิ แหง่ แลง้ ฝน ไมต่ กตอ้ งตามฤดูกาล สาเหตุทฝ่ี นไม่ตก ทา่ นผรู้ ้กู ลา่ วไวว้ า่ นา้ ฝนน้ันเป็นน้าของเทวดา ดังมศี ัพท์บาลีว่า เทโว ซ่ึง แปลวา่ น้าฝน เป็นเอกลักษณข์ องความดี ความบริสทุ ธิ์ สง่ิ แวดล้อมเปน็ พษิ มากๆ ควนั และ ละอองเขมา่ น้ามนั ห่อหุ้มโลกทาให้เป็นภัยแก่มนุษย์ ผูท้ ่ีจะลา้ งอากาศไดท้ าให้ละอองพษิ พวก นนั้ ตกลงดิน ทาให้อากาศสะอาดคอื \"เทโว\" หรือ \"ฝน\" นั่นเอง ดังจะเห็นได้จากเมอ่ื ฝนหยดุ ตกใหม่ๆ อากาศจะสดชืน่ ระงมไปดว้ ยเสยี งของกบ เขียด

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ประเพณีบุญบั้งไฟ เปน็ ประเพณีท่ีนยิ มทากนั ในเดอื น ๖ การจัดทาบุญบัง้ ไฟขน้ึ เพอื่ บูชาอารกั ษ์หลักเมอื ง เป็นประเพณีทาบุญขอฝนจาก พญาแถนเพ่ือใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดกู าลบา้ ง คนหรอื วัวควายอาจเกดิ ปว่ ยเปน็ โรคต่างๆ บ้างเปน็ ตน้ และเม่อื ทาบญุ ดงั กล่าวแล้ว กเ็ ชอ่ื ว่าฟา้ ฝนจะอดุ มสมบรู ณ์ ประชาชนในหมบู่ ้านน้ันจะอยู่เยน็ เป็นสขุ เพราะมอี าหารข้าวปลาที่บริบรู ณ์ ท้ังปราศจากโรคภยั ด้วย “ ฮีตหนง่ึ นัน้ เถงิ เดือนหกแล้วใหน้ าเอาน้าวารีสรงโสก ฮดพระพทุ ธรูปเหนอื ใต้สู่ภาย อย่าได้ ละเบย่ี งบา้ ยปัดป่ายหายหยุด มนั สิสูญเสยี ศรตี า่ ไปเมอื หน้า จงพากันทาแท้แนวคองฮตี เก่า เอาบุญไปเรื่อยๆ อยา่ ถอย หน้าหากสเิ สยี ”

ประเพณีแห่ผีตาโขน ประเพณีแห่ผตี าโขนจดั เปน็ ส่วนหนึง่ ในงานบุญประเพณใี หญห่ รอื ท่เี รยี กวา่ \"งานบญุ หลวง\" หรอื \"บุญผะ เหวด\" ซึง่ ตรงกบั เดือน 7 มขี ้ึนที่อาเภอด่านซา้ ย จงั หวดั เลย และจัดเป็นการละเล่นทีถ่ ือเปน็ ประเพณที ุกปี เก่ียวโยงกบั งานบุญพระเวสหรือเทศน์ มหาชาติ ประจาปกี บั พระธาตศุ รีสองรกั ปชู นียสถานสาคญั ของชาว ดา่ นซ้าย เป็นอีกหน่ึงประเพณที ีม่ ชี อื่ เสยี งและขน้ึ ช่ือของจังหวัดเลย โดยมีกระบวนแหผ่ ตี าโขนโดยแต่งกาย คล้ายผีและปศี าจใส่หน้ากากขนาดใหญท่ เี่ ป็นเอกลักษณ์มลี วดลายท่ีงดงามแตกต่างกนั ไป แสดงการละเลน่ เต้นรากนั อยา่ งสนุกสนานในขบวนแหง่ ที่แห่ยาวไปตามทอ้ งถนน

ภาคใต้ ประเพณแี ห่ผา้ ขึ้นธาตุ ในสมัยท่ีพระเจา้ ศรีธรรมโศกราชเป็นกษตั ริย์ครองตามพรลงิ ค์(นครศรีธรรมราช) อยู่นนั้ ได้มี การบูรณะปฏสิ งั ขรณ์พระบรมธาตเุ จดยี ์ครั้งใหญแ่ ละแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๑๗๗๓ ขณะท่เี ตรียม สมโภชพระบรมธาตุอยู่นั้น ชาวปากพนงั มากราบทลู ว่า คล่นื ได้ซัดเอาผ้าแถบยาวผืนหน่งึ ซึ่งมี ภาพเขียนเรอ่ื งพุทธประวตั ิมาขน้ึ ทีช่ ายหาดปากพนงั ชาวปากพนังเก็บผา้ นั้นถวายพระเจา้ ศรี ธรรมโศกราช พระองค์รับสั่งให้ซักผา้ นัน้ จนสะอาดเหน็ ภาพวาดพทุ ธประวัติ เรียกวา่ ผ้าพระ บฏ จงึ รบั สั่งให้ประกาศหาเจ้าของ ได้ความว่าชาวพทุ ธจากหงสากลุ่มหน่ึง จะนาผา้ พระบฏไป บชู าพระพทุ ธบาททล่ี ังกา แต่ถูกพายพุ ดั พามาข้ึนชายฝ่งั ปากพนัง เหลือผรู้ อดชวี ิตสิบคนพระ เจา้ ศรธี รรมโศกราชทรงมีความเหน็ วา่ ควรนาผ้าพระบฏไปห่มพระบรมธาตเุ จดยี ์ เน่ืองใน โอกาสสมโภชพระบรมธาตุ แม้จะไมใ่ ชพ่ ระพทุ ธบาทตามทต่ี ัง้ ใจ แต่กเ็ ปน็ พระบรมสารรี ิกธาตุ ซ่ึงเจา้ ของผ้าพระบฏกย็ นิ ดี การแห่ผ้าข้นึ ธาตจุ ึงมีขนึ้ ตงั้ แตป่ ีนัน้ และดาเนินการสืบตอ่ มา จน กลายเป็นประเพณสี าคัญของชาวนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน

ประเพณีลากพระ เป็นประเพณสี าคญั หนึง่ ของภาคใต้ จัดขนึ้ ในวันแรม 1 ค่า เดือน 11 (หลงั วันออกพรรษา) เป็น เรอ่ื งราวตามพทุ ธประวัตใิ นตอนทพ่ี ระพุทธองคเ์ สด็จกลับจากดาวดึงส์ ซง่ึ ชาวเมอื งไดอ้ ัญเชญิ พระ พุทธองคข์ ้ึนประทบั บนบษุ บก แลว้ แหแ่ หนไปยังท่ปี ระทบั ของพระพุทธองค์ จากเหตกุ ารณค์ รง้ั นั้น ได้ถือเปน็ ประเพณีลากพระ หรือชักพระสืบมา ตอ่ มาเมือ่ มกี ารสร้างพระพทุ ธรูปขนึ้ จงึ นา พระพทุ ธรปู มาแห่แทนพระพทุ ธองค์ ซงึ่ แต่ละทอ้ งถ่ินกม็ ีการลากพระต่างกัน มีทั้งการลากพระ ทางน้า และการลากพระพระทางบก ขน้ึ อย่กู ับท่ตี งั้ ของชุมชนว่าต้ังอย่ใู กล้กับการคมนาคมทางใด หากอยใู่ กล้น้ามกั จัดการลากพระทางนา้ หากอยไู่ กลจากนา้ มักลากพระทางบก ประเพณลี ากพระของวัดโคกเหรยี ง มีความโดดเดน่ ในเร่ืองเรือพระ เพราะประยุกตใ์ หเ้ กิดความ สวยงามทงั้ ในเรือ่ งรูปแบบศลิ ปะ การรักษาขนบตามความเชอ่ื และการนาครอ่ื งยนตก์ ลไกมาใช้ ซึง่ วดั และชาวบ้านได้ร่วมกนั สรา้ งและตกแต่งอยา่ งวิจิตรงดงาม นอกจากแสดงให้เห็นถงึ ศรทั ธาท่มี ี ต่อศาสนาแลว้ ยังแสดงถึงพลังสามัคคีของชุมชนท่ีร่วมมือกนั สรา้ งเรือพระจนถึงการลากเรือพระ ซง่ึ ต้องอาศยั คนจานวนมาก และยงั เกดิ ความสุข ความสนุกสนานจากการได้พบปะพูดคุย หยอกล้อกนั

สมาชิก นางสาวฐาปนี คาเกษ รหัสนกั ศกึ ษา 59101205104 นายอภวิ ัฒน์ ฝา่ ยเทศ รหัสนกั ศึกษา 59101205117 นางสาวกิ่งกาญจน์ เหมือนเดช รหสั นักศึกษา 59101205122 นางสาวธันยพร กั้วมาลา รหสั นักศึกษา 59101205126 นางสาวภัคนนั ท์ ไชยนา รหสั นกั ศกึ ษา 59101205132 นางสาวพิยดา หตั ถสาร รหัสนักศกึ ษา 59101205133 คณะครุศาสตร์ สาขาสังคมศึกษา ชน้ั ปีท่ี 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook