46 2. ใหผ ูเรียนแลกเปลีย่ นเรียนรถู ึงอาชีพในทองถิ่น ประโยชน และความสําคัญของอาชีพตาง ๆ รวมทง้ั ความสัมพันธข องการประกอบอาชพี ตอความเจริญของสังคมท่ีอาศัยอยู โดยใชกิจกรรม การเรียนรู ตอ ไปนี้ 1) ถาผเู รยี นเลือกประกอบอาชพี จะเลือกอาชพี อะไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2) ถาประชาชนทุกคนในชุมชน มีอาชีพ มีรายได จะมผี ลตอประเทศชาตอิ ยางไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3) ถาใหเลือกประกอบอาชีพท่ีสุจริต รายไดนอย กับการคาของผิดกฎหมายซ่ึงมีรายไดดี ผเู รยี นจะเลือกอาชีพอะไร พรอ มใหเ หตผุ ลประกอบ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 51 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
47 บทท่ี 5 การวิจัยอยางงา ย การวิจัยอยางงาย เปนเรื่องที่มุงใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับความหมาย ความสําคัญของการวิจัยอยางงาย การฝกทักษะ กระบวนการและขั้นตอนของการ ดําเนินงาน ไดแก การระบุกําหนดปญหาที่ตองการหาความรู ความจริง หรือสิ่งที่ตองการ พัฒนา การแสวงหาความรูจากการศึกษาเอกสาร ผูทรงคุณวุฒิ ภูมิปญญาทองถิ่น แหลง เรียนรู ทดลอง การนาํ ขอมูลที่ไดมาหาคําตอบที่ตองการ การเขียนรายงานสรุปผล และการ นําความรูไปปฏิบัติจริง เร่ืองท่ี 1 ความหมายและประโยชนของการวิจัยอยางงาย ความหมายของการวจิ ัยอยา งงาย การวจิ ัยอยา งงาย หมายถึง การศึกษา คนควา เพือ่ หาคําตอบของคาํ ถามทส่ี งสยั หรอื หาคําตอบมาใชในการแกป ญหา โดยใชวิธีการ และกระบวนการตาง ๆ อยา งเปน ระบบ เพื่อให ไดคําตอบท่ีนา เชอ่ื ถือ ความสําคัญของการวิจยั อยา งงาย 1. ทาํ ใหผูว จิ ัยไดร ับความรใู หม ๆ 2. การวิจัยชวยหาคําตอบทีผ่ วู จิ ยั สงสยั หรือแกป ญหาของผวู ิจยั 3. การวจิ ยั ชว ยใหผูวิจัยทราบผลการดําเนนิ งาน และขอ บกพรองระหวางการดําเนินงาน 4. การวจิ ัยชวยใหผวู จิ ยั ไดแนวทางพฒั นาการทํางาน 5. การวจิ ัยชว ยใหผวู ิจยั ทํางานอยา งมีระบบ 6. การวิจยั ชว ยใหผ วู จิ ยั เปนคนชางคิด ชางสงั เกต 52 ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ
48 ประโยชนของการวิจยั อยา งงา ย ประโยชนต อ ผูวิจยั 1. เปนการพฒั นาความคดิ ใหเปนระบบ คดิ เปน ขั้นตอน ใชก ระบวนการทีเ่ ปนเหตุ เปน ผล 2. เปน การพฒั นากระบวนการสรางความรูอยางเปนระบบ 3. ฝก ใหผวู ิจัยเปนคนชา งสังเกต มีทกั ษะการจดบันทึก และสรปุ ความ ประโยชนต อ ชุมชน 1. สมาชิกในชมุ ชนมีความรู เขาใจสภาพปญ หา และสามารถวิเคราะหหาวธิ กี าร แกป ญหาไดอ ยา งเปน ระบบ 2. สามารถใชก ระบวนการวจิ ยั หรอื ผลการวจิ ยั มาเปนแนวทางการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตในดา นตาง ๆ ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 53 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธุ์
49 เรอ่ื งท่ี 2 กระบวนการและขนั้ ตอนของการวิจัยอยางงาย ขน้ั ตอนของการวจิ ัยอยา งงา ย ขัน้ ตอนของการวิจัยอยา งงาย ประกอบดวย 5 ข้ันตอน ดังนี้ 1. ขั้นตอนการระบุปญหาการวิจัย เปนขั้นตอนการเลือกเร่ืองท่ีสนใจหรือเปน ปญหาท่ีตองการแกไ ข มากาํ หนดเปน คําถามการวจิ ยั 2. ข้นั ตอนการเขียนโครงการวิจัย เปนการเขียนแผนการวิจัย โดยจะตองเขียนให ครอบคลุมในหัวขอ ดงั น้ี 1) ชือ่ โครงการวิจยั เปนการเขียนบอกวา ศกึ ษาอะไร กบั ใคร อยา งไร และที่ ไหน 2) ช่อื ผวู จิ ัย บอกชือ่ ของผทู ําวจิ ยั 3) ความเปนมาและความสําคัญ เปนการเขียนใหเห็นถึงประเด็นปญหา และ นาํ ไปสูว ตั ถุประสงคของการวิจยั 4) วัตถุประสงคของการวิจัย เปนการเขียนในลักษณะท่ีบงบอกวา ผูวิจัย ตอ งการรูอะไร หรือจะทําอะไร เพ่ือใหไดคาํ ตอบของการวิจัย โดยมีหลักการเขียนวัตถุประสงค ของการวจิ ัย ดงั นี้ (1) ตอ งสอดคลองกับชือ่ เร่อื ง ความเปนมาและสภาพปญหา (2) ครอบคลมุ สงิ่ ท่ตี องการศกึ ษา (3) เขียนเปนประโยคบอกเลา สนั้ กะทัดรัด ไดใจความ และชดั เจน 5) วิธีการดําเนินการวิจัย เปนการวางแผนเกี่ยวกับวิธีการและกระบวนการเร่ิม ต้งั แตการเก็บขอมูล การวิเคราะหขอ มูล รวมไปถึงการนาํ เสนอผลการวิเคราะหขอมูล เพื่อใหได คําตอบของปญ หา 6) ปฏิทินปฏิบัติงาน และแผนการดําเนินงานเปนการเขียนระบุวาการ ดําเนินการวจิ ยั ครัง้ นี้ จะใชเ วลานานเทา ใด เริม่ ตนและสิน้ สดุ เม่อื ใด โดยระบกุ ิจกรรมท่ีทําและ สถานทที่ ี่ใชใ นการวิจยั ใหช ัดเจน 54 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธุ์
50 7) ประโยชนของการวิจัย เปนการบอกวา เม่ือไดคําตอบของการวิจัยมาแลว จะสามารถนําไปแกปญหา หรือพัฒนางานไดอยา งไร 3. ข้ันตอนการดําเนินการวิจัย เปนการดําเนินการวิจัยตามแผนท่ีกําหนดไวใน โครงการวิจัย ซ่ึงจะตองคาํ นงึ ถึงองคป ระกอบ ดังน้ี 1) กลุมตวั อยา ง เปนการกําหนดวา จะศึกษาใคร 2) เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เปนการสรางเคร่ืองมือ เพ่ือไปเก็บขอมูลมา วเิ คราะห มี 3 ประเภท คอื แบบสังเกต แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ 3) การเก็บรวบรวมขอมูล ในสวนน้ีกลาวถึงขั้นตอนตาง ๆ ในการเก็บรวบรวม ขอ มูล ตง้ั แตการเกบ็ ขอ มลู ดวยตนเอง หรอื สง ทางไปรษณยี ตลอดจนการกระทําตาง ๆ หลังจาก เกบ็ ขอมลู ไดแ ลว เชน การตรวจนบั ใหคะแนน เปน ตน 4) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล จะกลาวถึงสถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล มีสถิติ พื้นฐานใดบา ง เชน คาเฉลี่ย รอยละ 4. ขัน้ ตอนการรายงานผลการวิเคราะหขอมูล เปนการกลาวถึงผลของการวิจัย โดยการวเิ คราะหตามจุดประสงค ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย อาจนําเสนอเปน ขอความ ตวั เลข ตาราง แผนภมู ิ หรือแผนภาพ เพ่อื ใหผ ูอา นเขาใจมากข้นึ 5. ขน้ั ตอนการสรุปผลการวจิ ัยและขอ เสนอแนะ เปน การสรุปผลตามวตั ถุประสงควา ไดผ ลการวิจัยตามวัตถุประสงคทตี่ ัง้ ไวห รือไม และมีขอเสนอแนะของการวิจยั อยางไร ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 55 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ
51 เรือ่ งที่ 3 การเขียนโครงการวิจัย ความสําคญั ของโครงการวจิ ัย โครงการวิจัย คือ แผนดําเนินการวิจัย ท่ีเขียนข้ึนกอนการทําวิจัยจริง เพ่ือใชเปน แนวทางดาํ เนินการวิจยั สําหรับผูวจิ ัย และผูเกี่ยวขอ ง ใหเ ปนไปตามแผนการวจิ ยั ทก่ี ําหนด องคป ระกอบของโครงการวิจยั โดยทั่วไป โครงการวจิ ัยประกอบดว ยหัวขอ ดงั ตอไปนี้ 1. ชื่อเรอ่ื งการวจิ ยั การเขยี นชื่อเร่ือง ควรส่อื ความหมายที่ชัดเจน อานแลวทราบ ไดท นั ทวี า เปน การวจิ ยั เก่ยี วกับปญหาอะไร 2. ช่ือผูวิจัย บอกช่ือของผทู าํ วจิ ยั 3. ความเปน มาและความสําคญั การเขยี นความเปน มาและความสําคัญ เปนการ เขยี นระบุใหผอู านทราบวา ทําไมจึงตองทําการวิจัยเรื่องนี้ ควรกลาวถึงสภาพปญหาใหชัดเจน หากปญหาดังกลาว ไดแกไ ขโดยวธิ กี ารวิจยั แลว จะเกิดประโยชนอ ยางไร 4. วตั ถุประสงคข องการวจิ ัย เปนการระบุใหผูอานทราบวา การวิจัยน้ีผูวิจัยตอง การศึกษาอะไร กับใคร และจะเกิดผลอยางไร 5. วิธีดาํ เนินการวิจยั เปน การอธบิ าย วิธีการศึกษา หรือวิธีการดําเนินงาน อยาง ละเอียด ควรครอบคลุมหวั ขอ ดังตอไปน้ี 1) กลุม เปา หมายทีต่ องการศึกษา 2) เครอื่ งมือท่ใี ชใ นการวจิ ัย 3) การรวบรวมขอ มูล 4) การวิเคราะหข อมูล 6. ปฏิทินปฏิบัติงาน เปนการเขียนข้ันตอนการดําเนินการวิจัยโดยละเอียด และ ระยะเวลาการดาํ เนนิ การแตล ะขน้ั ตอน 7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ กลาวถึง ผลของการวิจัยวา จะเกิดผลที่เปน ประโยชนใ นการนําไปใชแกป ญ หา หรอื พฒั นางานอยา งไร 56 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
52 กิจกรรมทา ยบทที่ 5 คําชแ้ี จง ใหผ เู รยี นตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ประโยชนท ่จี ะไดรบั จากการทาํ วจิ ยั อยางงาย …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. บอกสถิติทีใ่ ชใ นการวจิ ัยอยา งงาย …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………............................................................................................................. 3. บอกขน้ั ตอนและกระบวนการของการวจิ ัยอยางงา ย มาใหเ ขา ใจ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. บอกเครอ่ื งมือทใี่ ชในการวิจยั อยา งงาย …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 57 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
53 5. ผเู รยี นเขยี นโครงการวิจัยอยา งงาย ตามข้ันตอน ดังตอไปน้ี 1) ช่ือเรอื่ ง/ปญ หาการวิจัย ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2) ชื่อผูวิจยั ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3) ความเปนมาและความสาํ คัญ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...............................................................................................……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………........... 4) วัตถปุ ระสงคข องการวจิ ยั ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 5) วธิ ดี ําเนินการวจิ ยั …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 58 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ
54 6) ปฏทิ ินการปฏิบัตงิ าน วัน/เดอื น/ป กจิ กรรม สถานทีด่ าํ เนินการ ………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………… ………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………… ………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………… ………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………… ………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………… 7) ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 6. ยกตวั อยาง การทําวจิ ยั อยา งงายในงานอาชพี ท่ีสนใจ ตามกระบวนการ ขั้นตอนที่ศกึ ษามา 1. เร่อื ง ................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... 2. การดาํ เนนิ การวจิ ัย 1) กลมุ ตวั อยาง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2) เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 59 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
55 3) การเก็บรวบรวมขอมูล ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4) สถติ ทิ ี่ใชใ นการวเิ คราะหขอมลู ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. การรายงานผลการวเิ คราะหข อมลู ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4. การสรปุ ผลการวจิ ัยและขอเสนอแนะ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 60 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ
56 บทท่ี 6 ทักษะการเรียนรูและศักยภาพหลัก ของพน้ื ท่ใี นการพัฒนาอาชีพ ปจ จุบนั โลกมกี ารแขง ขนั ในการประกอบอาชพี กนั มากขน้ึ ผทู ีจ่ ะประสบความสําเร็จใน การประกอบอาชีพ ตองมีการศึกษา คนควาหาความรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ และมีทักษะ พื้นฐานท่ีจําเปนตอการประกอบอาชีพ เชน ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการ แกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู ทักษะการบริหารและการ จัดการ ตามที่ไดเรียนรูมาแลวในบทที่ 1 - 5 และในบทเรียนน้ี ผูเรียนจะไดเรียนรูเพิ่มเติม ในเร่อื งการมีทกั ษะการเรยี นรูและศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ ซ่ึงเปนอีกทักษะ หนึ่งทสี่ าํ คญั ในการตดั สินใจเลือกประกอบอาชีพ เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของศกั ยภาพหลักของพน้ื ท่ใี นการพฒั นาอาชพี ศักยภาพหลักของพื้นที่ คือ การเรียนรูถึงขอมูลหลักที่สําคัญในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพน้ัน ๆ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม การประกอบอาชพี ตองคาํ นึงถงึ สภาพแตล ะพื้นท่ี ที่มีความแตกตางกัน และมีความตองการของ ทองถน่ิ ไมเหมอื นกนั ความสําเร็จของการประกอบอาชีพในพื้นที่หนึ่ง อาจไมใชความสําเร็จใน อีกพนื้ ทหี่ น่งึ ดังน้ัน หลักการพ้ืนฐานท่ีตองคํานึงถึงศักยภาพ และบริบทของพ้ืนที่ที่แตกตางกัน จงึ จําเปนตอ งเนนการเรยี นรกู ารประกอบอาชีพ ใหสอดคลองกับหลักการพื้นท่ี และการพัฒนา ใน 5 ศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี และ 5 กลุมอาชีพใหม คือ กลุมอาชีพดานการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ โดยเนน ศกั ยภาพตามธรรมชาติของแตละพน้ื ที่ ไดแก 1) ศกั ยภาพหลักของทรพั ยากรธรรมชาติในแตละ พืน้ ท่ี 2) ศกั ยภาพของพน้ื ทต่ี ามลักษณะภูมิอากาศ 3) ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลท่ีต้ัง ของแตละพืน้ ท่ี 4) ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี องคค วามรู ภูมปิ ญญา และวิถีชีวิต ของแตละพื้นที่ และ 5) ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตละพื้นท่ี ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 61 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ
57 เรื่องท่ี 2 การวเิ คราะหศกั ยภาพหลกั ของพนื้ ท่ีในการพฒั นาอาชพี 1. ศกั ยภาพหลักของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพน้ื ที่ หมายถงึ สงิ่ แวดลอมตาง ๆ ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน นํ้า ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ และพลังงาน เปนตน การแยกแยะเพื่อนําเอาศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นท่ี มาใชประโยชนในการประกอบอาชีพ ตองพิจารณาวา ทรพั ยากรธรรมชาติทอี่ ยใู นพ้ืนทน่ี ั้น ๆ มีอะไรบาง เพียงพอหรือไม ถาไมมี ก็ตองพิจารณาใหม วา จะประกอบอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกไวหรือไม เชน ตองการผลิตน้ําแรธรรมชาติจําหนาย แตใน พ้นื ที่ไมม ตี าน้าํ ไหลผาน และไมส ามารถขุดนํา้ บาดาลได ก็ตอ งพิจารณาตอไป ถาตองการอาชีพนี้ เพราะเหน็ วามีคนนยิ มดมื่ น้าํ แรมาก ประกอบกับตลาดยังมคี วามตอ งการเชน กัน กต็ อ งพิจารณา อีกวา การลงทุนหาทรัพยากรน้ําและแรธาตุ มาใชในการผลิตนํ้าแร จะเสียคาใชจายคุมทุน หรอื ไม 2. ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะภูมอิ ากาศ หมายถึง ลักษณะของลม ฟา อากาศ ท่ีมีอยูประจําทองถิ่นใดทองถ่ินหนึ่ง โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ยของอุณหภูมิประจําเดือน และ ปรมิ าณนาํ้ ฝนในชว งระยะเวลาตา ง ๆ ในรอบป เชน ภาคเหนือของประเทศไทย มีอากาศหนาว เย็น หรือรอนช้ืนสลับกับฤดูแลง อาชีพทางการเกษตร ท่ีทํารายไดใหประชากร ไดแก การทํา สวน ทําไร ทาํ นาและเลยี้ งสัตว หรือภาคใตม ฝี นตกตลอดท้ังป เหมาะแกการเพาะปลูกพืชเมือง รอน ที่ตองการความชุมชื้นสูง เชน ยางพารา ปาลมนํ้ามัน เปนตน เพราะฉะนั้นการประกอบ อาชพี อะไรก็ตาม จําเปน ตอ งพิจารณาถึงสภาพภูมอิ ากาศดวย 3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลท่ีต้ังของแตละพ้ืนท่ี หมายถึง ลักษณะพ้ืนที่ และทําเลทีต่ ง้ั ในแตล ะจังหวดั ซึง่ มลี ักษณะแตกตางกนั เชน เปนภูเขา ท่ีราบสูง ท่รี าบลุม ที่ราบ ชายฝง สิ่งทค่ี วรศึกษา เชน ขนาดของพื้นที่ ความลาดชัน และความสูงของพืน้ ท่ี เปนตน รวมถึง การผลิต การจาํ หนาย หรือการใหบรกิ าร ตองคํานึงถงึ ทาํ เลทต่ี ้ังทีเ่ หมาะสม 4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ ประเทศ ไทยมีสภาพภมู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติที่แตกตางกันออกไปในแตละภาค จึงมีความแตกตางกัน ในการดํารงชีวิต ท้ังดานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และการประกอบ 62 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธ์ุ
58 อาชพี ถึงแมว า คนไทยสว นใหญ มีวิถีชวี ิตผกู พนั กับการเกษตร ถึงรอยละ 80 แตก็ควรพิจารณา เลอื กอาชีพท่เี หมาะสมกบั ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณใี หส อดคลอ งกับวถิ ชี ีวติ ของแตล ะพืน้ ที่ดวย 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยในแตละพื้นท่ี หมายถงึ การนําศักยภาพของแตละ บุคคลในแตล ะพนื้ ท่ีมาใชใ นการปฏบิ ัตงิ าน ใหเกดิ ประโยชนสูงสุด และสรางใหแตละบุคคลเกิด ทัศนคติที่ดีตออาชีพ องคกร ตลอดจนเกิดความตระหนักในคุณคาของตนเอง และเพื่อน รวมงาน ในประเทศไทยยังมีบุคคลอีกหลายกลุมท่ีสามารถปรับเปล่ียนวิถีชีวิต ความเปนอยู ตลอดจนการพัฒนาอาชพี ใหเหมาะสมกับยคุ สมัย โดยเฉพาะอาชีพดานเกษตรกรรม ปจจุบันมี การทําเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟน คืนธรรมชาตใิ หอ ุดมสมบูรณแ ทนสภาพดนิ เดมิ ทเี่ คยถกู ทําลายไป ทรัพยากรมนุษยเ ปน เรือ่ งทีส่ ําคญั ทต่ี อ งพิจารณาดําเนินการประกอบอาชีพ อยางเปนระบบ ใหส อดคลองกบั ความตองการของบุคคลในแตละพ้นื ท่ี จะเห็นไดวา การวเิ คราะหศ กั ยภาพตามหลักของพืน้ ท่ี ทง้ั 5 ดาน ดังกลา วขางตน มคี วามสําคัญและจําเปนตอการประกอบอาชพี ใหเ ขมแข็ง หากไดวิเคราะหศักยภาพของตนเอง อยางรอบดาน รวมถงึ ปจ จัยภายในตวั ตน และภายนอกของผูป ระกอบอาชีพ ถาวิเคราะหขอมูล ไดมากและถูกตอง ก็มโี อกาสเขาสกู ารประกอบอาชีพ ไดม ากยิง่ ขึ้น ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 63 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์
59 เรอื่ งที่ 3 ตวั อยางอาชพี ทสี่ อดคลอ งกบั ศกั ยภาพของพน้ื ท่ี กลุมอาชพี ใหมดา นเกษตรกรรม 1. กลมุ การผลิต เชน การปลูกไมด อกเพือ่ การคา การผลติ ปยุ อินทรีย ปยุ นา้ํ หมกั ชวี ภาพ 2. กลุมแปรรูป เชน การแปรรูปปลานิลแดดเดียว การแปรรูปทําไสกรอกจากปลาดุก การตากแหงและหมกั ดองผกั และผลไม 3. กลุมเศรษฐกจิ พอเพียง เชน การเกษตรแบบย่ังยืน การเกษตรแบบผสมผสานตาม แนวเกษตรทฤษฎีใหม และแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวอยา ง อาชพี การปลกู พชื ผกั โดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ ปจ จบุ นั การเพาะปลูกของประเทศไทย ประสบปญหาท่ีสําคัญคือ ดินขาดความอุดม สมบูรณ และปญหาแมลงศัตรูรบกวน เกษตรกรใชวิธีแกปญหาโดยใชยาฆาแมลง ซ่ึงเปน อนั ตรายตอ เกษตรกรผผู ลติ และผูบริโภค อีกท้งั ยงั เกิดมลพษิ ตอส่งิ แวดลอ ม รัฐบาลจงึ สง เสรมิ ให เกษตรกรปฏิบัติตามแนวทางการเกษตรธรรมชาติแบบย่ังยืน ตามแนวพระราชดําริ ซึ่งเปน แนวทางที่จะทําใหดินมีความอุดมสมบูรณ มีศักยภาพในการเพาะปลูก และใหผลผลิต ทีป่ ลอดภยั จากสารพิษตาง ๆ ดังน้ัน ผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการดําเนินตามแนว พระราชดําริ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัว โดยตองศึกษา และเรียนรูในเร่ืองหลักเกษตร ธรรมชาติ การปรับปรุงดิน โดยใชปุยอินทรีย และปุยชีวภาพ การปองกันและกําจัดศัตรูพืช โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ การทําสมุนไพร เพื่อปองกันและกําจัดศัตรูพืช ฝกปฏิบัติทําปุยหมัก ปุยนํ้าชีวภาพและนํ้าสกัดชีวภาพ ฝกปฏิบัติการเพาะกลา การจัดดอกไม การแปรรูปผลผลิต การเกษตร การวางแผนการปลูกพืชผัก โดยวิธีเกษตรธรรมชาติในอนาคต ฝกจนเกิดทักษะ จะไดอ าชีพทหี่ ลากหลาย จากแนวทางเกษตรธรรมชาตแิ บบย่ังยนื 64 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธุ์
60 ตวั อยา ง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพน้ื ทท่ี ่สี อดคลอ งกบั อาชพี การปลกู พชื ผักโดยวิธีเกษตร ธรรมชาติ ที่ ศักยภาพ 5 ดา น รายละเอียดทค่ี วรพจิ ารณา 1 การวเิ คราะหท รัพยากรธรรมชาติ - ดนิ มีความอดุ มสมบูรณ ไมม แี มลงศัตรูพืช ในแตล ะพน้ื ท่ี รบกวน - มีแหลง น้าํ และลกั ษณะพืน้ ท่ีเปนท่ีราบลมุ อุดม สมบูรณ เหมาะสมในการทําการเกษตร 2 การวิเคราะหพน้ื ท่ีตามลกั ษณะ - ฤดูกาล ภูมิอากาศเหมาะสมตอการปลกู พืชผัก ภมู อิ ากาศ เชน มอี ากาศเย็น ไมรอนจดั 3 การวเิ คราะหภูมิประเทศ และ - เปนฐานการผลติ ทางการเกษตร มีแหลง ทาํ เลที่ตั้งของแตละพ้ืนท่ี ชลประทาน - ไมมคี วามเส่ยี งจากภัยธรรมชาติ ท่ีมผี ลตอ ความ เสยี หายอยา งรุนแรง - มีพ้นื ทีพ่ อเพียงเหมาะสม มีการคมนาคมสะดวก 4 การวเิ คราะห ศลิ ปะ วฒั นธรรม - มวี ิถีชีวติ แบบเกษตรกรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ของแตล ะ - ประชาชนสนใจในวิถธี รรมชาติ พ้นื ที่ 5 การวเิ คราะหทรพั ยากรมนษุ ย - มีภมู ิปญญา/ผูรู เก่ียวกบั เกษตรธรรมชาติ ในแตล ะพ้นื ท่ี - ไดรบั การสนบั สนุนจากหนว ยงานและชุมชน อยางมาก ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 65 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
61 กลมุ อาชพี ใหมด า นอุตสาหกรรม 1. กลมุ ไฟฟา และอเิ ล็กทรอนิกส เชน ชา งไฟฟา อตุ สาหกรรม ชา งเชื่อมโลหะดว ย ไฟฟาและแกส ชางเชอ่ื มเหลก็ ดดั ประตู หนาตาง ชางเดนิ สายไฟฟา ภายในอาคาร ชางเดินสาย และติดต้ังอปุ กรณไ ฟฟา ชางซอมแอร เปนตน 2. กลมุ สง่ิ ทอและตกแตงผา เชน การทําซิลคสกรีน การทําผามัดยอม การทําผาบาติก การทอผา ดวยกก่ี ระตกุ เปน ตน 3. กลุมเครื่องยนต เชน การซอมรถยนต และรถจักรยานยนต ชางเครื่องยนต ชา งเคาะตัวถังและพน สรี ถยนต เปนตน 4. กลุมศิลปประดิษฐ และอัญมณี เชน การแกะสลักวัสดุออนเบ้ืองตน การขึ้นรูป กระถางตน ไมดว ยแปน หมุน การทําของชาํ รวยดว ยเซรามกิ ผา ทอ การประดิษฐข องท่รี ะลกึ ทเี่ ปนเอกลักษณข องไทยจากผา หรอื โลหะ เปน ตน 5. กลุมอุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมการทองเท่ียว ธุรกิจโรงแรม รานอาหาร การคมนาคมขนสง เปน ตน ตัวอยาง อาชีพตัวแทนจําหนายที่พักและบริการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรมในกลมุ ประเทศภมู ิภาคอาเซียนโดยใชอนิ เทอรเนต็ ปจ จบุ นั ประชาคมโลกมีการตดิ ตอสือ่ สารกนั มากขึ้นอยา งรวดเรว็ คนในภูมิภาคกลุม ประเทศอาเซียน จะติดตอไปมาหาสูกันมากข้ึน แตละประเทศตางมีความสนใจเก่ียวกับ ประเพณี วฒั นธรรมของชาติเพอ่ื นบาน มคี วามตองการเรียนรูและทองเที่ยวกันมากข้ึน จนเกิด เปนธุรกิจการทองเท่ียวและอุตสาหกรรมบริการท่ีมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วท่ัวโลก กอใหเกิดรายไดเปนเงินตราตางประเทศ เขาประเทศเปนจํานวนมาก เมื่อเทียบกับรายไดจาก สนิ คาอื่น ๆ นอกจากน้ี ยังทําใหเ กดิ ธรุ กิจโรงแรม รา นอาหาร การคมนาคมและขนสง ขยายตัว ตามไปดวย การทองเที่ยว จึงถือวาเปนกิจกรรมการกระจายรายได และความเจริญสูภูมิภาค ตาง ๆ เกิดการสรางงาน สรางอาชีพ ใหแกชุมชนในทองถิ่น และยังเปนตัวกระตุน ใหเกิดการ ผลิต และการนาํ เอาทรพั ยากรธรรมชาตติ าง ๆ มาใชใหเ กิดประโยชนอยางเหมาะสม โดยอยูในรูป ของสินคา และบริการเกี่ยวกับการทองเที่ยว ดังนั้น การรวบรวมขอมูล นําเสนอ ใหบริการ เก่ียวกบั การทอ งเทีย่ ว โดยเปนตัวกลางระหวางผูประกอบการ กับผูใชบริการ หรือเรียกงาย ๆ วาเปน ตัวแทนใหเ ชาท่ีพัก และบริการทอ งเที่ยว ผูเรียนจึงควรมีความรู ความเขาใจ มีทักษะใน การส่ือสาร การเจรจาตอ รอง มีทักษะการใชอินเทอรเน็ต สาํ หรับการเปนตัวแทนจําหนาย และ 66 ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
62 เจตคติท่ีดี เก่ียวกับธุรกิจที่พัก และการใหบริการการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในกลุมประเทศ อาเซียน ตัวอยาง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพ้ืนทท่ี ่ีสอดคลอ งกบั อาชพี ตวั แทนจําหนา ยทพี่ กั และบรกิ ารทองเท่ียวฯ ที่ ศกั ยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณา 1 การวเิ คราะหทรพั ยากรธรรมชาติ - ขอ มูลของแหลง ทองเทีย่ ว ในแตล ะพ้ืนที่ 2 การวิเคราะหพ น้ื ทีต่ ามลักษณะ - มีบรรยากาศทีเ่ หมาะสมเปนแหลง ทองเทย่ี ว ภมู ิอากาศ 3 การวิเคราะหภมู ิประเทศ และทาํ เล - มีทาํ เลทต่ี ้ังอยูในชุมชน ทมี่ กี ารเดนิ ทางได ท่ตี ง้ั ของแตล ะพื้นท่ี สะดวก 4 การวิเคราะห ศลิ ปะ วัฒนธรรม - มที นุ ทางสงั คมและวัฒนธรรม การบรโิ ภคของ ประเพณี และวิถีชวี ติ ของแตละพน้ื ท่ี ตลาดโลกมีแนวโนมกระแสความนิยมสนิ คา ตะวนั ออกมากข้นึ - มศี ลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวถิ ีชวี ติ แบบ ด้งั เดมิ และเปนเอกลกั ษณ 5 การวิเคราะหทรพั ยากรมนุษยใ นแต - มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยที างการ ละพน้ื ที่ สอื่ สาร และสามารถสื่อสารภาษาตางประเทศ และภาษาในกลุมประเทศเพ่อื นบานอาเซยี น - มรี ะบบประกันสังคม และการคมุ ครองแรงงาน ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 67 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ
63 กลุมอาชพี ใหมดา นพาณิชยกรรม 1. กลมุ พัฒนาผลิตภณั ฑ เชน การออกแบบและการบรรจภุ ัณฑชมุ ชน การพฒั นา ผลติ ภณั ฑเ พอื่ ชมุ ชน การพัฒนาและออกแบบผลติ ภณั ฑ 2. การขายสินคา ทางอินเทอรเ น็ต การสรา งรานคา ทางอนิ เทอรเนต็ 3. กลุมผูประกอบการ เชน การประกอบธุรกิจชุมชน รานคาปลีกกลุมแมบาน และ วิสาหกจิ ชุมชน ตวั อยาง อาชพี การพฒั นากลมุ อาชพี ทอผา พนื้ เมือง ผาทอพน้ื เมอื งมีอยทู ่วั ทุกภูมิภาคของไทย มีลกั ษณะแตกตา งกัน ทง้ั การออกแบบ สีสัน และวัสดุ ที่ใช ขึ้นอยูกับทรัพยากรของพ้ืนที่นั้น ๆ เปนท่ีนิยมของคนท่ัวไป ท้ังคนไทยและ ตางประเทศ สําหรับใชเปนเคร่ืองนุงหมและของใชในชีวิตประจําวัน ปจจุบัน มีการผลิตผา พน้ื เมือง ในลักษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมีบริษทั รับจา งชางทอผา โดยกําหนดลวดลายให พรอมท้ังจัดเสนไหม เสนดายท่ียอมสีแลว มาใหทอ เพื่อเปนการควบคุมคุณภาพ และอีก ลักษณะหน่ึง จะมีคนกลางมารับซื้อผา จากชางทออิสระ ซึ่งหาวัสดุทําเองต้ังแตการปนดาย ยอมสี ทอตามลวดลายท่ีตองการ โดยทําที่บานของตนเอง แตคนกลางจะเปนผูกําหนดราคา ตามคณุ ภาพ และลวดลายของผาท่ีตลาดตอ งการ ในบางพ้ืนท่ีมีการรวมตัวกันเปนกลุมทําเปน อาชีพเสริม และจําหนา ยในลักษณะสหกรณ เชน กลุมทอผาของศูนยศิลปาชีพ หรือกลุมอื่น ๆ ในพื้นท่ี การทอผาพื้นเมือง สวนใหญจะออกแบบลวดลายเปนสัญลักษณ หรือเอกลักษณ ดั้งเดิม โดยเฉพาะชุมชน ท่ีมีเช้ือสายชาติพันธุบางกลุม ที่กระจายตัวกันอยูในภาคตาง ๆ ของ ประเทศไทย จนถึงปจจุบันน้ี มีเอกลักษณการออกแบบของตนเอง ถึงแมวาจะมีการพัฒนา ปรับเปลีย่ นสีสัน ลวดลาย ตามรสนยิ มของตลาด แตก ย็ ังมีบางสว นท่ีคงเอกลักษณของตนเองไว เพ่ือแสดงความชัดเจน ถึงชาติพันธุในแตละภูมิภาค ผูบริโภคสามารถเลือกซื้อไดอยาง หลากหลาย การแขงขันในดานการตลาดก็ยอมจะสูงขึ้น ดังนั้น ผูเรียนควรมีความรู ความสามารถ ทกั ษะและเจตคตติ อ อาชีพ และคาํ นึงถึงการวเิ คราะหส ภาพกลุมอาชีพและธุรกิจ อาชีพทอผาพ้ืนเมอื ง 68 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธุ์
64 ตวั อยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพืน้ ทท่ี ี่สอดคลอ งกบั อาชพี ทอผาพน้ื เมือง ที่ ศักยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดที่ควรพิจารณา 1 การวิเคราะหท รัพยากรธรรมชาติ - มีทรัพยากรธรรมชาติ ทพ่ี อเพียง สามารถ ในแตละพื้นที่ นาํ มาเปนวัตถุดบิ ได 2 การวเิ คราะหพื้นทต่ี ามลักษณะ - มีภมู อิ ากาศท่เี หมาะสม ภูมิอากาศ - มีขอ มลู ของภูมอิ ากาศอยูเสมอ 3 การวเิ คราะหภ ูมปิ ระเทศ และทาํ เล - เปน ศูนยกลางหตั ถอุตสาหกรรม ท่ีตั้งของแตล ะพ้นื ท่ี - มีพื้นท่ี ที่เอ้อื ตอการบริการดานการคา การลงทนุ และการทอ งเทย่ี ว เช่ือมโยงกบั ประเทศเพือ่ นบาน สามารถตดิ ตอ การคา ได - มีพ้ืนท่ชี ายแดน ตดิ ตอกบั ประเทศเพ่อื นบา น 4 การวเิ คราะห ศลิ ปะ วฒั นธรรม - มีแหลงอตุ สาหกรรมทเ่ี กีย่ วของ ทนุ ทางสังคม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ของแตล ะพ้ืนที่ และวฒั นธรรม 5 การวเิ คราะหท รัพยากรมนุษยในแต - มภี มู ปิ ญ ญาและทักษะฝม ือแรงงาน ละพื้นท่ี กลุมอาชพี ใหมดา นความคิดสรางสรรค 1. คอมพิวเตอรแ ละธุรการ ไดแก โปรแกรมตา ง ๆ ท่ใี ชกบั เครอื่ งคอมพวิ เตอร 2. กลุมออกแบบ เชน โปรแกรม Auto Cad เพื่องานออกแบบกอสราง ออกแบบ ชิน้ สว นทางอตุ สาหกรรม โปรแกรม Solid Work เพื่อใชเขียนแบบเครอ่ื งกล 3. กลุมงานในสํานักงาน เชน Office and Multimedia การจัดทําระบบขอมูลทาง การเงินและบัญชีดวยโปรแกรม Excel และโปรแกรมบัญชีสําเร็จรูป เพื่อใชในการทํางานทาง ธุรกิจ การใชคอมพิวเตอร ในสํานักงานดวยโปรแกรม Microsoft Office โปรแกรม Microsoft ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 69 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ
65 Access เปนโปรแกรม สําหรับการบันทึกฐานขอมูล เชน งานบุคลากร รายการหนังสือใน หอ งสมุด 4. กลุมชา งคอมพวิ เตอร เชน ชางซอ ม ชางประกอบ ชา งตดิ ตั้งระบบและบาํ รุงรกั ษา คอมพวิ เตอร ตัวอยาง อาชพี การสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) เพอ่ื ธุรกจิ ในยคุ ปจ จุบนั คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึ้น ธุรกิจ อุตสาหกรรม Animation เปนงานเก่ียวกับการสรางภาพเคลือ่ นไหว ทใ่ี หค วามบันเทิง และงาน สรางสรรคการออกแบบโดยการใชคอมพิวเตอร เปนอาชีพหนึ่งท่ีสามารถทํารายไดดี ท้ังใน ปจจุบันและอนาคต ผูเรียนที่สนใจ ควรมีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติเกี่ยวกับ ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนของความคิดสรางสรรค เทคนิคการคิดแบบสรางสรรค การกําจัดสิ่งกีดกั้นความคิดเชิงสรางสรรค ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับการสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) เพ่ือธุรกิจ การออกแบบช้ินงาน (Animation Workshop) ประโยชนและโทษ ของการใชคอมพิวเตอร จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ กฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบ อาชพี ซึ่งผปู ระกอบอาชีพทางดา นความคิดสรา งสรรค ควรหม่ันฝกฝนและพฒั นาความคิดอยาง ตอเน่ือง เพื่อสรางสรรคผลงานท่ีดี และมีศักยภาพดานทักษะสูงขึ้น จนสามารถสงผลงานเขา ประกวดแขง ขนั ได ตวั อยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพ้ืนทที่ สี่ อดคลอ งกบั อาชพี การสรา งภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) เพ่อื ธรุ กจิ ที่ ศกั ยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดท่ีควรพิจารณา 1 การวเิ คราะหทรพั ยากรธรรมชาติใน - แตละพืน้ ที่ 2 การวิเคราะหพ ้ืนทีต่ ามลกั ษณะ - ภูมอิ ากาศ 3 การวเิ คราะหภมู ิประเทศ และทาํ เล - ทต่ี ั้งของแตล ะพืน้ ที่ 70 ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ
66 ท่ี ศักยภาพ 5 ดา น รายละเอียดทีค่ วรพิจารณา 4 การวเิ คราะหศ ลิ ปะ วฒั นธรรม - มขี อ มูลเกย่ี วกบั ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี ประเพณี และวิถชี ีวติ ของแตล ะพน้ื ท่ี ทีผ่ สมผสานของหลากหลายพ้ืนที่ 5 การวเิ คราะหท รพั ยากรมนษุ ยใ นแต - มแี รงงานทมี่ ีทักษะฝม อื ความรู ความสามารถ ละพน้ื ท่ี ในการใชเ ทคโนโลยี - มกี ารสงเสริมโอกาสทางการศกึ ษาอยา ง ตอ เน่ือง หมายเหตุ บางอาชพี เมอื่ วเิ คราะหศ กั ยภาพแลว อาจไมมีรายละเอยี ดการพิจารณาครบท้ัง 5 ดาน กลุมอาชพี ใหมดา นบริหารจัดการและการบรกิ าร 1. กลมุ การทองเทีย่ ว เชน มคั คุเทศก พนักงานบริการอาหารและเคร่ืองด่ืม พนักงาน ผสมเครื่องดม่ื การทาํ อาหารวา งนานาชาติ การบรกิ ารทพ่ี ักในรปู แบบโฮมสเตย เปน ตน 2. กลุมสขุ ภาพ เชน การนวดแผนไทย นวดดว ยลูกประคบ สปาเพื่อสุขภาพ การดูแล เด็กและผสู ูงอายุ เปน ตน 3. กลุมการซอมแซมและบํารุงรักษา เชน การซอมเครื่องปรับอากาศ การซอม เคร่ืองยนตด ีเซล ซอมเคร่ืองยนตเบนซิน การซอมเครื่องยนตเล็กเพ่ือการเกษตร การซอมจักร อตุ สาหกรรม การซอ มเครือ่ งใช ไฟฟา เปน ตน 4. กลุมคมนาคมและการขนสง ไดแก อาชีพดาน Logistics หรือการขนสงสินคา ทางบก ทางอากาศและทางเรอื 5. กลุม ชา งกอ สราง เชน ชา งปูกระเบื้อง ชา งไม ชางปนู ชา งทาสี ชา งเชอ่ื มโลหะ 6. กลุมผลติ วัสดกุ อสราง เชน การทาํ บล็อกคอนกรีต เสาคอนกรตี เปนตน ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 71 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธ์ุ
67 ตัวอยาง อาชพี การบรกิ ารทพ่ี กั ในรูปแบบโฮมสเตย การบริการทีพ่ กั ในรปู แบบโฮมสเตย เปนการประกอบอาชีพธุรกจิ ในชุมชน โดยนําเอา ตนทุนทางสังคม คือ ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม มาบริหารจัดการ ไดแก ทุน ทรัพยากรบุคคล ทุนภมู ิปญ ญาและแหลง เรยี นรู ทุนทางวฒั นธรรม ทนุ งบประมาณของรัฐ และ ทนุ ทางความรู มาใชจ ัดกจิ กรรมการเรียนรู โดยมีเครือขายเขามามีสวนรวม และใชชุมชนเปน ฐาน ควบคกู ับการสรา งองคความรู เพ่อื เพ่ิมมูลคา จูงใจใหนักทอ งเทย่ี ว มาสัมผัสกับการทองเท่ียว เชิงอนุรักษ ในรูปแบบโฮมสเตย ดังนั้น ผูเรียนจึงตองเรียนรูในหลักการจัดโฮมสเตยใหเขาใจ ศึกษาหาความรู ในเรื่องท่ีเกี่ยวของกับสถานการณการทองเท่ียว นโยบายการทองเที่ยวของ ประเทศไทย ความรพู ืน้ ฐานและมาตรฐานการจัดโฮมสเตย การจัดกิจกรรมนําเท่ียว การตอนรับ นักทองเท่ียว การบริการและการเปนมัคคุเทศก วิธีการสรางเครือขายการทองเที่ยว การประกอบอาหาร การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร การทองเท่ียวและ การบริหารจัดการ องคความรูท่ีหลากหลายน้ี จะสามารถพัฒนาตนเอง และกลุมไปสูการ บรหิ ารจดั การทมี่ ีมาตรฐานเปน ไปตามหลักการ ของอาชีพการบริการที่พักสําหรับนักทองเท่ียว ในรูปแบบโฮมสเตย ตวั อยา ง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพ้ืนทที่ ่ีสอดคลอ งกบั อาชพี การบริการทพ่ี ัก ในรปู แบบโฮมสเตย ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอยี ดท่คี วรพิจารณา 1 การวเิ คราะหทรัพยากรธรรมชาติ - มีแหลงทอ งเที่ยวทเี่ ปนจุดสนใจ มีความแปลก ในแตล ะพน้ื ที่ ชวนใหผคู นมาเที่ยวพกั ผอ น และพกั คางคนื - มเี สนทางศกึ ษาธรรมชาตทิ นี่ าสนใจ - ใกลแหลงน้าํ นํ้าตก ทะเล มีทิวทัศนท ี่สวยงาม - ไมถกู รบกวนจากแมลง และสตั วอ น่ื ๆ 72 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ
68 2 การวิเคราะหพ น้ื ทต่ี ามลกั ษณะ - ภมู อิ ากาศไมแปรปรวนบอ ยมากนกั ภูมิอากาศ 3 การวิเคราะหภูมปิ ระเทศ และทาํ เล - มที าํ เลทีต่ งั้ อยูไมไกลเกนิ ไป เดนิ ทางไดสะดวก ที่ตงั้ ของแตล ะพ้นื ท่ี - ขอ มลู แตล ะพืน้ ทีท่ ีเ่ ลอื ก อยูใกลจุดทองเท่ียว หรอื ไม มคี วามปลอดภยั เพียงใด และมีคแู ขง ท่ี สําคญั หรอื ไม 4 การวเิ คราะห ศลิ ปะ วัฒนธรรม - เปน แหลง ทอ งเท่ียวทางวฒั นธรรม ทเ่ี ปน ประเพณี และวิถชี วี ิตของแตละพื้นท่ี ธรรมชาติ อยใู นพืน้ ที่ 5 การวเิ คราะหท รัพยากรมนุษยใ นแต - มีผปู ระกอบการ และแรงงานทมี่ ีความรู ละพ้ืนท่ี ความสามารถ - มีความรวมมอื จากชุมชนในดานการเปนมิตร กบั นกั ทอ งเท่ียวท่ีมาใชบรกิ ารทีพ่ กั ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 73 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ
กิจกรรมทายบทที่ 6 69 ใหผเู รียนรวมกลมุ และอภิปรายรว มกัน สรุป แลวนาํ เสนอในประเด็น 2 ขอ ดงั ตอไปน้ี 1. ศักยภาพหลักของพ้ืนที่ ในการพัฒนาอาชีพในชุมชนของตนเอง ควรจะเนนกลุมอาชีพใด เปนพิเศษ พรอมทั้งยกตัวอยา งอาชีพทสี่ อดคลอ งกับพืน้ ท่ี ประกอบดวย …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. กลมุ อาชีพ ดา นความคดิ สรางสรรคใ นชมุ ชนของตนเอง ควรจะเนนศักยภาพใดเปน พิเศษ เพราะเหตุใด …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 74 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์
แนวข้อสอบ ชดุ ท่ี 1
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 1. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คือขอ้ ใด ก. การเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนตอ้ งศึกษาเรียนรู้ ดว้ ยตนเองตามลาํ พงั ข. การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเริ่มตามที่ครูหรือบุคคลอนื่ บอกหรือแนะนาํ ค. กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนทาํ การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองตามลาํ พงั โดยไม่พ่งึ พาครูหรือผสู้ อน ง. กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการและความถนดั ตอบ ง. กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการและความถนดั อธิบาย/เหตผุ ล : กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรู้ดว้ ยตนเองตามความสนใจ ความตอ้ งการ และ ความถนดั มีเป้าหมายในการเรียนรู้ 2. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองมคี วามสาํ คญั อยา่ งไร ก. เป็นการเรียนรู้ทีด่ ีท่ีสุด ของการเรียนรู้ ท้งั หมด ข. เป็นการเรียนรู้ที่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของแต่ละบุคคล สู่การเรียนรู้ตลอดชีวติ ค. เป็นการเรียนรู้ จาํ เป็นตอ้ งเกิดในสถานศกึ ษาเท่าน้นั ง. เป็นการเรียนรู้ ที่ทาํ ใหผ้ เู้ รียนเป็นผทู้ ่ีมคี วามสามารถโดยไม่ตอ้ งพ่งึ พาใคร ตอบ ข. เป็นการเรียนรู้ที่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของแต่ละบุคคล สู่การเรียนรู้ตลอดชวี ิต อธิบาย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเองนบั ว่าเป็นคุณลกั ษณะท่ีดีท่ีสุดซ่ึงมอี ยใู่ นตวั บุคคลทุกคน ผเู้ รียนควรมี ลกั ษณะของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ดว้ ยตนเองจดั เป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอด ชีวติ ยอมรับในศกั ยภาพของผเู้ รียนว่าผเู้รียนทุกคนมคี วามสามารถที่จะเรียนรู้ส่ิงต่างๆ ได้ ดว้ ยตนเอง 3. ขอ้ ใดไม่ใช่แหลง่ เรียนรู้ ก. บา้ น ข. วดั ค. โรงเรียน ง. ถกู ทุกขอ้ ตอบ ง. ถกู ทกุ ขอ้ อธบิ าย/เหตผุ ล : แหลง่ เรียนรู้ หมายถึง ถนิ่ ที่อยู่ บริเวณ ศูนยร์ วม บ่อเกิด แห่ง ที่ ท่ีมีสาระเน้ือหาที่เป็น ขอ้ มลู ความรู้หรือองคค์ วามรู้ 76 ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 4. แหลง่ เรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถปุ ระสงค์ แบ่งเป็นก่ีกลมุ่ ก. 3 กลุ่ม ข. 4 กล่มุ ค. 5 กลุ่ม ง. 6 กล่มุ ตอบ ค. 5 กลุม่ อธิบาย/เหตผุ ล : แหล่งเรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถปุ ระสงค์ เป็น 5 กลมุ่ ดงั น้ี 1. กลมุ่ บริการขอ้ มูล ไดแ้ ก่ หอ้ งสมดุ อทุ ยานวิทยาศาสตร์ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ ศนู ยก์ ารเรียน สถานประกอบการ 2. กลมุ่ งานศิลปวฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ พิพิธภณั ฑ์ อทุ ยานประวตั ิศาสตร์ อนุสรณ์สถาน อนุสาวรีย์ ศูนยว์ ฒั นธรรม หอศิลป์ ศาสนสถาน เป็นตน้ 3. กลุม่ ขอ้ มลู ทอ้ งถิน่ ไดแ้ ก่ ภูมิปัญญา ปราชญช์ าวบา้ น สื่อพ้นื บา้ น แหล่งท่องเท่ียว 4. กลุม่ ส่ือ ไดแ้ ก่ วทิ ยุ วทิ ยชุ ุมชน หอกระจายข่าว โทรทศั น์ เคเบิลทีวี สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ อินเทอร์เน็ต หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) 5. กลมุ่ สนั ทนาการ ไดแ้ ก่ ศนู ยก์ ีฬา สวนสาธารณะ สวนพฤษศาสตร์ ศนู ยน์ นั ทนาการ 5. ขอ้ ใดไม่ใช่แหล่งเรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถุประสงค์ “กลมุ่ บริการขอ้ มูล” ก. หอ้ งสมุด ข. อทุ ยานวิทยาศาสตร์ ค. พพิ ธิ ภณั ฑ์ ง. ศนู ยก์ ารเรียน ตอบ ค. พพิ ธิ ภณั ฑ์ อธิบาย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 4 6. ขอ้ ใดคือแหล่งเรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถุประสงค์ “กลมุ่ งานศลิ ปวฒั นธรรม” ก. อุทยานประวตั ิศาสตร์ ข. ภูมปิ ัญญา ค. ปราชญช์ าวบา้ น ง. สื่อพ้นื บา้ น ตอบ ก. อุทยานประวตั ิศาสตร์ อธิบาย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 4 ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 77 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ
ระดบั ประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 7. ขอ้ ใดคือแหล่งเรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถุประสงค์ “กลุ่มสื่อ” ก. ศนู ยก์ ีฬา ข. สวนสาธารณะ ค. สวนพฤษศาสตร์ ง. โทรทศั น์ ตอบ ง. โทรทศั น์ อธิบาย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 4 8. ขอ้ ใดคือแหล่งเรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถุประสงค์ “กลุ่มสนั ทนาการ” ก. วิทยุ ข. ศนู ยน์ นั ทนาการ ค. หอกระจายข่าว ง. ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ตอบ ข. ศนู ยน์ นั ทนาการ อธบิ าย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 4 9. บุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถในดา้ นต่าง ๆ ที่สามารถ ถ่ายทอดความรู้ท่ีตนมอี ยใู่ หผ้ สู้ นใจหรือผตู้ อ้ งการ เรียนรู้ หมายถึงแหลง่ เรียนรู้ประเภทใด ก. แหลง่ เรียนรู้ประเภทบุคคล ข. แหล่งเรียนรู้ประเภทธรรมชาติ ค. แหล่งเรียนรู้ประเภทวตั ถแุ ละสถานท่ี ง. แหล่งเรียนรู้ประเภทสื่อ ตอบ ก. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล อธบิ าย/เหตผุ ล : ประเภทของแหล่งเรียนรู้จาํ แนกตามลกั ษณะ มี 6 ประเภท ดงั น้ี 1. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลที/มีความรู้ ความสามารถในดา้ นต่าง ๆ ที่ สามารถ ถา่ ยทอดความรู้ที่ตนมอี ยใู่ หผ้ สู้ นใจหรือผตู้ อ้ งการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ บุคคลท่ีมีทกั ษะ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชพี ต่าง ๆ รวมท้งั ผอู้ าวุโสท่ีมปี ระสบการณ์ พฒั นาเป็นภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ปราชญช์ าวบา้ น ภูมิปัญญาชาวบา้ น และภูมิปัญญาไทย 2. แหล่งเรียนรู้ประเภทธรรมชาติ หมายถงึ สิ่งต่าง ๆท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติและให้ ประโยชน์ต่อ มนุษย์ เช่น ดิน น้าํ อากาศ พืช สตั ว์ ป่ าไม้ แร่ธาตุ เป็นตน้ แหลง่ เรียนรู้ประเภทน้ี เช่น อุทยาน วนอุทยาน เขตรักษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่ า สวนพฤกษศาสตร์ ศูนยศ์ กึ ษาธรรมชาติ 78 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธุ์
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 3. แหล่งเรียนรู้ประเภทวตั ถแุ ละสถานท่ี หมายถึง อาคาร สิ่งก่อสร้าง วสั ดุอปุ กรณ์ และส่ิง ต่างๆ เช่น หอ้ งสมดุ ศาสนสถาน ศูนยก์ ารเรียน พิพิธภณั ฑ์ สถานประกอบการ ตลาด นิทรรศการ สถานที่ทางประวตั ิศาสตร์ เป็นตน้ 4. แหลง่ เรียนรู้ประเภทส่ือ หมายถึง สิ่งที่ติดต่อใหถ้ ึงกนั หรือชกั นาํ ใหร้ ู้จกั กนั ทาํ หนา้ ท่ีเป็น สื่อกลางในการถ่ายทอด เน้ือหา ความรู้ ทกั ษะและเจตคติ ไปสู่ทุกพ้นื ท่ีของโลกอยา่ ง ทว่ั ถึงและต่อเน่ือง ท้งั ส่ือสิ่งพิมพแ์ ละส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ที่มที ้งั ภาพและเสียง 5. แหลง่ เรียนรู้ประเภทเทคนิคส่ิงประดษิ ฐค์ ิดคน้ หมายถงึ ส่ิงท่ีแสดงถึงความกา้ วหนา้ ทาง เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงเป็นส่ิงประดิษฐค์ ิดคน้ หรือทาํ การพฒั นา ปรับปรุง ช่วยใหม้ นุษยเ์ รียนรู้ถงึ ความกา้ วหนา้ เกิดจินตนาการแรงบนั ดาลใจในการ สร้างสรรค์ ท้งั ความคิด และส่ิงประดิษฐต์ ่าง ๆ 6. แหล่งเรียนรู้ประเภทกิจกรรม หมายถึง การปฏบิ ตั ิการดา้ นวฒั นธรรมประเพณีต่าง ๆ การ ปฏิบตั ิงานของหน่วยราชการ ตลอดจนความเคลื่อนไหวเพอื่ แกป้ ัญหาและปรับปรุง พฒั นาสภาพต่าง ๆ ในทอ้ งถิ่น การเขา้ ไปมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ เหลา่ น้ีจะทาํ ให้ เกิดการเรียนรู้ท่ีเป็นรูปธรรม อาทิ ประเพณีงานทอดกฐิน งานบุญ 10. ส่ิงต่าง ๆที่เกิดข้ึนโดยธรรมชาติและใหป้ ระโยชนต์ ่อมนุษย์ หมายถึงแหล่งเรียนรู้ประเภทใด ก. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ข. แหลง่ เรียนรู้ประเภทธรรมชาติ ค. แหล่งเรียนรู้ประเภทวตั ถุและสถานท่ี ง. แหลง่ เรียนรู้ประเภทสื่อ ตอบ ข. แหลง่ เรียนรู้ประเภทธรรมชาติ อธบิ าย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 9 11. อาคาร สิ่งก่อสร้าง วสั ดุอปุ กรณ์ และส่ิงต่าง ๆ หมายถึงแหลง่ เรียนรู้ประเภทใด ก. แหลง่ เรียนรู้ประเภทบุคคล ข. แหลง่ เรียนรู้ประเภทธรรมชาติ ค. แหลง่ เรียนรู้ประเภทวตั ถุและสถานที่ ง. แหล่งเรียนรู้ประเภทส่ือ ตอบ ค. แหล่งเรียนรู้ประเภทวตั ถแุ ละสถานท่ี อธิบาย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 9 ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 79 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ
ระดบั ประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 12. สิ่งท่ีติดต่อใหถ้ งึ กนั หรือชกั นาํ ใหร้ ู้จกั กนั ทาํ หนา้ ที่เป็น สื่อกลางในการถา่ ยทอด เน้ือหา ความรู้ ทกั ษะและ เจตคติ ไปสู่ทุกพ้ืนท่ีของโลกอยา่ งทว่ั ถึงและต่อเนื่อง หมายถึงแหลง่ เรียนรู้ประเภทใด ก. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ข. แหลง่ เรียนรู้ประเภทธรรมชาติ ค. แหลง่ เรียนรู้ประเภทวตั ถุและสถานที่ ง. แหลง่ เรียนรู้ประเภทส่ือ ตอบ ง. แหลง่ เรียนรู้ประเภทส่ือ อธบิ าย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 9 13. สิ่งที่แสดงถงึ ความกา้ วหนา้ ทาง เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงเป็นสิ่งประดษิ ฐค์ ิดคน้ หรือทาํ การ พฒั นาปรับปรุง ชว่ ยใหม้ นุษยเ์ รียนรู้ถงึ ความกา้ วหนา้ หมายถงึ แหล่งเรียนรู้ประเภทใด ก. แหล่งเรียนรู้ประเภทวตั ถแุ ละสถานท่ี ข. แหล่งเรียนรู้ประเภทสื่อ ค. แหลง่ เรียนรู้ประเภทเทคนิคสิ่งประดิษฐค์ ิดคน้ ง. แหล่งเรียนรู้ประเภทกิจกรรม ตอบ ค. แหล่งเรียนรู้ประเภทเทคนิคสิ่งประดิษฐค์ ิดคน้ อธิบาย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 9 14. การปฏิบตั ิการดา้ นวฒั นธรรมประเพณีต่าง ๆ การ ปฏบิ ตั ิงานของหน่วยราชการ ตลอดจนความเคลอื่ นไหว เพ่อื แกป้ ัญหาและปรับปรุงพฒั นาสภาพต่าง ๆ ในทอ้ งถิ่น หมายถงึ แหล่งเรียนรู้ประเภทใด ก. แหลง่ เรียนรู้ประเภทวตั ถแุ ละสถานที่ ข. แหล่งเรียนรู้ประเภทสื่อ ค. แหลง่ เรียนรู้ประเภทเทคนิคส่ิงประดิษฐค์ ิดคน้ ง. แหล่งเรียนรู้ประเภทกิจกรรม ตอบ ง. แหลง่ เรียนรู้ประเภทกิจกรรม อธิบาย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 9 80 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธุ์
ระดบั ประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 15. ความรู้ของชาวบา้ น ซ่ึงเรียนรู้จากป่ ู ยา่ ตา ยาย ญาติพ/ี นอ้ ง และความเฉลยี วฉลาดของแต่ละคน หมายถึงขอ้ ใด ก. ภูมปิ ัญญาไทย ข. ภูมิปัญญาชาวบา้ นหรือภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ค. ครูภูมปิ ัญญา ง. ประเพณี ตอบ ข. ภูมปิ ัญญาชาวบา้ นหรือภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ อธบิ าย/เหตผุ ล : ภูมปิ ัญญาชาวบา้ นหรือภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ หมายถงึ ความรู้ของชาวบา้ น ซ่ึงเรียนรู้จากป่ ู ยา่ ตายาย ญาติพ่ีนอ้ ง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผมู้ คี วามรู้ในหม่บู า้ น ในทอ้ งถิน่ ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการดาํ เนินชีวิตใหเ้ ป็นสุข ภูมิปัญญาชาวบา้ นเป็นเรื่องการทาํ มาหากิน เช่น การ จบั สตั ว์ การปลกู พชื การเล้ียงสตั ว์ การทอผา้ การทาํ เคร่ืองมือการเกษตร 16. ผทู้ รงภูมปิ ัญญาดา้ นใดดา้ นหน่ึง หรือหลายดา้ นและสืบสานภูมปิ ัญญาดงั กล่าวอยา่ งต่อเน่ืองจนเป็นที่ยอมรับ ของสงั คมและชุมชน หมายถงึ ขอ้ ใด ก. ภูมปิ ัญญาไทย ข. ภูมิปัญญาชาวบา้ นหรือภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ค. ครูภูมิปัญญา ง. ประเพณี ตอบ ค. ครูภูมปิ ัญญา อธบิ าย/เหตผุ ล : ครูภูมปิ ัญญา หมายถงึ ผทู้ รงภูมปิ ัญญาดา้ นใดดา้ นหน่ึง หรือหลายดา้ นและสืบสานภูมปิ ัญญา ดงั กลา่ วอยา่ งต่อเน่ืองจนเป็นที่ยอมรับของสงั คมและชุมชน และไดม้ กี ารยกยอ่ งใหเ้ ป็น “ครู ภูมิปัญญาไทย”เพอื่ ทาํ หนา้ ท่ีถา่ ยทอดและสืบสานภูมปิ ัญญาในการจดั การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 81 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ์
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 17. ขอ้ ใดไมใ่ ช่วตั ถปุ ระสงคข์ องศนู ยก์ ารเรียนชุมชน ก. เพอื่ เป็นศนู ยก์ ลางการเรียนรู้และจดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพอ่ื ให้ ประชาชนไดร้ ับการส่งเสริมใหเ้ รียนรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ ข. เพ่อื สร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ค. เพอ่ื สร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของครอบครัว ง. เพ่ือสร้างโอกาสการเรียนรู้สาํ หรับประชาชนในชุมชน ตอบ ค. เพอื่ สร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของครอบครวั อธิบาย/เหตผุ ล : วตั ถุประสงคข์ องศนู ยก์ ารเรียนชุมชน 1. เพ่อื เป็นศูนยก์ ลางการเรียนรู้และจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดร้ ับการส่งเสริมใหเ้ รียนรู้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ 2. เพ่อื สร้างเสริมกระบวนการเรียนรูข้ องชุมชน 3. เพ่ือสร้างโอกาสการเรียนรู้สาํ หรับประชาชนในชุมชน 4. เพ่ือใหช้ ุมชนมสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การ และจดั การศกึ ษาใหก้ บั ชุมชนเอง 18. ขอ้ ใดคือบทบาทหนา้ ท่ีของศนู ยก์ ารเรียนชุมชน ก. ส่งเสริมและจดั การศึกษาต่อเนื่องท้งั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิต การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชน ข. เพ่ือสร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ค. เพ่อื สร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประเทศ ง. เพ่อื สร้างโอกาสการเรียนรู้สาํ หรับประชาชนในชุมชน ตอบ ก. ส่งเสริมและจดั การศกึ ษาต่อเนื่องท้งั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวติ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน อธบิ าย/เหตผุ ล : บทบาทหนา้ ท่ีของศูนยก์ ารเรียนชุมชน 1. ส่งเสริมและจดั การศกึ ษาพ้นื ฐาน ในระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. ส่งเสริมและจดั การศกึ ษาต่อเน่ืองท้งั การศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน 3. ส่งเสริมการเรียนรู้ตามอธั ยาศยั 4. ส่งเสริมกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน 82 ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธุ์
ระดบั ประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 19. หอ้ งสมุดประชาชน แบ่งเป็นก่ีประเภท ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท ตอบ ก. 3 ประเภท อธิบาย/เหตผุ ล : ประเภทของหอ้ งสมดุ ประชาชน แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. หอ้ งสมุดประชาชนขนาดใหญ่ เช่น หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั หอสมดุ รัชมงั คลาภิเษก พระราชวงั ไกลกงั วลหวั หิน 2. หอ้ งสมดุ ประชาชนขนาดกลาง เช่น หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 3. หอ้ งสมุดประชาชนขนาดเลก็ เช่น หอ้ งสมดุ ประชาชนอาํ เภอทว่ั ไป 20. หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั จดั ว่าเป็นหอ้ งสมุดประเภทใด ก. หอ้ งสมดุ ประชาชนขนาดเลก็ ข. หอ้ งสมดุ ประชาชนทว่ั ไป ค. หอ้ งสมดุ ประชาชนขนาดกลาง ง. หอ้ งสมดุ ประชาชนขนาดใหญ่ ตอบ ง. หอ้ งสมดุ ประชาชนขนาดใหญ่ อธิบาย/เหตผุ ล : ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 19 21. การจดั การความรู้เรียกส้นั ๆ วา่ อะไร ก. MK ข. KM ค. LO ง. QA ตอบ ข. KM อธิบาย/เหตผุ ล : การจดั การความรู้ (Knowledge Management) หมายถงึ การจดั การกบั ความรู้ และประสบการณ์ ท่ีมีอยใู่ นตวั ตน และความรู้เด่นชดั นาํ มาแบ่งปันใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อ ตนเองและองคก์ ร ดว้ ยการผสมผสานความสามารถของคนเขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งเหมาะสม มี เป้าหมายเพอื่ การพฒั นางาน พฒั นาคน และพฒั นาองคก์ รใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 83 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธุ์
ระดบั ประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 22. เป้าหมายของการจดั การความรู้ คืออะไร ก. พฒั นาคน ข. พฒั นางาน ค. พฒั นาองคก์ ร ง. ถกู ทุกขอ้ ตอบ ง. ถูกทกุ ขอ้ อธบิ าย/เหตผุ ล : การจดั การความรู้ (Knowledge Management) หมายถึง การจดั การกบั ความรู้ และประสบการณ์ ที่มีอยใู่ นตวั ตน และความรู้เด่นชดั นาํ มาแบ่งปันใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อ ตนเองและองคก์ ร ดว้ ยการผสมผสานความสามารถของคนเขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งเหมาะสม มี เป้าหมายเพ่อื การพฒั นางาน พฒั นาคน และพฒั นาองคก์ รใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ 23. ข้นั ตอนแรกในการดาํ เนินการจดั การองคค์ วามรู้ คือขอ้ ใด ก. การกาํ หนดความรู้หลกั ท่ีจาํ เป็นหรือสาํ คญั ต่องาน หรือกิจกรรมของกล่มุ หรือองคก์ ร ข. การเสาะหาความรู้ท่ีตอ้ งการ ค. การปรับปรุง ดดั แปลง หรือสร้างความรู้บางส่วนใหเ้ หมาะต่อการใชง้ านของตน ง. การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ในกิจกรรมงานของตน ตอบ ก. การกาํ หนดความรู้หลกั ที่จาํ เป็นหรือสาํ คญั ต่องาน หรือกิจกรรมของกลุ่มหรือองคก์ ร อธิบาย/เหตผุ ล : หวั ใจของการจดั การความรู้ คือ การส่งเสริมใหม้ กี ารแลกเปล่ยี นความรู้ ดงั น้นั การ ดาํ เนินการจดั การองคค์ วามรู้อาจตอ้ งดาํ เนินการตามข้นั ตอนต่างๆ ดงั น้ี 1. การกาํ หนดความรู้หลกั ทีจ่ าํ เป็นหรือสาํ คญั ต่องาน หรือกิจกรรมของกลุ่มหรือองคก์ ร 2. การเสาะหาความรู้ท่ีตอ้ งการ 3. การปรับปรุง ดดั แปลง หรือสร้างความรู้บางส่วนใหเ้ หมาะต่อการใชง้ านของตน 4. การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ในกจิ กรรมงานของตน 5. การนาํ ประสบการณจ์ ากการทาํ งาน และการประยกุ ต์ใชม้ าแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และ สกดั ขุมความรู้ออกมาบนั ทึกไว้ 6. การจดบนั ทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาํ หรับไวใ้ ชง้ าน และปรับปรุง เป็น ชุดความรู้ทคี่ รบถว้ น ลุ่มลึก และเชื่อมโยงมากข้นึ เหมาะต่อการใชง้ านมากข้ึน 84 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 24. ข้นั ตอนสุดทา้ ยในการดาํ เนินการจดั การองคค์ วามรู้ คือขอ้ ใด ก. การกาํ หนดความรู้หลกั ที่จาํ เป็นหรือสาํ คญั ต่องาน หรือกิจกรรมของกล่มุ หรือองคก์ ร ข. การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ในกิจกรรมงานของตน ค. การนาํ ประสบการณ์จากการทาํ งาน และการประยกุ ตใ์ ชม้ าแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และสกดั ขมุ ความรู้ ออกมาบนั ทึกไว้ ง. การจดบนั ทึก “ขมุ ความรู้” และ “แก่นความรู้” สาํ หรับไวใ้ ชง้ าน และปรับปรุง เป็นชุดความรู้ที่ ครบถว้ น ล่มุ ลึก และเชื่อมโยงมากข้ึน เหมาะต่อการใชง้ านมากข้ึน ตอบ ง. การจดบนั ทกึ “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สาํ หรับไวใ้ ชง้ าน และปรับปรุง เป็นชุดความรู้ที่ ครบถว้ น ลมุ่ ลึก และเช่ือมโยงมากข้ึนเหมาะตอ่ การใชง้ านมากข้ึน อธิบาย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 2 25. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชนข์ องการวิจยั สาํ หรับผทู้ าํ วจิ ยั เอง ก. ความรู้ใหม่ท่ีนาํ ไปใชใ้ นการพฒั นางานดา้ นต่าง ๆ ข. ทาํ ใหม้ คี วามสนใจ กระตือรือร้น สงสยั อยากรู้อยากเหน็ ในสิ่งรอบตวั ค. ฝึกการเป็นคนมีเหตุผล เมื่อมีปัญหา ขอ้ สงสยั ตอ้ งหาคาํ ตอบท่ีถกู ตอ้ ง ไม่ใช่การคาดเดาหรือสรุปเอง ง. ฝึกการศกึ ษาคน้ ควา้ จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ตอบ ก. ความรู้ใหม่ท่ีนาํ ไปใชใ้ นการพฒั นางานดา้ นต่าง ๆ คาอธบิ าย/เหตผุ ล : ประโยชน์ของการวจิ ยั สาหรับผ้ทู าวจิ ยั เอง มหี ลายประการดงั นี้ 1. ทาํ ใหม้ คี วามสนใจ กระตือรือร้น สงสยั อยากรู้อยากเห็นในสิ่งรอบตวั 2. ฝึกการเป็นคนมเี หตุผล เมอ่ื มปี ัญหา ขอ้ สงสยั ตอ้ งหาคาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง ไม่ใช่การคาด เดาหรือสรุปเอง 3. ฝึกการศกึ ษาคน้ ควา้ จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ 4. ฝึกการเป็นคนช่างคิด ช่างสงั เกต อดทน 5. ฝึกการจดบนั ทกึ เขียนเรียบเรียงอยา่ งเป็นระบบ 6. ฝึกการทาํ งานร่วมกบั ผอู้ นื่ ประโยชน์ของการวจิ ยั สาหรับผ้อู ่นื /หน่วยงาน/สังคม มดี งั นี้ 1. ไดค้ วามรู้ใหม่ ที่นาํ ไปใชใ้ นการพฒั นางานดา้ นต่าง ๆ 2. ไดน้ วตั กรรมสิ่งประดิษฐใ์ หม่ ๆ ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 85 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 26. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องการวิจยั สาํ หรับผอู้ ่ืน/หน่วยงาน/สงั คม ก. ฝึกการเป็นคนช่างคิด ช่างสงั เกต อดทน ข. ฝึกการจดบนั ทึก เขียนเรียบเรียงอยา่ งเป็นระบบ ค. ฝึกการทาํ งานร่วมกบั ผอู้ นื่ ง. ไดน้ วตั กรรมส่ิงประดิษฐใ์ หม่ ๆ ตอบ ง. ไดน้ วตั กรรมส่ิงประดิษฐใ์ หม่ ๆ คาอธบิ าย/เหตผุ ล ดูคาํ อธิบายจากขอ้ 25 27. ศกั ยภาพของพ้นื ท่ีตามหลกั ภูมิอากาศ หมายถงึ ขอ้ ใด ก. สิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ ข. ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศท่ีมอี ยปู่ ระจาํ ทอ้ งถิ่นใดทอ้ งถนิ่ หน่ึงโดยพจิ ารณาจากค่าเฉลี่ยของอณุ หภูมิ ประจาํ เดือนและปริมาณน้าํ ฝนในช่วงระยะเวลาต่าง ๆของปี ค. ลกั ษณะของพน้ื ท่ีและทาํ เลท่ีต้งั ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมีลกั ษณะแตกต่างกนั ง. เป็นการนาํ ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล ในแต่ละพ้นื ท่ีมาใช้ ในการปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ตอบ ข. ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศที่มีอยปู่ ระจาํ ทอ้ งถิ่นใดทอ้ งถ่ินหน่ึงโดยพิจารณาจากค่าเฉล่ียของอุณหภูมิ ประจาํ เดือนและปริมาณน้าํ ฝนในช่วงระยะเวลาต่าง ๆของปี คาอธบิ าย/เหตุผล : ศกั ยภาพของพ้นื ท่ีตามหลกั ภูมิอากาศ หมายถงึ ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศที่มีอยปู่ ระจาํ ทอ้ งถิ่นใดทอ้ งถ่นิ หน่ึงโดยพิจารณาจากค่าเฉล่ยี ของอณุ หภูมปิ ระจาํ เดือนและปริมาณ น้าํ ฝนในช่วงระยะเวลาต่าง ๆของปี เช่น ภาคเหนือของประเทศไทยมอี ากาศหนาวเยน็ หรือเป็นแบบสะวนั นา (Aw) คือ อากาศร้อนช้ืนสลบั กบั ฤดูแลง้ เกษตรกรรม 28. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้นื ท่ี หมายถงึ ขอ้ ใด ก. สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ ข. ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศท่ีมอี ยปู่ ระจาํ ทอ้ งถ่ินใดทอ้ งถนิ่ หน่ึงโดยพจิ ารณาจากค่าเฉล่ียของอณุ หภูมิ ประจาํ เดือนและปริมาณน้าํ ฝนในช่วงระยะเวลาต่าง ๆของปี ค. ลกั ษณะของพ้นื ที่และทาํ เลที่ต้งั ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมลี กั ษณะแตกต่างกนั ง. เป็นการนาํ ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล ในแต่ละพ้นื ท่ีมาใช้ ในการปฏบิ ตั ิงานใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ตอบ ก. สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนาํ มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ คาอธบิ าย/เหตผุ ล : ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้นื ที่หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ(ส่ิงแวดลอ้ ม) ท่ีเกิดข้ึน เองตามธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้าํ ป่ า ไม้ ทุ่งหญา้ สตั วป์ ่ า แร่ธาตุ พลงั งาน และกาํ ลงั แรงงานมนุษย์ เป็นตน้ 86 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
ระดบั ประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ 29. ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทาํ เลท่ีต้งั ของแต่ละพ้ืนที่ หมายถงึ ขอ้ ใด ก. สิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ ข. ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศท่ีมีอยปู่ ระจาํ ทอ้ งถ่ินใดทอ้ งถน่ิ หน่ึงโดยพจิ ารณาจากค่าเฉล่ียของอุณหภูมิ ประจาํ เดือนและปริมาณน้าํ ฝนในช่วงระยะเวลาต่าง ๆของปี ค. ลกั ษณะของพ้นื ที่และทาํ เลที่ต้งั ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมีลกั ษณะแตกต่างกนั ง. เป็นการนาํ ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล ในแต่ละพ้นื ท่ีมาใช้ ในการปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ตอบ ค. ลกั ษณะของพ้ืนท่ีและทาํ เลที่ต้งั ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมีลกั ษณะแตกต่างกนั คาอธบิ าย/เหตุผล : ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทาํ เลท่ีต้งั ของแต่ละพ้นื ที่ หมายถงึ ลกั ษณะของพ้ืนที่และ ทาํ เลที่ต้งั ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมลี กั ษณะแตกต่างกนั เช่น เป็นภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่ม ที่ ราบชายฝั่ง 30. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละพ้นื ที่ หมายถึงขอ้ ใด ก. สิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ ข. ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศท่ีมอี ยปู่ ระจาํ ทอ้ งถนิ่ ใดทอ้ งถนิ่ หน่ึงโดยพจิ ารณาจากค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิ ประจาํ เดือนและปริมาณน้าํ ฝนในช่วงระยะเวลาต่าง ๆของปี ค. ลกั ษณะของพ้นื ที่และทาํ เลที่ต้งั ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมลี กั ษณะแตกต่างกนั ง. เป็นการนาํ ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล ในแต่ละพ้นื ท่ีมาใช้ ในการปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ตอบ ง. เป็นการนาํ ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล ในแต่ละพ้ืนที่มาใช้ ในการปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด คาอธบิ าย/เหตผุ ล : ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละพ้ืนท่ี หมายถึง เป็นการนาํ ศกั ยภาพของแต่ละ บุคคล ในแต่ละพ้ืนที่มาใช้ ในการปฏบิ ตั ิงานใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด และสร้างใหแ้ ต่ละ บุคคลเกิดทศั นคติท่ีดี ต่อองคก์ าร ตลอดจนเกิดความตระหนกั ในคณุ ค่าของตนเอง ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 87 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
แนวข้อสอบ ชดุ ท่ี 2
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ 1. การศึกษาตามความสนใจ ความตอ้ งการและความถนดั เป็นการเรียนรู้แบบใด ก. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ข. การเรียนรู้โดยบงั เอญิ ค. การเรียนรู้แบบพบกล่มุ ง. การเรียนรู้แบบโครงการ ตอบ ก. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง อธบิ าย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง หมายถึง การศกึ ษาตามความสนใจ ความตอ้ งการและความถนดั 2. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คือขอ้ ใด ก. การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนตอ้ งศึกษาเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง ข. การเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนริเริ่มตามท่ีครูหรือผอู้ ่ืนบอกหรือแนะนา ค. กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนทาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ง. กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเร่ิมการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการ ความถนดั ตอบ ง. กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการ ความถนดั อธบิ าย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คือ กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเร่ิมการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตามความ สนใจ ความตอ้ งการ ความถนดั 3. ข้นั ตอนแรกของการเรียนรู้ดว้ ยตนเองควรเริ่มจากขอ้ ใด ก. สถานที่หือแหล่งท่ีจะมาเรียนรู้ ข.การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของตนเอง ค. การเรียนรู้ในส่ิงที่แตกต่างจากคนทวั่ ไป ง. ประเมินความสามารถของตนเองในการเรียนรู้ ตอบ ข. การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของตนเอง อธบิ าย/เหตผุ ล : องคป์ ระกอบของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ข้นั ตอนแรกคือ การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของ ตนเอง ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 89 สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธ์ุ
ระดับประถมศกึ ษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา (หลักสตู ร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 4. การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองสามารถพฒั นาและเพ่ิมศกั ยภาพของผเู้ รียนโดยการคน้ พบในเรื่องใด 4. การกเร.ียคนวราูม้ดรว้ ู้ยคตวนามเอสงาสมาามราถรถพฒั นาและเพ่ิมศกั ยภาพของผเู้ รียนโดยการคน้ พบในเร่ืองใด ข. กค.วคามวสามารมู้ าครวถามกสาารมวาเิ ครรถาะห์ ค. ขค.วคามวสามาสมาารมถารทถี่มกี กาารรพวฒัเิ คนราาะแหลว์้ ใหด้ ียง่ิ ข้ึน ง. คคว. าคมวสามามสาารมถาแรลถะทสี่มิ่งกี ทา่ีมรพคี ุณฒั นค่าาใแนลตว้ นใหเอด้ งียทง่ิ ี่เขค้ึนยมองขา้ ม ตอบ ง. คง.วคามวสามามสาารมถารแถลแะลสะ่ิงสท่ิง่ีมทีคี่มุณีคคุณ่าใคน่าใตนนตเอนงเทองี่เคทยี่เคมยอมงขอาง้ มขา้ ม อธตบิ อายบ/เหตงผุ .ลควากมาสรเารมียานรรถู้ดแว้ลยะตสน่ิงเทอ่ีมงสีคาุณมคา่ารใถนพตฒั นนเอางแทลี่เะคเพยมิ่มอศงกั ขยา้ ภมาพของผเู้ รียนโดยการคน้ พบในเร่ือง อธบิ าย/เหตผุ ลควกามารสเราีมยนารรถู้ดแว้ ลยะตสน่ิงเอทง่ีมสีคาุณมาคร่าถในพตฒั นนเาอแงลทะี่เคเพย่มิมศอกังขยภา้ มาพของผเู้ รียนโดยการคน้ พบในเรื่อง ความสามารถและสิ่งที่มคี ุณค่าในตนเองที่เคยมองขา้ ม 5. ในการเรียนรู้ “แบบผเู้ รียนไมไ่ ดต้ ้งั ใจที่จะเรียนรู้” เป็นการเรียนโดยสถานการณ์ใด 5. ในกกา.รกเราียรเนรีรยู้น“แรูบ้โดบยผกเู้ รลียมุ่ นไมไ่ ดต้ ้งั ใจที่จะเรียนรู้” เป็นการเรียนโดยสถานการณ์ใด ข. กก.ารกเารรียเนรียรนู้โดรู้โยดบยงั กเอลญิ ุ่ม ค. ขก.ารกเารรียเนรียรนู้โดรู้โยดตยนบเองั งเอญิ ง. กคา.รกเราีรยเนรีรยู้นโดรูย้โสดถยตาบนนัเอง ตอบ ข.กงา.รกเราีรยเนรีรยู้โนดรยู้โบดงยั เสอถญิ าบนั อธตอบิ ธอาบิยบ/าเยห/ตเหขผุ .ตกลผุา:รลกเร:าียรกนเารรรียูเ้โนรดียรยนู้โบดรงูั้โยเดบอยญิงั บเองั ญิ เอหิญมหายมคายวคามววามา่ ว“า่แบ“แบบผบเู้ รผียเู้นรียไนมไไ่ มดไ่ต้ ด้งั ตใ้ จ้งั ทใจ่ีจทะี่เจระียเนรียรนู้”รู้” 6. การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองมคี วามแตกต่างจากการเรียนรู้โดยวธิ ีการเรียนรู้จากผอู้ ื่นหรือไมเ่ พราะเหตุใด 6. การกเร.ียไนมร่ ูด้เพว้ รยาตะนเปเอ็นงกมาีครวเราียมนแรตู้เกหตม่าอื งนจากกนั การเรียนรู้โดยวธิ ีการเรียนรู้จากผอู้ ื่นหรือไม่เพราะเหตุใด ข. กไม. ไ่ มเพ่ รเพาะรวาะธิ เีกปา็นรเกราียรนเรรียู้เกนิดรจู้เหากมผือเู้นรียกนนั เหมือนกนั ค. ขแต. ไกมต่่าเงพเรพาระาวะิธเปีก็านรกเราียรนเรรียู้เนกิรดู้ดจว้ากยคผวเู้ ราียมนตเ้งหั ใมจอืขนอกงผนั เู้ รียนเอง ง. แคต. กแตต่กางต่าเงพเรพาระาเปะ็นเปก็นากราเรรียเรนียรนู้จราู้ดกวส้ ยถคาวนากมาตร้งัณใ์ทจข่ีผอเู้ รงียผนเู้ รสียรน้าเงอขง้ึนเอง อตธอตบิบอายบ/เคห.ตคแงผุต..แลกแตตตกก่ากางตตร่าเ่าเพงรงียรเพนาเพะรรรเาู้ดปาะ็ว้นะเปยเกปต็นา็นนรกกเเารอารียงรเนมรเรียีครียนู้ดวนราว้ รูม้ดยู้จคแว้ าตยวกคากสมวตถตา่าาม้งงั นตใจจกา้งั กขใารจกอณขางรผอ์ทเเงู้รรี่ผผียียเู้เูรน้นรียียรเนอู้นโงสดเอยรง้วางธิ ขีก้ึนารเอเรงียนรู้จากผอู้ ืน่ เพราะเป็นการ อธิบาย/เหตผุ ลเรียกนารรู้ดเรว้ียยนครวู้ดาว้มยตต้งั นใจเอขงอมงคี ผวเู้ ราียมนแเตอกงต่างจากการเรียนรู้โดยวธิ ีการเรียนรู้จากผอู้ ืน่ เพราะเป็นการ เรียนรู้ดว้ ยความต้งั ใจของผเู้ รียนเอง 7. การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองเป็นตวั อยา่ งของการเรียนรู้ในลกั ษณะใด 7. การกเร.ียกนารรูเ้ดรวี้ยยนตรนู้ทเ่ีทอางใเปห็นเ้ กติดวั กอายรา่ เงรขียนองรกู้อายรา่ เงรถียานวรรู้ในลกั ษณะใด ข. กก.ารกเารรียเนรียรนู้ทร่ีทู้ทา่ีทใหาใเ้ กหิดเ้ กกิดารกเารรียเนรียรนู้ตรลู้ออยดา่ ชงีวถติ าวร ค. ขก.ารกเารรียเนรียรนู้ทรี่ทู้ทา่ีทใหาใเ้ กหิดเ้ กกิดารกเารรียเนรียรนู้อรยู้ตา่ งลชอว่ั ดคชรีวาติว ง. กคา.รกเราีรยเนรีรยู้นที่ทรู้ทาใ่ีทหาเ้ใกหิดเ้ กกิาดรกเราีรยเนรีรยู้นอยรตูู่้อลยาอ่ งดชเวว่ั ลคารแาลวะมีช่วงเวลา ตอบ ข. กงา.รกเารรียเนรีรยู้นที่ทรู้ทาใ่ีทหาเ้ใกหิดเ้ กกิดารกเรารียเนรีรยู้ตนลรูอ้อดยตู่ชลีวตอิ ดเวลาและมชี ่วงเวลา อธตบิ อายบ/เหตขผุ. กลา:รเกราียรนเรรียู้ทน่ีทราู้ดใวห้ ยเ้ กติดนกเอางรเเปรี็ยนนตรวั ู้ตอลยอา่ งดขชอีวงติ การเรียนรู้ ที่ทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ตลอดชีวติ อธบิ าย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเองเป็นตวั อยา่ งของการเรียนรู้ ท่ีทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต 90 ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
ระดับประถมศึกษา (หลักสตู ร กศน.2551) รายวิชาทักษะการเรยี นรู้ 8. การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองแบบ กศน. คือการเรียนในขอ้ ใด ก. มีแรงจูงใจอยากเรียนกเ็ รียน ข. แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองท้งั หมด ค. มีการวางแผนและใชส้ ญั ญาการเรียนรู้ ง. ผเู้ รียนตอ้ งบริหารเวลารับผดิ ชอบตนเองท้งั หมด ตอบ ค. มีการวางแผนและใชส้ ญั ญาการเรียนรู้ อธิบาย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเองแบบ กศน. คือ มีการวางแผนและใชส้ ญั ญาการเรียนรู้ 9. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเป็นบทบาทของผเู้ รียนเองในการกาหนดจดุ มุ่งหมายในการเรียน ก. กาหนดโครงสร้างคร่าวๆ ข. เปิ ดโอกาสใหร้ ะดมสมอง แสดงความคิดเห็น ค. กาหนดจุดม่งุ หมายจากความตอ้ งการของตนเอง ง. แนะนาขอ้ มลู ในการวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของตนเอง ตอบ ค. กาหนดจุดมุ่งหมายจากความตอ้ งการของตนเอง อธบิ าย/เหตผุ ล : กาหนดจุดมงุ่ หมายจากความตอ้ งการของตนเอง เป็นบทบาทของผเู้ รียนเองในการกาหนด จุดมงุ่ หมายในการเรียน 10. ขอ้ ใดต่อไปน้ีกลา่ วถงึ ลกั ษณะสาคญั ของการวางแผนการเรียนรู้ร่วมกนั ของตนเองในกลุม่ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ท่ีสุด ก. ผเู้ รียนตอ้ งมสี ่วนร่วมในการวางแผนทกุ คร้ัง ข. ผเู้ รียนตอ้ งเป็นผนู้ าในการวางแผนโดยยดึ ความคดิ เห็นของกลุ่ม ค. ผเู้ รียนตอ้ งมสี ่วนร่วมในการวางแผนโดยยดึ ความคิดเห็นของตนเอง ง. ผเู้ รียนตอ้ งมสี ่วนร่วมโดยยดึ ความคิดเห็นของกลุม่ บนพ้นื ฐานความตอ้ งการ ตอบ ง. ผเู้ รียนตอ้ งมีส่วนร่วมโดยยดึ ความคิดเห็นของกลมุ่ บนพ้นื ฐานความตอ้ งการ อธิบาย/เหตผุ ล : ลกั ษณะสาคญั ของการวางแผนการเรียนรูร้ ่วมกนั ของตนเองในกลุ่ม คือ ผเู้ รียนตอ้ งมีส่วนร่วม โดยยดึ ความคิดเห็นของกลมุ่ บนพ้ืนฐานความตอ้ งการ ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 91 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธุ์
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลักสตู ร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 11. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ก. ออกแบบแผนการเรียน ข. ตรวจสอบและติดตามผล ค. กาหนดจุดมงุ่ หมายในการเรียน ง. วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียน ตอบ ง. วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการในการเรียน อธบิ าย/เหตผุ ล : องคป์ ระกอบของเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คือ 1.การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของตนเอง 2.การกาหนดจุดมงุ่ หมาย 3.การวางแผนการเรียน 4.การแสวงหาแหลง่ วทิ ยากร 5.การประเมินผล 12. ขอ้ ใดบอกขอ้ ดขี องการเรียนรู้ดว้ ยตนเองตามแผนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ก. การเรียนรู้สามารถแกไ้ ขปัญหาในอดีตได้ ข. การเรียนรู้สามารถปรับพฤติกรรมของตนเองได้ ค. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองสามารถทาใหเ้ กิดความรับผดิ ชอบในตนเอง ง. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองสามารถทาใหเ้ กิดการพฒั นาทางดา้ นจิตใจตามสถานการณ์ได้ ตอบ ค. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองสามารถทาใหเ้ กิดความรับผดิ ชอบในตนเอง อธบิ าย/เหตผุ ล : ขอ้ ดีของการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองตามแผน คือ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองสามารถทาใหเ้ กิดความ รับผดิ ชอบในตนเอง 13. ภูมปิ ัญญาไทยมคี ุณค่าและความสาคญั อยา่ งไร ก. ภูมปิ ัญญาไทยสร้างสงั คมใหส้ งบสุข ข. ภูมิปัญญาไทยสร้างความศวิ ไิ ลใหต้ ่างชาติ ค. ภูมปิ ัญญาไทยสร้างความยง่ิ ใหญ่ใหแ้ ผน่ ดิน ง. ภูมิปัญญาไทยสร้างความภาคภูมิใจและศกั ด์ิศรีแก่คนไทย ตอบ ง. ภูมิปัญญาไทยสร้างความภาคภูมิใจและศกั ด์ิศรีแก่คนไทย อธบิ าย/เหตผุ ล : คุณค่าและความสาคญั ของภูมิปัญญาไทย คือ ภูมปิ ัญญาไทยสร้างความภาคภูมใิ จและศกั ด์ิศรี แก่คนไทย 92 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธุ์
ระดบั ประถมศึกษา (หลักสตู ร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 14. ขอ้ ใดเป็นวิธีการเรียนรู้ดว้ ยตนเองตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานของ กศน. ก. ผเู้ รียนเรียนรู้ตามแนวทางท่ีครูกาหนดให้ ข. ผเู้ รียนเรียนรู้ตามแนวทางท่ีตนเองกาหนด ค. ผเู้ รียนเรียนรู้ตามแนวทางท่ีผเู้ รียนร่วมกบั ครูกาหนด ง. ผเู้ รียนเรียนรู้ตามแนวทางที่ครูกาหนดแลว้ ใหผ้ เู้ รียนปรับใช้ ตอบ ค. ผเู้ รียนเรียนรู้ตามแนวทางท่ีผเู้ รียนร่วมกบั ครูกาหนด อธบิ าย/เหตผุ ล : วิธีการเรียนรู้ดว้ ยตนเองตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของ กศน. หมายถงึ ผเู้ รียนเรียนรู้ ตามแนวทางท่ีผเู้ รียนร่วมกบั ครูกาหนด 15. อาชีพในขอ้ ใดที่ตอ้ งมคี วามคิดสร้างสรรคม์ ากที่สุด ก. พนกั งานรักษาความปลอดภยั ข. พนกั งานขบั รถโดยสารรับจา้ ง ค. นกั ออกแบบเส้ือผา้ เครื่องแต่งกาย ง. เจา้ ของกิจการรับเหมาทาความสะอาด ตอบ ค. นกั ออกแบบเส้ือผา้ เคร่ืองแต่งกาย อธบิ าย/เหตผุ ล : การออกแบบเส้ือผา้ ตอ้ งใชค้ วามคิดริเร่ิมสร้างสรรคใ์ นการออกแบบท่ีทนั สมยั 16. แหล่งเรียนรู้มีความสาคญั ต่อการเรียนรู้อยา่ งไร ก. เป็นแหล่งท่ีช่วยใหไ้ ดพ้ บผสู้ อน ข. เป็นแหล่งที่ช่วยใหเ้ กิดรายไดเ้ พม่ิ ข้ึน ค. เป็นแหล่งท่ีช่วยใหไ้ ดพ้ บเพื่อนใหม่ๆ ง. เป็นแหลง่ ที่ช่วยเสริมความรู้และประสบการณ์ ตอบ ง. เป็นแหล่งท่ีช่วยเสริมความรู้และประสบการณ์ อธิบาย/เหตผุ ล : แหลง่ เรียนรู้มีความสาคญั ต่อการเรียนรู้ คือ เป็นแหลง่ ท่ีช่วยเสริมความรู้และประสบการณ์ ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 93 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธ์ุ
ระดบั ประถมศึกษา (หลักสูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้ 17. ขอ้ ใดไม่ใช่ประเภทของแหลง่ เรียนรู้ ก. สื่อ ข. บุคคล ค. กิจกรรม ง. นนั ทนาการ ตอบ ง. นนั ทนาการ อธิบาย/เหตผุ ล : ประเภทแหล่งเรียนรู้ มี 6 ประเภท 1. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล 2. แหล่งเรียนรู้ประเภทธรรมชาติ 3. แหล่งเรียนรู้ประเภทวตั ถแุ ละสถานท่ี 4. แหลง่ เรียนรู้ประเภทสื่อ 5. แหลง่ เรียนรู้ประเภทเทคนิค 6. แหลง่ เรียนรู้ประเภทกจิ กรรม 18. บุคคลใดใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ เรียนรู้ไดถ้ กู ตอ้ ง ก. อนงคต์ ิดป้ายหาเสียงเลอื กต้งั ในหอ้ งสมดุ ประชาชน ข. สุพรศึกษาเร่ืองการปลกู พืชไร้ดินจากหอจดหมายเหตุ ค. วิรัตน์ศึกษาขอ้ มูลประเพณีสงกรานตจ์ ากเพ่ือน ง. สมชาติหาขอ้ มูลการทารายงานกลุ่มดว้ ยคนเองในหอ้ งสมดุ ตอบ ง. สมชาติหาขอ้ มลู การทารายงานกลุ่มดว้ ยตนเองในหอ้ งสมดุ อธิบาย/เหตผุ ล – 19. ถา้ ตอ้ งการศกึ ษาเกี่ยวกบั การสร้างกาแพงเมืองจีนควรคน้ ควา้ จากแหลง่ ใด จึงจะเหมาะสมกบั การเป็น นกั ศกึ ษา ก. ไปศกึ ษาขอ้ มูลที่เยาวราช ข. ศึกษาขอ้ มลู จากอนิ เตอร์เน็ต ค. เก็บขอ้ มูลจากปราชญช์ าวบา้ น ง. เดินทางไปศึกษาจากสถานท่ีจริง ตอบ ข. ศกึ ษาขอ้ มูลจากอินเตอร์เน็ต อธิบาย/เหตผุ ล : เพราะสะดวกและรวดเร็วในการคน้ ควา้ ขอ้ มูล 94 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ
ระดบั ประถมศึกษา (หลักสูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ 20. ถา้ ตอ้ งการหาหนงั สือเร่ืองรัฐธรรมนูญฉบบั ใหม่ตอ้ งคน้ ควา้ ท่ีหมวดใด ก. สงั คมศาสตร์ ข. ประวตั ิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ค. เบ็ดเตลด็ หรือความรู้ทว่ั ไป ง. วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ และเทคโนโลยี ตอบ ก. สงั คมศาสตร์ อธิบาย/เหตผุ ล : เพราะหนงั สือเร่ืองรัฐธรรมนูญฉบบั ใหม่ อยใู่ นหมวดสงั คมศาสตร์ 21. หอ้ งสมุดประชาชนใชโ้ ปรแกรมใดในการใหบ้ ริการสืบคน้ หนงั สือ ก. PLS ข. ITW ค. DMS ง. E-book ตอบ ก. PLS อธบิ าย/เหตผุ ล : การสืบคน้ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ หอ้ งสมุดประชาชนจดั เครื่องคอมพิวเตอร์ไวบ้ ริการสืบคน้ ส่ือท่ี ตอ้ งการและสนใจ โดยใชโ้ ปรแกรมบริการงานหอ้ งสมดุ หรือ PLS(Public Library Service) 22. ขอ้ ใดคือมารยาทในการใชห้ อ้ งสมดุ ก. อ่านหนงั สือเสร็จแลว้ วางไวบ้ นโตะ๊ ข. รับประทานอาหารแลว้ วางไวท้ ่ีเดิม ค. นอนหลบั ที่มุมหอ้ งในสุดจะไดไ้ มร่ บกวนผอู้ ่นื ง. ตดั ภาพท่ีตอ้ งการใหป้ ระณีตที่สุดไม่ใหห้ นงั สือเสียหาย ตอบ ก. อ่านหนงั สือเสร็จแลว้ วางไวบ้ นโตะ๊ อธิบาย/เหตผุ ล - 23 ขอ้ ใดคือแหลง่ เรียนรู้ประเภทวตั ถแุ ละสถานท่ีดา้ นศิลปวฒั นธรรม ก. วดั ร่องข่นุ ข. ดอยอินทนนท์ ค. ศูนยก์ ารเรียนชุมชน ง. ศูนยศ์ กึ ษาธรรมชาติ ตอบ ก. วดั ร่องข่นุ อธบิ าย/เหตผุ ล : วดั ร่องขนุ่ เป็นสถานท่ีดา้ นศิลปวฒั นธรรมที่สวยงามมาก ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 95 สำ� นกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ
ระดับประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ 24. ขอ้ ใดกล่าวถึงแหลง่ เรียนรู้ดา้ นอตุ สาหกรรมไม่ถูกตอ้ ง ก. เป็นธุรกิจที่เนน้ การขาย ข. มกี ารนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการผลิต ค. มกี ารผลติ ง่ายและทากนั ในครอบครัว ง. มที ้งั ขนาดเลก็ ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ตอบ ค. มีการผลิตง่ายและทากนั ในครอบครัว อธบิ าย/เหตผุ ล - 25. ขอ้ ใดไม่ใช่แหล่งเรียนรู้ประเภทธรรมชาติ ก. เกาะปันหยี ข. สามพนั โบก ค. เข่ือนขนุ ด่านปราการชล ง. อุทยานแห่งชาติน้าหนาว ตอบ ค. เข่ือนขนุ ด่านปราการชล อธิบาย/เหตผุ ล : แหลง่ เรียนรู้ตามธรรมชาติหมายถงึ สิ่งต่างๆที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติและใหป้ ระโยชนแ์ ก่ มนุษย์ 26. พินิจตอ้ งการเล้ียงกบในบอซีเมนตเ์ ป็นอาชีพเสริม ตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู จากแหลง่ ใดจึงจะเหมาะสมท่ีสุด ก. กศน.ตาบล ข. สานกั งานปศุสตั วอ์ าเภอ ค. สานกั งานสหกรณ์อาเภอ ง. ศนู ยเ์ รียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียง ตอบ ง. ศนู ยเ์ รียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง อธบิ าย/เหตผุ ล - 27. การสืบคน้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ขอ้ เทจ็ จริงต่างๆ คือการบริการดา้ นใด ก. บริการสืบคน้ สารนิเทศ ข. บริการหอ้ งสมุดเคลอื่ นที่ ค. บริการเอกสารสนเทศ ง. บริการเอกสารการวจิ ยั ตอบ ก. บริการสืบคน้ สารนิเทศ อธิบาย/เหตผุ ล : บริการสืบคน้ สารนิเทศ คือ การสืบคน้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ขอ้ เทจ็ จริงต่างๆ 96 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลักสตู ร กศน.2551) รายวิชาทักษะการเรยี นรู้ 28. การจดั การความรู้ประสบการณ์ ที่มอี ยใู่ นตวั คน หมายถงึ ขอ้ ใด ก. การกระจายความรู้ ข. การจดั โปรแกรมความรู้ ค. การจดั การความรู้ ง. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตอบ ค. การจดั การความรู้ อธบิ าย/เหตผุ ล : การจดั การความรู้ หมายถึง การจดั การความรู้ประสบการณ์ ที่มอี ยใู่ นตวั คน และนาความรู้มา แบ่งปัน ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อคนเองและองคก์ ร 29. การจดั การความรู้เพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมายเรื่องใดเรื่องหน่ึง มหี ลกั การสาคญั กี่ประการ ก. 3 ประการ ข. 4 ประการ ค. 5 ประการ ง. 6 ประการ ตอบ ข. 4 ประการ อธิบาย/เหตผุ ล : การจดั การความรู้เพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายเรื่องใดเร่ืองหน่ึง มีหลกั การสาคญั 4 ประการคือ 1. ใหค้ นหลากหลาย ท้งั ดา้ นทกั ษะ วิธีคิด มาทางานร่วมกนั อยา่ งสร้างสรรค์ 2. ร่วมกนั พฒั นาวิธีการทางานรูปแบบใหม่ๆ 3. ทดลองและเรียนรู้ เพ่ือใหไ้ ดว้ ธิ ีการทางานแบบใหม่ 4. นาเขา้ ความรู้จากภายนอกอยา่ งเหมาะสม 30. ขอ้ ใดไม่ใช่หลกั การสาคญั ของการจดั การความรู้เพ่อื ใหบ้ รรลุเป้าหมายเรื่องใดเรื่องหน่ึง ก. ใหค้ นหลากหลาย ท้งั ดา้ นทกั ษะ วิธีคดิ มาทางานร่วมกนั อยา่ งสร้างสรรค์ ข. ร่วมกนั พฒั นาวธิ ีการทางานรูปแบบใหม่ๆ ค. ทดลองและเรียนรู้ เพอ่ื ใหไ้ ดว้ ิธีการทางานแบบใหม่ ง. นาเขา้ ความรู้จากภายนอกทุกเรื่อง ตอบ ง. นาเขา้ ความรู้จากภายนอกทกุ เรื่อง อธิบาย/เหตผุ ล : การจดั การความรู้เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายเรื่องใดเร่ืองหน่ึง มีหลกั การสาคญั 4 ประการคือ 1. ใหค้ นหลากหลาย ท้งั ดา้ นทกั ษะ วิธีคดิ มาทางานร่วมกนั อยา่ งสร้างสรรค์ 2. ร่วมกนั พฒั นาวธิ ีการทางานรูปแบบใหม่ๆ 3. ทดลองและเรียนรู้ เพ่ือใหไ้ ดว้ ิธีการทางานแบบใหม่ 4. นาเขา้ ความรู้จากภายนอกอยา่ งเหมาะสม ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 97 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
แนวข้อสอบ ชดุ ท่ี 3
ระดบั ประถมศึกษา (หลกั สูตร กศน.2551) รายวชิ าทักษะการเรยี นรู้ 1. แหลง่ เรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถุประสงค์ แบ่งเป็นก่ีกล่มุ ก. 3 กลุ่ม ข. 4 กลมุ่ ค. 5 กลมุ่ ง. 6 กล่มุ ตอบ ค. 5 กลุ่ม อธบิ าย/เหตผุ ล : แหล่งเรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถปุ ระสงค์ เป็น 5 กลุ่ม ดงั น้ี 1. กลุม่ บริการขอ้ มูล ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุด อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์ ศนู ยก์ ารเรียน สถานประกอบการ 2. กลุ่มงานศิลปวฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ พพิ ิธภณั ฑ์ อุทยานประวตั ิศาสตร์ อนุสรณ์สถาน อนุสาวรีย์ ศนู ยว์ ฒั นธรรม หอศิลป์ ศาสนสถาน เป็นตน้ 3. กลมุ่ ขอ้ มลู ทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ ภูมิปัญญา ปราชญช์ าวบา้ น ส่ือพ้ืนบา้ น แหล่งท่องเท่ียว 4. กลุ่มสื่อ ไดแ้ ก่ วทิ ยุ วทิ ยชุ ุมชน หอกระจายข่าว โทรทศั น์ เคเบิลทีวี ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ อนิ เทอร์เน็ต หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) 5. กลุ่มสนั ทนาการ ไดแ้ ก่ ศนู ยก์ ีฬา สวนสาธารณะ สวนพฤษศาสตร์ ศูนยน์ นั ทนาการ 2. ขอ้ ใดไม่ใช่แหลง่ เรียนรู้แบ่งตาม ลกั ษณะกายภาพและวตั ถปุ ระสงค์ “กล่มุ บริการขอ้ มูล” ก. หอ้ งสมดุ ข. อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ ค. พพิ ธิ ภณั ฑ์ ง. ศนู ยก์ ารเรียน ตอบ ค. พพิ ธิ ภณั ฑ์ อธบิ าย/เหตผุ ล ดูคาอธิบายจากขอ้ 1 3. การศกึ ษาตามความสนใจ ความตอ้ งการและความถนดั เป็นการเรียนรู้แบบใด ก. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ข. การเรียนรู้โดยบงั เอญิ ค. การเรียนรู้แบบพบกลุ่ม ง. การเรียนรู้แบบโครงการ ตอบ ก. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง อธบิ าย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง หมายถึง การศกึ ษาตามความสนใจ ความตอ้ งการและความถนดั ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 99 สำ� นกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ
ระดบั ประถมศกึ ษา (หลกั สตู ร กศน.2551) รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ 4. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คือขอ้ ใด ก. การเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนตอ้ งศึกษาเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง ข. การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเริ่มตามที่ครูหรือผอู้ ่นื บอกหรือแนะนา ค. กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนทาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ง. กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเร่ิมการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการ ความถนดั ตอบ ง. กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนริเร่ิมการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการ ความถนดั อธิบาย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คือ กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตาม ความสนใจ ความตอ้ งการ ความถนดั 5. การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง คือขอ้ ใด ก. การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนตอ้ งศกึ ษาเรียนรู้ ดว้ ยตนเองตามลาพงั ข. การเรียนรู้ที/ผเู้ รียนริเร่ิมตามท่ีครูหรือบคุ คลอ่นื บอกหรือแนะนา ค. กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนทาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองตามลาพงั โดยไม่พ่งึ พาครูหรือผสู้ อน ง. กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการและความ ถนดั ตอบ ง. กระบวนการเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนริเร่ิมการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการและความ ถนดั อธิบาย/เหตผุ ล : กระบวนการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนริเริ่มการเรียนรู้ดว้ ยตนเองตามความสนใจ ความตอ้ งการ และ ความถนดั มีเป้าหมายในการเรียนรู้ 6. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองมคี วามสาคญั อยา่ งไร ก. เป็นการเรียนรู้ทด่ี ีท่ีสุด ของการเรียนรู้ ท้งั หมด ข. เป็นการเรียนรู้ท่ีสามารถตอบสนองความตอ้ งการของแต่ละบุคคล สู่การเรียนรู้ตลอดชีวติ ค. เป็นการเรียนรู้ จาเป็นตอ้ งเกิดในสถานศกึ ษาเท่าน้นั ง. เป็นการเรียนรู้ ท่ีทาใหผ้ เู้ รียนเป็นผทู้ ่ีมีความสามารถโดยไม่ตอ้ งพ่งึ พาใคร ตอบ ข. เป็นการเรียนรู้ที่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของแต่ละบุคคล สู่การเรียนรู้ตลอดชวี ติ อธบิ าย/เหตผุ ล : การเรียนรู้ดว้ ยตนเองนบั วา่ เป็นคุณลกั ษณะท่ีดีท่ีสุดซ่ึงมอี ยใู่ นตวั บคุ คลทุกคน ผเู้ รียนควร มีลกั ษณะของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ดว้ ยตนเองจดั เป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอด ชีวติ ยอมรับในศกั ยภาพของผเู้ รียนว่าผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถท่ีจะเรียนรู้ส่ิงต่างๆ ได้ ดว้ ยตนเอง 100 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128