ARCHTHESISRMUTT2017ALTERNATIVENETWORKOFMARINESPORTSCLUB PRAGAMASTAVAROM
ALTERNATIVENETWORKOFMARINESPORTSCLUB PRAGAMAS TAVAROMATHESISSUBMITTEDINPARTAILFULFILMENTOFTHEREQUIREMENTFORTHEBACHELORDEGREEOFARCHITECTURE DIVISIONOFARCHITECTURALTECHNOLOGYFACULTYOFARCHITECTURE RAJAMANGALAUNIVERSITYOFTECHNOLOGYTHANYABURI 2017
CONTENTS 02 ทบทวนวรรณกรรมและกรณีศกึ ษาบทคดั ย่อ ก 2.1 ความหมายและคาจากัดความ 2-2กติ ติกรรมประกาศ ข 2.2 ความเป็นมาของโครงการ 2-3สารบัญ ค 2.3 นโยบายและแผนพฒั นาที่เกย่ี วขอ้ ง 2-5สารบัญภาพ ฉ 2-5สารบญั ตาราง ช 2.3.1 แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ 2-6สารบญั แผนภมู ิ ช 2.3.2 แผนพัฒนาการท่องเทีย่ วแห่งชาติ 2-6 2.3.3 แผนพฒั นากลุ่มจงั หวัดภาคใต้ฝัง่ อันดามัน 2-701 บทนา 1-2 2.3.4 แผนพัฒนาจังหวัดภเู ก็ต 2-8 1-4 2.4 ทฤษฎีหรือแนวคดิ ท่เี ก่ียวขอ้ งในการออกแบบ 2-81.1 ความสาคัญของการศึกษา 1-4 2.4.1 ความหมายของกีฬาทางทะเล 2-161.2 วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา 1-5 2.4.2 หลักการออกแบบ 2-221.3 ขอบเขตของการศึกษา 1-6 2.5 กฎหมายท่เี กย่ี วข้อง 2-221.4 ข้ันตอนและวิธกี ารศึกษา 2.5.1 กฎกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 2-241.5 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 2.5.2 กฎกระทรวงใหใ้ ช้บังคบั ผงั เมืองรวมจังหวัดภเู ก็ต 2-25 2.5.3 กฎกระทรวงฉบบั ที่ 55 2-33 2.6 กรณศี ึกษาอาคารตัวอย่าง 2-33 2.6.1 CENTRE OF WATER AND ICE SPORTS 2-35 2.6.2 Casa de la Flora 2-37 2.6.3 DANISH NATIONAL MARITIME MUSEUM ค
03 การศึกษาและวิเคราะหท์ ต่ี ัง้ โครงการ CONTENTS3.1 ศึกษาและวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบเมอื งจังหวัดภูเกต็ 3-2 04 การกาหนดรายละเอยี ดโครงการ 3.1.1 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ 3-2 3.1.2 สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจ 3-6 4.1 ความเป็นมาของโครงการ 4-3 3.1.3 โครงสร้างทางสังคม 3-7 3.1.4 โครงสร้างทางวัฒนธรรม 3-9 4.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 4-4 3-123.2 การศกึ ษาและวิเคราะห์ทาเลทีต่ ัง้ โครงการ 3-12 4.3 การกาหนดโครงสรา้ งการบริหาร 4-5 3.2.1 การวเิ คราะห์เพอ่ื การเลือกยา่ นที่ต้งั ในจงั หวดั ภูเก็ต 3-18 3.2.2 การวิเคราะหท์ าเลที่ตง้ั โครงการ อาเภอเมืองภูเกต็ 3-20 4.4 โครงสร้างการบรหิ ารงาน 4-6 3.2.3 หาดกะตะ 3-22 3.2.4 การวิเคระห์ SWOT ของจังหวัดภูเก็ต 3-24 4.5 รายละเอยี ดผู้ใช้โครงการ 4-12 3-243.3 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง 3-26 4.5.1 ประเภทผู้ใช้งาน 4-12 3.3.1 ผงั สกี ารใชท้ ี่ดิน จงั หวัดภเู กต็ 3-26 3-27 4.6 การกาหนดรายละเอยี ดและกิจกรรมของโครงการ 4-173.4 ศึกษาและวิเคราะหีท์ ่ีตงั้ โครงการ 3-30 3.4.1 สภาพที่ต้ังโครงการ 4.6.1 การกาหนดกิจกรรมภายในโครงการ 4-17 3.4.2 แสดงการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทมี่ ผี ลต่อท่ีตั้งโครงการ 3.4.3 สรุปการเลือกตาแหนง่ ที่ตั้งโครงการ 4.6.2 การกาหนดรายละเอยี ดเกี่ยวกับพื้นทใ่ี ช้สอยโครงการ 4-18 4.7 สรุปพื้นท่ใี ช้สอยโครงการ 4-21 4.8 การประมาณการงบประมาณกอ่ สรา้ ง 4-22 4.8.1 ราคาท่ดี ิน 4-22 4.8.2 คา่ กอ่ สร้างอาคาร 4-22 4.8.3 รายไดโ้ ครงการายปี 4-23 4.9 ระบบวิศวกรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 4-24 ง
06 บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ 6.1 สรปุ ผลการศกึ ษา 6-1 6.2 ขอ้ เสนอแนะ 6-205 แนวคดิ และผลงานการออกแบบ บรรณานุกรม ซ ประวตั ผิ ู้จดั ทา ฌ5.1 แนวความคิดในการออกแบบ 5-1 ภาคผนวก ญ5.2 การสร้างทางเลอื กในการออกแบบ 5-3 5-3 5.2.1 ทางเลอื ก Schematic 1 5-4 5.2.2 ทางเลือก Schematic 2 5-5 5.2.3 ทางเลอื ก Schematic 3 5-65.3 สรปุ แบบทางเลือก 5-85.4 การพัฒนาแบบร่างทางสถาปัตยกรรม 5-105.5 ผลงานการออกแบบ 5-155.6 หุ่นจาลอง 5-205.7 แบบนาเสนอ CONTENTS จ
CONTENTS ภาพท่ี 3.1 แสดงขอบเขตทต่ี ้ังจังหวัดภเู ก็ต 3-3 ภาพท่ี 3.2 ลักษณะภูมปิ ระเทศจังหวดั ภเู กต็ 3-4ภาพที่ 1.1 เรอื ใบและนักกีฬาเซริ ์ฟบอร์ด 1-3 ภาพท่ี 3.3 ประเพณีจงั หวดั ภูเก็ต 3-9ภาพท่ี 2.1 ภูเกต็ เมืองท่องเทยี่ วนานาชาติ 2-7ภาพท่ี 2.2 การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ 2-7 ภาพที่ 3.4 อาคารเมืองเก่าภเู ก็ต 3-10ภาพที่ 2.3 ขนาด Surf Board 2-9ภาพที่ 2.4 รัชกาลท่ี9 กาลังแขง่ เรอื ใบ 2-12 ภาพที่ 3.5 หาดป่าตอง และ หาดกะตะ 3-12ภาพท่ี 2.5 รชั กาลที9่ และ เรือใบ 2-13ภาพที่ 2.6 สว่ นประกอบของเรอื ใบ 2-14 ภาพท่ี 3.6 หาดปา่ ตอง 3-14ภาพที่ 2.7 ที่เก็บSurf Board 2-16ภาพท่ี 2.8 ที่เกบ็ เรือใบ 2-17 ภาพที่ 3.7 หาดกะตะ 3-16ภาพท่ี 2.9 โครงการ CENTRE OF WATER AND ICE SPORTS 2-33ภาพที่ 2.10 โครงการ CENTRE OF WATER AND ICE SPORTS 2-34 ภาพท่ี 3.8 แสดงระบบการคมนาคมในเขตอาเภอเมืองภูเก็ต 3-19ภาพท่ี 2.11 โครงการ Casa de la Flora 2-35ภาพที่ 2.12 โครงการ Casa de la Flora 2-36 ภาพท่ี 3.9 ผังสี จังหวัดภเู กต็ 3-24ภาพที่ 2.13 โครงการ DANISH NATIONAL MARITIME MUSEUM 2-37ภาพที่ 2.14 โครงการ DANISH NATIONAL MARITIME MUSEUM 2-38 ภาพท่ี 3.10 หาดกะตะ 3-25 ภาพท่ี 3.11 หาดกะตะ 3-26 ภาพท่ี 3.12 แสดงการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมที่มผี ลต่อท่ตี ้ังโครงการ 3-27 ภาพที่ 3.13 แสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มผี ลตอ่ ทต่ี ง้ั โครงการ 3-28 ภาพที่ 3.14 สภาพแวดลอ้ มใกล้เคียงที่ตงั้ โครงการ 3-29 ภาพท่ี 3.15 หาดกะตะ 3-30 ภาพท่ี 4.1 โครงสรา้ งฐานราก 4-24 ภาพที่ 4.2 พ้นื แผน่ เหลก็ ประกอบ 4-25 ภาพท่ี 4.3 พนื้ ทางเดียว 4-26PHOTOS ภาพท่ี 4.4 พ้ืนคอนกรตี วางบนดิน 4-26 ภาพที่ 4.5 ระบบโครงสร้างผนงั กระจก 4-28 ภาพที่ 4.6 บอ่ ดกั ท่อไขมนั 4-30 ภาพที่ 4.7 ถังดบั เพลิง 4-34 ฉ
CONTENTS CHARTTABLE แผนภมู ิท่ี 3.1 แสดงรายได้จากการทอ่ งเท่ียวจงั หวดั ภเู ก็ต 3-6 แผนภูมทิ ี่ 3.2 แสดงขอ้ มูลกลุ่มนักนักทอ่ งในจังหวดั ภูเก็ต 3-8ตารางที่ 2.1 แสดงประเภทของเรอื ใบ (ในประเทศไทย) 2-15 แผนภูมิท่ี 3.3 เกณฑก์ ารเลอื กย่านที่ตง้ั ในจังหวัดภูเกต็ 3-17 แผนภูมิท่ี 3.4 แสดงความสงู ของคลืน่ ทีห่ าดกะตะ 3-21ตารางท่ี 2.2 กฎกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 2-22 แผนภมู ทิ ่ี 4.1 แสดงแผนผังองคก์ รการบรหิ ารงานของโครงการ 4-6 แผนภมู ทิ ี่ 4.2 แสดงการเปรยี บเทียบสดั สว่ นจานวนพนกั งานในฝ่ายต่าง ๆ 4-11 แผนภมู ิที่ 4.3 แสดงสดั สว่ นประเภทผู้ใช้โครงการ 4-12 แผนภูมิท่ี 4.4 แสดงสดั สว่ นพน้ื ท่ีใช้สอยโครงการ 4-21ตารางที่ 2.3 กฎกระทรวงใหใ้ ชบ้ งั คับผงั เมืองรวมจังหวดั ภเู ก็ต 2-24ตารางที่ 2.4 กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 2-25ตารางท่ี 2.5 แสดงการเปรยี บเทยี บกรณีศกึ ษา 2-39ตารางที่ 2.6 สรุปขอ้ ดีขอ้ เสียของกรณีศึกษา 2-41ตารางท่ี 4.1 กาหนดอัตรากาลังของเจ้าหนา้ ที่ 4-7ตารางท่ี 4.2 ชว่ งเวลาของผู้ใชโ้ ครงการ 4-13ตารางท่ี 4.3 ช่วงเวลาของผู้ใช้โครงการ 4-14ตารางที่ 4.4 เวลาและกจิ กรรมของผ้ใู ชโ้ ครงการ 4-16ตารางที่ 4.5 แสดงรายละเอยี ดเกี่ยวกับพ้ืนทใี่ ชส้ อยโครงการ 4-18ตารางที่ 4.6 แสดงสรปุ พืน้ ท่ีใชส้ อยโครงการ 4-21 ช
01บทนำ ท่ีมา : www.unsplash.com , สืบคน้ เมื่อ กนั ยายน 2560 1-1
ท่มี า : www.unsplash.com , สบื ค้นเม่อื กนั ยายน 2560 1.1 ควำมสำคัญของกำรศึกษำ ความอุดมสมบูรณ์และความสวยงามของ ทะเลไทยและพื้นท่ีบริเวณชายฝั่งทาให้ประเทศไทย กลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีช่ือเสียงที่สุดแห่งหน่ึง ของโลก ชายฝ่ังทะเลท้ังด้านอ่าวไทย และชายฝ่ัง ทะเลอันดามัน ได้ถูกนามาพัฒนาทางการท่องเท่ียว อย่างต่อเนื่อง และสร้างรายได้เข้าประเทศเป็น จานวนมาก 1-2
ภูเก็ต เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในทะเลอันดามัน มีกิจกรรมท่องเท่ียวทางทะเลที่หลากหลาย หนึ่งในกิจกรรมที่ได้รับความนิยมจากท้ังชาวไทยและต่างประเทศ นั่นคือ การเล่นเรือใบและการเล่นกระดานโต้คล่ืน (SURF) มีการจัดการแข่งขันท่ีมีชื่อเสียงระดับโลกหลายรายการ แต่นักท่องเท่ียวหรือมือใหม่ท่ีพึ่งหัดเล่นยังขาดความรแู้ ละทกั ษะในการเล่นกีฬาทางทะเล จากประเด็นเรื่องกีฬาทางทะเลทาให้เกิดการศึกษาเกี่ยวกับที่พักเก็บตัวสาหรับนักกีฬาและเป็นที่ฝึกหัดสาหรับผู้ท่ีฝึกเล่นใหม่และการดูแลเร่ืองความปลอดภัยท้ังในการฝึกซ้อมและในการแข่งขันอานวยความสะดวกในเร่ืองอุปกรณ์ และส่งเสริมการท่องเท่ียวของจังหวดั ภเู กต็ เพิม่ ข้ึน ภาพที่ 1.1 : เรือใบและนกั กีฬาเซริ ฟ์ บอรด์ ที่มา : www.unsplash.com , สบื ค้นเมื่อ กนั ยายน 2560 1-3
ทมี่ า : www.unsplash.com , สบื คน้ เม่ือ กนั ยายน 25601.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 เพ่อื ศึกษาและรวบรวมข้อมลู ถงึ ปญั หาของกฬี าทางทะเล 1.3 ขอบเขตของกำรศกึ ษำ 1.2.2 เพอื่ ศกึ ษาหลกั การออกแบบและทฤษฎที ่เี กีย่ วขอ้ งกับกฬี าทางทะเล 1.2.3 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การเลือกท่ีต้ังโครงการจากแนวโน้มและปริมาณ 1.3.1 ศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับกฬี าทางทะเลจานวนนักท่องเทยี่ วทีเ่ ล่นกีฬาทางทะเล 1.3.2 ศึกษาหลักการออกแบบและทฤษฎีทีเ่ กย่ี วข้องกบั โครงการ 1.2.4 เพื่อศึกษาการกาหนดรายละเอียดของโครงการ รายละเอียดโปรแกรม 1.3.3 ศึกษาและวิเคราะห์ที่ต้ังโครงการบริเวณท่ีมีนักท่องเที่ยวท่ีเล่นในการออกแบบพ้ืนทโ่ี ครงการ กฬี าทางทะเล 1.2.5 เพ่ือนาเสนอแนวคิดการออกแบบ โดยนาเสนอเป็นข้อมูลเอกสารผลงาน 1.3.4 ศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื กาหนดรายละเอียดโครงการ การออกแบบ และหนุ่ จาลองทางสถาปัตยกรรม 1-4
1.4 ขั้นตอนและวิธกี ำรศึกษำทีม่ า : www.unsplash.com , สบื คน้ เมือ่ กนั ยายน 25601) ประเด็น 2) สมมุติฐาน 3) รวบรวมข้อมูล 4) วิเคราะห์ 5) สังเคราะห์-ที่ พั ก เ ก็ บ ตั ว ส ำ ห รั บ -เ กิ ด ส ถ ำ ปั ต ย ก ร ร ม ที่ -กลุ่มของนกั กฬี ำ -ประเภทและลักษณะของ -สถำปัตยกรรมที่สำมำรถนักกีฬายังไม่มากพอต่อจานวน ส า ม า ร ถ เ ป็ น ทั้ ง ท่ี พั ก แ ล ะ ศู น ย์ -กล่มุ ของนักท่องเท่ยี ว กฬี าทางทะเล เ ป็ น ท้ั ง ท่ี พั ก แ ล ะ ศู น ย์ ฝึ ก ซ้ อ มนกั กฬี าท่ีมาแขง่ ในแต่ละครงั้ ฝึกซอ้ มทางดา้ นกฬี าทางทะเล -ประเภทและลักษณะของ -พื้ น ท่ี ท ำ ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ทางดา้ นกฬี าทางทะเล-ควำมปลอดภัยด้ำนกีฬำ กฬี าทางทะเล โครงการทางทะเลยังไมเ่ ป็นมาตรฐาน -พื้ น ท่ี ท ำ ก ำ ร ศึ ก ษ ำ โครงการ -อำคำรตัวอยำ่ งโครงกำร 1-5
ท่มี า : www.unsplash.com , สบื ค้นเม่อื กนั ยายน 2560 1.5 ประโยชนท์ ่ีคำดวำ่ จะไดร้ ับ 1.5.1 ได้เรียนรู้และทราบถึงลักษณะของที่ตั้งโครงการและบริเวณ โดยรอบ 1.5.2 ได้เรียนรู้และทราบถึงทฤษฎีและหลักการออกแบบที่เก่ียวข้อง กับโครงการ 1.5.3 ไดเ้ รยี นร้แู ละทราบถงึ ความสาคัญในการสรา้ งโครงการ 1.5.4 ไดเ้ รียนรแู้ ละทราบถงึ รายละเอียดตา่ งๆในการสร้างโครงการ 1.5.5 ได้เรียนรู้และทราบถึงแนวคิดท่ีจะนาไปใช้ในการออกแบบและ พฒั นาผลงานการออกแบบในรูปแบบของสถาปัตยกรรม 1-6
02 ทบทวนวรรณกรรมและกรณศี กึ ษาท่มี า : www.unsplash.com, สบื คน้ เม่อื กนั ยายน 2560 2-1
2.1 ความหมายและคาจากันความALTERNATIVE NETWORKOF MARINE SPORTS CLUBโครงการพัฒนาสโมสรทางเลอื กและเครอื ข่ายนักกีฬาทางทะเล หมายถึง สถานท่ีเก็บตัวฝึกซ้อมกีฬาทางทะเล เช่น SURF และ เรือใบสาหรับนกั กฬี าทจ่ี ะมาแข่งขนั จะมที ัง้ ที่พกั และสถานที่ฝึกซ้อม และเป็นแหล่งเรียนรู้ทักษะเบ้ืองต้น และเรียนรู้เรื่องความปลอดภัย สาหรับผู้ที่สนใจอยากเล่น SURFและเรือใบ ทมี่ า : www.unsplash.com, สบื คน้ เม่อื กันยายน 2560 2-2
2.2 ความเปน็ มาของโครงการ ทรัพยากรการท่องเท่ียวชายฝ่ังทะเลของประเทศไทย การท่องเที่ยวทางธรรมชาติเป็นกิจกรรมนันทนาการของมนุษย์ โดยใช้ความได้เปรียบของลักษณะทาง ภูมิศาสตรใ์ นแต่ละพนื้ ทีเ่ ปน็ เคร่ืองมือเพื่อหาผลประโยชน์ และตอบสนองความตอ้ งการของนักท่องเท่ียว ความได้เปรียบ ทางภมู ศิ าสตรอ์ ันหมายถึง ภูเขา นา้ ตก นา้ พรุ อ้ น เกาะ หาดทราย ชายทะเล และทรัพยากรใตท้ ะเล เป็นตน้ สาหรับประเทศไทยมีลักษณะทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นชายฝ่ังทะเลยาวประมาณ 2,815 กิโลเมตร มีฝั่งทะเล 2 ฝ่ัง คอื ชายฝั่งทะเลอา่ วไทย และชายฝ่ังทะเลอันดามัน ในส่วนของชายฝ่ังทะเลอันดามันอยู่ในอ่าวไทยฝ่ังตะวันตกโดยมี อันดามันเหนือ และอันดามันใต้ พื้นที่บริเวณชายฝั่งเหล่าน้ีอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติจึงถูกนามาใช้ประโยชน์เพื่อ พัฒนาประเทศมาในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวทางทะเลซึ่งสร้างรายได้เข้าประเทศเป็น จานวนมาก (www.marinepolicy.trf.or.th , สบื คนเม่อื 5 สงิ หาคม 2560)ความเปน็ มาของโครงการ\" ภูเก็ต \" มีความอุดมสมบูรณ์และความสวยงามของทะเลไทยและพ้ืนท่ีบริเวณชายฝั่งทาให้ประเทศไทย กลายเป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วที่มชี ือ่ เสยี งที่สุดแหง่ หนง่ึ ของโลก ชายฝงั่ ทะเลอันดามันในมหาสมุทรอินเดีย ได้ถูกนามาพัฒนา ทางการท่องเท่ียวอย่างต่อเนื่อง และสร้างรายได้เข้า ประเทศเป็นจานวนมาก กิจกรรมการท่องเท่ียวทางทะเลที่สาคัญ ได้แก่ กิจกรรมดาน้าดูปะการัง กิจกรรมพักผ่อนและการชมทิวทัศน์ ชายหาด การชมหมู่บ้านชาวประมงและชาวเล กิจกรรมการแล่นเรือ การเล่นกีฬาทางน้า การตกปลา เป็นต้น ในแต่ละปีประเทศไทยสามารถรองรับจานวนภาพท่ี 2.4 : ทะเล นักท่องเท่ียวไดเ้ ปน็ จานวนมาก ทง้ั นกั ทอ่ งเที่ยวท่ีเดนิ ทางมาจากตา่ งประเทศ และนักทอ่ งเท่ียวชาวไทยเกิดเป็นรายได้เข้าทีม่ า : สู่ประเทศ อกี ทัง้ กอ่ ให้เกดิ การหมุนเวยี นเงินตราภายในประเทศ และสรา้ งอาชพี แก่ประชาชนในพ้นื ทีเ่ ปน็ จานวนมาก 2-3
ทมี่ า : www.unsplash.com , สืบค้นเมอื่ กันยายน 2560 ภูเกต็ จดั วา่ เป็นอีกหน่ึงเมอื งที่มีชื่อเสียงในด้าน จึ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น แ น ว คิ ด ใ น ก า ร ศึก ษ า ภูเก็ต ได้ช่ือว่าเป็นไข่มุกอันดามัน เมืองแห่ง กีฬาทางน้าอย่างการเล่นเซิร์ฟ ซ่ึงทุกปี แบรนด์กีฬา เก่ียวกับกีฬาทางทะเลของจังหวัดภูเก็ต รวมไปถึง ทางน้าช่ือดังอย่าง Quiksilver ก็ได้มีการจัดงานเซิร์ฟ ส่งเสริมนักกีฬาของประเทศไทยใหม้ ีโอกาสพัฒนาฝีมือการท่องเท่ียวท่ีมีช่ือเสียงรู้จักกันท่ัวโลก ภูเก็ตเป็น นานาชาติ “Quiksilver Thailand Surf Competi- การแข่งขันและยังสามารถประชาสัมพันธ์ให้คนท่ัวไปเกาะขนาดใหญ่อันดับหน่ึงของประเทศพื้นท่ีประมาณ tion” โดยทาการจัดขึ้นติดต่อกันมา 3 ปีแล้ว เพื่อ ได้รู้ว่าภูเก็ตเป็นเมืองแห่งชายหาดที่สามารถเล่นเซิร์ฟ543 ตร.กม. ต้ังอยู่ทางชายฝ่ังทะเลตะวันตกของ แนะนาการเล่นเซิร์ฟให้แพร่หลายมากข้ึนและอีกหน่ึง และเล่นเรือใบได้ และยังเป็นการช่วยส่งเสริมการประเทศไทยในน่านน้าทะเลอันดามัน ของมหาสมุทร กิ จ ก ร ร ม ที่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม จ า ก ทั้ ง ช า ว ไ ท ย แ ล ะ ท่องเที่ยวให้กับภูเก็ตในช่วงฤดูท่ีนักท่องเที่ยวน้อยอีกอินเดีย เกาะภเู กต็ มีลักษณะเว้าเป็นอ่าวไปทั่วเกาะ ซึ่งทา ต่างประเทศ น่ันก็คือ การเล่นเรือใบ เพ่ือชมความงาม ด้วยให้เกิดชายหาดท่ีสวยงามมากมาย ชายหาดที่มี ของท้องทะเลไทยและเกาะแก่งต่างๆ รอบภูเก็ต ยังมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ หาดป่าตอง หาดกะ การจดั การแขง่ ขันทมี่ ีชือ่ เสียงระดับโลกหลายรายการตะ หาดกะรน หาดกมลา และหาดในทอน เกาะน้ีโอบลอ้ มดว้ ยนา้ ทะเลสเี ขยี วมรกตและมหี าดทรายขาวเนียน 2-4
2.3 นโยบายและแผนพัฒนาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ยุทธศาสตร์ท่ี 4 : การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาเพ่ือเป็น ส่วนสาคญั ในการสร้างมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ 2.3.1 แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี 6 (พ.ศ.2560-2564) มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาแบบครบวงจร สามารถสร้าง ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : การพัฒนากีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและต่อ มลู คา่ เพมิ่ และสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ของประเทศ ยอดเพ่ือความสาเร็จในระดับอาชพี แนวทางการพัฒนา มุ่งเน้นด้านการสร้างและการพัฒนานักกีฬาของชาติให้ประสบ - ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์กิจกรรมทางการกีฬาท่ีจัดขึ้นโดย ความสาเรจ็ ในการแข่งขนั ในระดบั ต่างๆ เพอ่ื สรา้ งชอ่ื เสียง เกียรติยศและ ทงั้ ภาครฐั และเอกชนเพอื่ เพมิ่ จานวนนกั ท่องเท่ียวเชิงกฬี า เกยี รติภมู ิของประเทศชาติใหท้ ดั เทยี มกับนานาชาติ - ความพร้อมและผลักดันให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการ จัดการแขง่ ขนั กีฬา การประชมุ กีฬา และมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติ แนวทางการพัฒนา - ผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคด้านการเก็บ - ส่งเสริมการส่งแข่งในระดับนานาชาติและยกระดับการเตรียม ตวั และฝึกซ้อมสาหรบั นักกฬี าต่างชาติ นักกีฬาเพ่ือเพิ่มโอกาสความสาเร็จโดยการพัฒนามาตรฐานของการ เตรียมตวั นกั กฬี าสาหรับการแข่งขนั ในเวทีระดับนานาชาติ - ยกระดับการพัฒนาบุคลากรการกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและ อาชีพใหม้ ีมาตรฐานทัดเทยี มสากล 2-5
2.3.2 แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2560-2564) 2.3.3 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน พ.ศ.2561-2564 ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเที่ยวไทย ผ่าน ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาคุณภาพด้านการท่องเท่ียวให้มีมาตรฐานการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริม วิถีไทย และการสร้างความเชื่อม่ันของ อย่างยัง่ ยนืนกั ทอ่ งเทย่ี ว กลยุทธ์ 1.1 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพพ้ืนท่ีให้สามารถรองรับการ การพัฒนาการตลาดของการท่องเที่ยวไทยอย่างมีสมดุล เพื่อส่งเสริม ขยายตัวดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว ให้เพียงพอและเหมาะสมภาพลักษณ์แหลง่ ท่องเท่ยี วคณุ ภาพผ่านการส่งเสริมการตลาดเฉพาะกลุ่ม -พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวให้สอดรับกับภูมิ แนวทางการพัฒนา สังคม อัตลักษณ์อันดามัน ให้คงความสวยงาม สะอาด และความต้องการของ - เสรมิ สรา้ งภาพลักษณค์ ุณภาพและความปลอดภัยใหก้ ับประเทศไทย ทอ้ งถิ่น -ส่งเสริมการตลาดเฉพาะกลุ่มเพื่อดึงดูดการเดินทางท่องเที่ยว และกระตุ้นการใช้จา่ ยของนักท่องเทย่ี วกลุ่มตา่ งๆ กลยุทธ์ 1.2 การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยและ สขุ อนามยั ส่งิ แวดล้อมใหไ้ ด้ มาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมนั่ แก่นักท่องเทยี่ ว -สร้างความเช่ือม่ันในด้านความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินแก่ประชาชน และ นักท่องเทย่ี ว ทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ 2-6
2.3.4 แผนพัฒนาจังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2561-2564 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ท่ี 4 : ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ฟ้ื น ฟู แ ล ะ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีสมดุล/ยงั่ ยืน และเปน็ มติ รต่อส่งิ แวดล้อมวิสัยทศั น์ : “ภูเกต็ เมอื งท่องเทย่ี วนานาชาติ มงุ่ สูจ่ ังหวดั ท่ีพฒั นาแลว้ ” ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : การเสริมสร้างเศรษฐกิจท่ีเข้มแข็งบนฐานการ กลยุทธ์ - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเพ่ือรักษาทอ่ งเทีย่ วและแขง่ ขันไดอ้ ย่างยง่ั ยืนเพอ่ื รองรบั การพฒั นาระดับนานาชาติ สมดุลของระบบนิเวศ และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความ กลยุทธ์ ย่งั ยืนและเป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม - พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของจังหวัดสู่เมืองการท่องเที่ยวระดบั นานาชาติภาพท่ี 2.1 : ภเู ก็ตเมอื งท่องเทีย่ วนานาชาติ ภาพที่ 2.2 : การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมา : www.travelonline.com , สบื คน้ เมอ่ื กันยายน 2560 ที่มา : www.travelonline.com , สืบค้นเมอื่ กนั ยายน 2560 2-7
2.4 ทฤษฎหี รือแนวคิดท่เี กย่ี วขอ้ งในการออกแบบ 2.4.1 ความหมายของกีฬาทางทะเล กีฬาทางทะเล เป็นกิจกรรมหรือการเล่นเพื่อความสนุกเพลิดเพลินหรือเพ่ือเสริมสร้าง ความแข็งแรงของร่างกาย หรือเพื่อผ่อนคลายความเคร่งเครียดเป็นกิจกรรมท่ีต้องอาศัย คล่ืนลมจากทะเลและไม่สามารถกาหนดเวลาีเล่นท่ีแน่นอนได้ ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ ณ ช่วงเวลานั้นๆทม่ี า : www.unsplash.com , สืบค้นเมือ่ กันยายน 2560 2-8
2.4.1.1 เซิร์ฟบอร์ด (Surf Board) Short Board 1) ประวัติกีฬาเซิร์ฟบอร์ด (Surfing) 5-7 ฟุต การเล่นเซิร์ฟหรือการเล่นโต้คลื่นน้ัน มีท่ีมาจากประเพณีโบราณด้ังเดิมของชาวพ้ืนเมืองของเกาะฮาวายและเกาะตาฮิติ ประเทศ ภาพที่ 2.3 : ขนาด Surf Boardอเมรกิ า ซงึ่ ชาวพ้ืนเมืองจะเล่นโต้คลื่นบนกระดานโต้คล่ืนที่ทาจากไม้เน้ือ ท่ีมา : www.facebook.com/hypermansport , สืบคน้ เมอ่ื กันยายน 2560แข็งประเภทต่างๆ โดยเฉพาะไม้เน้ือแข็งชนิดหนึ่งท่ีข้ึนบริเวณเกาะฮาวาย 2-9ที่เรยี กวา่ “ไม้โคอา Koa” สมัยนี้สามารถชมกระดานโต้คล่ืนท่ี ผ ลิ ตจากไม้ ท่ีทาข้ึนในสมัยศตวรรตท่ี 15 ได้ท่ีพิพิธภัณฑ์บิชอฟ โฮโนลูลูบนเกาะฮาวาย Surf Board กระดานที่มีลักษณะแคบและยาว ใช้เล่นบนคล่ืนโดยผู้เล่นยืนทรงตัวบนแผ่นกระดานแล้วให้คล่ืนหนุนเคลื่อนไปเรียกการเล่นเชน่ น้นั ว่า การเล่นกระดานโต้คล่ืน เสน่ห์ของกีฬาชนิดนี้ คือ ไม่มีตารางเวลาที่แน่นอนในการเล่นทุกคนต้องรอจังหวะเพ่ือให้เจอกับคลื่นท่ีดีที่สุด บางคร้ังพายุเข้าต้องหยดุ และเล่อื นออกไป บางวนั ไม่มีคล่ืนแต่ฝึกได้ จะเกิดอันตรายหากมีคล่ืนใหญ่และสามารถเล่นในขณะฝนตกได้ช่วงท่ีเล่นได้ คือเดือนพ. ค. -ต. ค. เ พร าะ มีค ล่ื น จา นว นม าก ( www.thairath.co.th ,6 สิงหาคม 2560)
2.4.1.2 เรือใบ (Sailing boat) 1) ประวัติกีฬาเรือใบ “การแข่งขันเรือใบแห่งชาติ” เร่ิมมีขึ้นเป็นคร้ังแรก ในปี พ.ศ. 2394 จากสหรฐั อเมริกาไปยังประเทศองั กฤษ สมาชิกของสโมสรเรือใบแห่งนิวยอรก์ ได้ สร้างเรือใบซึง่ มีความยาวทั้งส้นิ 101 ฟุต เป็นเรือที่มชี ือ่ เสยี งมากของนวิ ยอร์ค เพื่อส่งเข้าแข่งขันและเป็นผชู้ นะเลศิ ไดถ้ ว้ ยรางวัลท่ชี ่อื วา่ ฮันเดรด กนี เนีย คพั (Hundred Guinea Cup)หลังจากท่ไี ดม้ ีการแข่งขนั เรอื ใบ แห่งชาตขิ ึ้นแลว้ ประเทศต่างๆในทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกาไดม้ กี ารแขง่ ขัน เรือใบเพ่ือชิงชนะเลิศถ้วยต่างๆ เช่น อเมริกาคัพ ( America's Cup)แคนาดาคัพ (Canada's Cup) สแกนดิเนเวียนโกล์คัพ (Scandinavian Gold Cup)การแขง่ ขันเรอื ใบจึงไดเ้ ริ่มต้ังแตน่ ้ันมาและได้บรรจุไว้ในการแข่งขันระหว่างชาติที่สาคัญๆ เช่นการแข่งขันกีฬาแหลมทอง (ซีเกมส์) เอเชียนเกมส์และการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก(www.sat.or.th , สืบค้นเม่อื 5 กนั ยายน 2560) ที่มา : www.unsplash.com , สบื คน้ เมื่อ กนั ยายน 2560 2-10
ที่มา : www.unsplash.com , สืบคน้ เมอ่ื กนั ยายน 2560 เรือใบเป็นเรือชนิดหน่ึงจะใช้ผ้าใบ ซึ่งอยู่ติดกับเสากระโดงเรือ กินลมในการเคลื่อนที่ ส่ิงต้องคานึงคือ ความปลอดภัย ในการเล่นเรือใบขนาดเล็กน่ันมีโอกาส ที่เรือจะล่มได้ง่าย ดังนั้นจึงควร สวมใส่ชูชีพอย่ตู ลอดเวลา เพอื่ ความปลอดภยั เนอ่ื งจากเวลาเรอื ลม่ แล้วสามารถช่วยให้เราสามารถลอยตัวอยู่ในน้าได้ทัง้ เพอื่ รอคนมาชว่ ยเหลอื หรือเพื่อทาการกเู้ รอื ก็ตาม 2-11
2) กีฬาเรือใบกับในหลวงรัชกาลท่ี 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช หรือในหลวงรัชกาลที่ 9 ของคนไทยท้ังประเทศโปรด “เรือใบ” เป็นกีฬาพิเศษที่พระองค์ท่านสร้างความโดดเด่นด้วยพระปรีชาของพระองค์เองมานานทั้งยังโปรดท่ีจะต่อเรือใบพระทีน่ ่งั ดว้ ยพระองคเ์ อง โดยเรือใบลาที่พระองค์ทรงต่อด้วยพระหัตถ์ คือ เรือใบพระท่ีน่ังเอน็ เตอร์ไพรส์ และได้พระราชทานช่ือว่า “ราชปะแตน”และต่อมาทรงต่อเรือใบประเภท OK ข้ึนอีก พระราชทานชื่อว่า“นวฤกษ์” ซ่ึงเรือนวฤกษ์น้ีเองทรงนามาใช้แข่งขันกีฬาแหลมทอง คร้ังท่ี 4 หรือการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ในปัจจุบันและเรือใบประเภท “มด” สาหรับท่ีมาของชื่อ “มด”นั้น มีรับสั่งว่า“ที่ชื่อมดน้ันเ พ ร า ะ มั น กั ด เ จ็ บ ๆ คั น ๆ ดี เ รื อ ใ บ ม ด ไ ด้ ท ร ง พั ฒ น า แ บ บ ข้ึ น ม า ใ ห ม่กลายเป็น “ซูเปอร์ มด”และ “ไมโครมด” พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดุลยเดช ทรงนาเรือ “มด” ไปจดลิขสิทธ์ิเปน็ สากลประเภท Inter-national Moth Class ทีป่ ระเทศอังกฤษ ภาพที่ 2.4 : รชั กาลท9ี่ กาลังแข่งเรอื ใบ ที่มา : www.oknation.nationtv.tv , สบื คน้ เมื่อ กนั ยายน 2560 2-12
ภาพที่ 2.5 : รัชกาลท่9ี และ เรอื ใบ (บน , ลา่ ง) นอกจากเป็น “นักประดิษฐ์” ท่ีทรงพระปรีชาสามารถมากแล้ว ยังทรงเป็นทม่ี า : www.oknation.nationtv.tv , สบื ค้นเมอ่ื กันยายน 2560 นักกฬี าที่ประสบความสาเร็จมากมายเชน่ กนั จนประวัติศาสตร์วงการกีฬาระดับโลกต้อง จารึกไว้ในวันท่ี 16 ธันวาคม 2510 เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดดุลย เดช และสมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอเจ้าฟ้าอบุ ลรตั นราชกัญญาฯ ทรงคว้าชัยการแข่งขันเรือใบ ประเภท OK ในการแขง่ ขนั กีฬาแหลมทอง ครงั้ ที่ 4 ทป่ี ระเทศไทย ในคร้ังนั้นพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกและพระองค์เดียวในเอเชียที่ ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันเรือใบในระดับนานาชาติ ยิ่งไปกว่าน้ันยังเป็น พระมหากษัตริย์ไทยเพยี งพระองค์เดียวทท่ี รงให้ความสนพระราชหฤทัยกฬี าอย่างจริงจัง พระองค์ท่านทรงเคารพในกติกาอย่างเคร่งครัด มีอยู่คร้ังหน่ึงเสด็จออกจากฝั่ง ไปได้ไม่นานก็ทรงแล่นเรือใบเข้าฝั่ง ก่อนจะตรัสกับผู้ที่มาเข้าเฝ้าฯ ว่า เสด็จฯ กลับเข้าฝ่ัง เพราะเรือใบพระท่ีน่ังแล่นไปโดนทุ่นเข้า ซึ่งในกติกาการแข่งเรือใบถือว่าฟาวล์ ท้ังๆ ท่ีไม่มี ใครเห็น นอกจากเรื่องท่ีทรงเคารพกติกาแล้ว ยังทรงยึดถือเรื่องน้าใจนักกีฬาเป็นอย่างดี เน่ืองจากการแข่งขันกีฬาเรือใบเป็นกีฬาที่โปรดที่สุด จึงต้องแข่งเรือใบกับพระองค์ท่าน จริงๆ ไม่ต้องมีการออมแรง หากฝ่าละอองธุลีพระบาททรงทราบว่ามีการออมแรงแล้ว พระองค์ท่านจะไม่พอพระราชหฤทัย เพราะทรงถือว่าเป็นการหมิ่นพระปรีชาสามารถของ พระองค์ท่าน (www.prachachat.net , 5 กนั ยายน 2560) 2-13
3) ส่วนประกอบของเรือใบ (3) (1) ลาตัวเรอื (Hull) (2) (2) เสากระโดงเรอื (Mast) เปน็ เสาหลกั สาหรับยดึ ใบเรือ (4) (3) เสาค้า (Sprit) เป็นเสาทอ่ี ยสู่ ว่ นยอด เพ่อื ชว่ ยสรา้ งรปู รา่ งของใบเรอื (4) ใบเรอื (Sail) เป็นใบเรือท่ีทาหนา้ ท่รี ับลม (6) (5) (5) เชือกดึงใบเรือ (MailSheet) เป็นเชือกท่ีใช้ควบคุมใบเรือให้กางออก (1) (7)หรอื หบุ เข้าเพอ่ื ใชเ้ พ่ิมหรือลดกาลังเรือ (6) พังงา (Tiller) ด้ามหางเสือ ใช้ควบคุมทิศทางเรือ โดยการโยกซ้าย (8)ขวาแลว้ บังคบั หางเสืออกี ทีหนง่ึ (7) หางเสือ (Rudder) ใชค้ วบคุมทิศทางเรอื (8) คัดแคง (Centerboard หรือ Dragerboard) เป็นแผ่นไม้ท่ีเสียบทะลุไปยงั ใต้ ท้องเรือตรงกลางเรอื ใชส้ าหรับป้องกนั ไมใ่ หเ้ รอื เซออกทางขา้ งเวลาแลน่ ภาพที่ 2.6 : ส่วนประกอบของเรือใบ ทมี่ า : www.oknation.nationtv.tv , สืบค้นเม่อื กนั ยายน 2560 2-14
4) ตารางท่ี 2.1 แสดงประเภทของเรือใบ (ในประเทศไทย)ลาดับ ช่ือเรือ ประเภท ผู้เล่น จานวนผู้เล่น ก x ย x ส ของตัวเรือ น้าหนักเรือ (เมตร) (กิโลกรัม)1 เรือใบ OPTIMIST ประเภทใบเดีย่ ว เยาวชน ช/ญ อายุไมเ่ กิน เลน่ คนเดยี ว 1.16 x 2.30 x 0.36 352 เรอื ใบ OK ประเภทใบเดยี่ ว 15 ปี เล่นคนเดียว 1.48 x 4 x 0.6 70 ช/ญ ไมจ่ ากัดอาย3 เรอื ใบ LASER ประเภทใบเดีย่ ว ช ไม่จากัดอาย เล่นคนเดยี ว 1.36 x 4.2 x 0.4 604 เรือใบ 470 ประเภทใบคู่ (3 ใบ) ช/ญ ไมจ่ ากดั อาย เล่น 2 คน 1.65 x 4.2 x 0.65 1105 เรือใบ CATAMARAN ประเภทใบคู่ (2 ใบ) ช/ญ ไมจ่ ากดั อาย เล่น 2 คน 8 ฟุต x 16 ฟตุ x 23/4 140 ช/ญ ไมจ่ ากดั อาย เล่น 2 คน ฟตุ 1106 เรือใบ FIREBALL ประเภทใบคู่ (2 ใบ) 1.45 x 4.98 x 0.57 เรือใบ SUPER MOD ประเภทใบเดยี่ ว ช/ญ ไมจ่ ากัดอาย เล่นคนเดียว 1.45 x 4.98 x 0.5 908 เรอื ใบ ENTERPRISE ประเภทใบคู่ (2 ใบ) ช/ญ ไมจ่ ากดั อาย เล่น 2 คน 1.65 x 4.2 x 0.65 95ทีม่ า : สมาคมแขง่ เรอื ใบแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ , สืบคน้ เมื่อ กันยายน 2560 2-15
2.4.2 หลักการออกแบบ 2.4.2.1 หลักการออกแบบห้องเก็บอุปกรณ์ 1) ข้อปฏิบัติในการเก็บอุปกรณ์ Surf Board มีดังน้ี ก) ควรเปน็ ห้องโปรง่ โล่งเพอ่ื ระบายอากาศ ข) แผน่ Surf Board จะวางซอ้ นทบั กนั โดยมีแท่นสาหรับวางแผ่น เพอ่ื เวน้ ช่องวางแต่ละแผน่ ค) มีส่วนท่ีเก็บอุปกรณ์ต่างๆเกี่ยวกับ Surf Board อยู่ในบริเวณ เดยี วกัน (www.dailygizmo.tv , 7 กันยายน 2560) ภาพที่ 2.7 : ที่เกบ็ Surf Board ทีม่ า : www.facebook.com/hypermansport , สบื ค้นเมอ่ื กนั ยายน 2560 2-16
2) ข้อปฏิบัติในการเก็บอุปกรณ์เรือใบมีดังนี้ ก) ควรอยูใ่ กลก้ บั ชายหาดเพอ่ื ทจี่ ะลากเรือใบลงทะเลไดส้ ะดวก ข) ท่ีเก็บเรือจะเป็นช้นั วางเรยี งทบั กนั ค) มสี ว่ นทีเ่ ก็บอุปกรณ์เก่ียวกบั เรอื ใบอยู่ในบรเิ วณเดยี วกัน ( www.healthtoday.net , 5 กนั ยายน 2560)ภาพท่ี 2.8 : ท่ีเก็บเรือใบท่ีมา : www.star-traveller.com , สบื ค้นเม่อื กนั ยายน 2560 2-17
2.4.2.2 หลักการออกแบบส่วนสานักงานและส่วนต้อนรับ ส่วนทางาน (Working Area) ควรออกแบบให้มีบรรยากาศที่น่าทางานไม่ใช้สีสันที่ฉูดฉาดเพื่อทาให้มีสมาธิในการทางานและควรวางแผนเพื่อให้รองรับเทคโนโลยีต่าง ๆที่ช่วยส่งเสรมิ การทางานใหส้ ะดวกรวดเร็วย่ิงขน้ึ ส่วนต้อนรับ (Information) เป็นส่วนแรกของออฟฟิศ หรือเปรียบเสมือนหน้าตาของ สานักงาน และยังเป็นส่วนให้ข้อมูลตางๆ ต่อผู้มาติดต่องานอีกด้วย ส่วนพักคอย (Waiting Area) ถ้าพ้ืนที่ภายในบ้านมีไม่มากพอ ส่วนพักคอยอาจเป็นส่วนเดียวกับส่วนต้อนรับเลยก็ได้ แต่ถ้ามีพื้นท่ีมากพออาจแยกออกไปเปน็ สว่ นตา่ งหากอาจเป็นท้ังภายในและภายนอกบ้านก็ได้แล้วแต่จุดประสงค์และความสะดวกหรืออาจตามสไตล์ของการตกแต่งก็เป็นได้2.4.2.3 หลักการออกแบบส่วนห้องประชุม ห้องประชุม (Meeting Room) ควรเป็นห้องท่ีสามารถเปิด -ปิดได้โดยสะดวก เผ่ือกรณี ที่ต้องการความเป็นส่วนตัวมากยิ่งขึ้น อาจก้ันด้วยผนังกระจก ซึ่งทาให้รู้สึกไมอึดอัด และควรเตรียมอุปกรณต์ ่างๆ ที่ใช้ในการประชุมไว้ให้พร้อม เช่น ทวี ี ไวท์บอร์ด เป็นต้น ที่มา : www.unsplash.com , สบื คน้ เมื่อ กนั ยายน 2560 2-18
2.4.2.4 หลักการออกแบบส่วนบริการสาธารณะ 1) ส่วนครัวและเก็บของการออกแบบส่วนครัวและเตรียมอาหาร จาเป็นต้องประสานกันท้ังด้าน ไฟฟ้า เคร่ืองกล ท่อน้าต่างๆ กับการวางผัง น้ันต้องคานึงถึงแต่ละชั้น Conceptual Desigท ให้ส่วนรับของ ส่วนเก็บ อาหารต่างๆ ครวั และส่วนภตั ตาคาร ส่วนจัดเล้ียงต่างๆอยู่ในชั้นเดียวกัน หาก ไม่สามารถจัดอยู่ในช้ันเดียวกันได้อาจต้องจัดกลุ่มใช้สอยต่างๆ ให้สัมพันธ์และ บรกิ ารท่สี ะดวก เหมาะสม 2) สว่ นรบั ของ ขยะ และห้องเก็บของทั่วไป ถึงแม้ส่วนรับของและส่วนขยะ จะจัดไว้ ในส่วน Loading Dock ก็จาเป็นต้องแยกส่วนออกจากกันโดยเด็ดขาด หรืออาจรวม สองส่วนนี้ในพ้ืนท่ีบริเวณเดียวกัน การจัดส่วนบริการรับของและ ขยะ ควรมสี ่วนเชอ่ื มตอ่ กบั ส่วนครัวมพี ้ืนที่ทเี่ พยี งพอท่ีจะวางและขนของ โดยมีจุด ควบคมุ ในบริเวณรับของ 2.4.2.5 หลักการออกแบบส่วนเทคนิค - ส่วนห้องเคร่ืองและซ่อมบารุง ส่วนน้ีจะประกอบด้วยส่วนทางาน ของวิศวกร ส่วนซ่อมแซมและส่วนอุปกรณ์เครื่องกลไฟฟ้า ส่วนอุปกรณ์ เคร่ืองกลนี้ ควรอยู่ใกล้กับส่วนซักรีด ครัว และบริเวณอ่ืนๆ ท่ีต้องใช้พลังงาน สูงเพ่ือให้การทางานมีประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนทางานและซ่อมแซมน้ันโดยท่ัวไปจะ กาหนดพ้ืนท่ี 0.3—0.5 เมตร/พื้นที่2-19
2.4.2.6 หลักการออกแบบร้านอาหาร 3) ห้องน้าภายในรา้ นอาหาร ห้องน้าเป็นเร่ืองที่เจ้าของธุรกิจร้านอาหาร 1) การจัดความสมดุลของสภาพแวดล้อมกับจานวนที่นั่ง การออกแบบ ส่วนใหญ่มักจะละเลย ถ้าลูกค้าต้องเข้ามาเจอห้องน้าที่สกปรก มีกล่ินเหม็นอับ จะ เสียภาพลักษณ์ของร้าน ห้องน้าที่ไม่สะอาดจะทาให้ลูกค้าจินตนาการถึงความร้านอาหารควรคานึงถงึ ความสมดลุ ระหว่างบรรยากาศที่อบอุ่นและการจัดท่ีนั่งให้มี สะอาดภายในครัวของเราด้วย ดังน้ันการออกแบบร้านอาหาร ไม่ควรท่ีจะลืมจัดความจุมากท่ีสุด นั่นหมายความว่าต้องจัด seating สาหรับลูกค้าให้เพียงพอเพื่อ สภาพแวดล้อมของหอ้ งนา้ ภายในรา้ นอาหารให้ เหมาะสมและสะอาดอยู่เสมอ จึงรองรับลูกค้าตามยอดขายท่ีคาดว่าจะได้รับ ในขณะเดียวกันก็ต้องคานึงถึงความ เป็นเรื่องท่ีต้องให้ความสาคัญไม่ต่างกับข้ออื่นๆ ท่ีได้กล่าวมา ส่ิงที่สมควรสะดวกสบายของลูกค้าเป็นหลกั สาคัญ ทาเป็นประจาคือ เช็คความสะอาดภายในห้องน้าหรือหลังจากลูกค้าเข้ามาใช้ บรกิ ารทกุ ครงั้ รวมไปถึงการจ้างแมบ่ า้ นมาคอยรกั ษา ความสะอาด 2) การถ่ายเทอากาศภายในร้านอาหาร สิ่งสาคัญที่ควรพิจารณาสาหรับธุรกิจร้านอาหาร คือ ภายในร้านต้องมีอากาศถ่ายเทเพียงพอและท่ีระบาย ปัญหาของการออกแบบพ้ืนท่ีร้านอาหาร ปัญหาเรื่องพื้นที่ของธุรกิจความร้อน อย่างห้องครัวของร้านอาหารก็จาเป็นต้องมีที่ระบายความร้อนและ ร้านอาหารท่ัวๆ ไป จะพบได้ว่า ลูกค้ามักจะไม่ต้องการนั่งใกล้บริเวณทางเข้าระบายกล่ินกับควันออกไป ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า เคร่ืองระบายอากาศสามารถ ห้องครัวและทางเขา้ หอ้ งน้า โต๊ะทน่ี ่ังอยู่กลางร้านอาหารและส่งเสียงดัง ก็ไม่ได้เป็นถ่ายเทอากาศได้ดี อีกอย่างคือ เครื่องปรับอากาศท่ีเหมาะสมก็ยังเป็นส่ิงสาคัญใน ท่ีช่ืนชอบแก่ลูกค้าท่านอ่ืนๆอีกเช่นกัน การจัดพ้ืนท่ีให้รู้สึกว่ามีความเป็นส่วนตัวข้อควรคานึงของการออกแบบร้านอาหารอีกด้วย ไม่มีอะไรท่ีจะทาให้ลูกค้าหนี สามารถจัดการกับสิ่งเหล่าน้ีได้ โดยหาบางสิ่งมาวางก้ันกลาง เช่น อาจจะหาไม้หายไปได้มากกว่าเคร่ืองปรับอากาศที่ไม่เย็น ในช่วงกลางฤดูร้อนที่มีอุณหภูมิสูง มากั้นเปน็ ฉากหรือตน้ ไม้สูงๆ กั้นไว้ระหว่างโต๊ะแต่ละตัว ท่ีสาคัญควรคานึงถึงการที่สุด หากยังคงซื้อเครื่องระบายอากาศและเครื่องปรับอากาศราคาถูกไม่มีคุณภาพ เคล่ือนย้ายจานชามไปแต่ละท่ีด้วย ดังน้ัน จึงควรใส่ใจกับปัญหาการจัดพ้ืนท่ีแน่นอนว่ามันช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากขึ้น แต่จะส่งผลต่อขายยอดขายของ มากกวา่ เรือ่ งโตะ๊ อาหาร (www.food4friend.com , 9 กนั ยายน 2560)ร้านอาหารใหแ้ ย่ลงไดเ้ ช่นกัน 2-20
ท่มี า : www.unsplash.com , สืบคน้ เม่อื กนั ยายน 2560 2-21
2.5กฎหมายท่เี กยี่ วข้อง2.5.1 ตารางท่ี 2.2 กฎกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (พ.ศ.2553)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย1 บรเิ วณที่ 1 หมายถึง พื้นทใี่ นบริเวณท่ีจากแนวชายฝั่งทะเลรอบเกาะภูเก็ตเขาไป ในแผ่นดิน เป็นระยะ 50 เมตร รวมทั้งทีใ่ นเกาะตา่ ง ๆ เวน้ แต่พนื้ ท่ีในบริเวณที่ 5 บริเวณที่ 6 และบริเวณท่ี 7 บริเวณท่ี 2 หมายถึง พ้ืนที่ในบริเวณที่วัดจากแนวเขตบริเวณที่ 1 เข้าไปในแผ่นดิน เป็น ระยะ 150 เมตร พื้นที่บริเวณที่ 1 ให้มีได้เฉพาะอาคารท่ีมีความสูงไม่เกิน 6 เมตร และต้องมีระยะห่างจาก แนวชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่า 20 เมตร เว้นแต่ในเขตท่ีมีกฎกระทรวงออกตามความในกฎหมายว่า ด้วยการควบคมุ อาคารใช้บงั คบั ความสงู ของอาคารใหเ้ ป็นไปตาม ท่ีกาหนดในกฎกระทรวงนน้ั พื้นท่บี ริเวณท่ี 2 ใหม้ ไี ดเ้ ฉพาะอาคารทม่ี ีความสูงไม่เกิน 12 เมตร พ้ืนที่บริเวณท่ี 1 ให้มีพื้นที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ75 ของแปลงที่ดินท่ียื่นขออนุญาต ก่อสร้างอาคารนน้ั เว้นแต่ในเขตที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจหรือท่ีดินประเภทอุตสาหกรรม และคลังสนิ คา้ ี ตามกฎกระทรวงให้ใช้ บังคับผังเมอื งรวมเกาะภเู ก็ต ใหม้ พี ้นื ท่ีวา่ งไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของแปลงทด่ี ินทขี่ ออนุญาตกอ่ สรา้ งอาคาร 2-22
ตารางท่ี 2.2 กฎกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (พ.ศ.2553) (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย1 พื้นท่ีบริเวณท่ี 2 ถ้าเป็นอาคารประเภทบ้านเด่ียว บ้านแฝด อาคารสานักงาน อาคารอยู่ อาศัยรวมหรืออาคารสาธารณะ ให้มีพื้นที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแปลงที่ดินที่ย่ืนขอ อนุญาตก่อสร้างอาคารแต่ถ้าเป็นอาคารพาณิชย์อาคารประเภทบ้านแถว ห้องแถว หรือตึกแถว ให้ มีพ้ืนทีว่ า่ งไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ10 ของแปลงทีด่ ินทีย่ ืน่ ขออนญุ าตกอ่ สร้างอาคาร พื้นที่บริเวณท่ี 2 ถ้าเป็นอาคารขนาดใหญ่ ให้มีพ้ืนที่รวมกันทุกช้ันในหลังเดียวเกิน 2,000 ตารางเมตร การปรับระดับพ้ืนดินสาหรับพ้ืนท่ีตามวรรคหน่ึง ให้ปรับระดับตามแนวนอนต่อ แนวด่ิงได้ใน อัตราส่วนไม่เกิน 2 : 1 ส่วน และห้ามปรับระดับโดยการขุดดินหรือถมดิน ลึกหรือสูง เกิน 1 เมตร เว้นแต่เพื่อการก่อสร้างระบบฐานรากอาคารห้องใต้ดิน หรือบ่อเก็บน้าใต้ดิน และ การปรับระดับ พ้ืนดิน การขุดดิน การถมดิน ต้องไม่ทาอันตรายต่อรากและลาต้นของต้นไม้เดี่ยวหรือ ต้นไม้หมู่ท่ี ข้ึนอยู่ตามธรรมชาติที่มีขนาดความโตวัดโดยรอบลาต้นตรงที่สูง 1.30 เมตร ต้ังแต่ 50 เซนติเมตรข้ึนไป และมิให้เคล่ือนย้ายหรือทาลายหินดานท้ังที่อยู่ใต้พื้นดิน ระดับพ้ืนดิน หรือ โผล่ เหนือพ้นื ดนิ 2-23
2.5.2 ตารางท่ี 2.3 กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดภูเก็ตฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2558)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย2 ท่ีดินประเภทท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือการอยู่อาศัย การ ท่องเที่ยว สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ ประโยชนท์ ด่ี นิ เพ่อื กจิ การอ่นื ใหใ้ ช้ได้ไมเ่ กินรอ้ ยละหา้ สบิ ของแปลงทด่ี ินที่ยืน่ ขออนุญาต 2-24
2.5.3 ตารางที่ 2.4 กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ.ควบคุมอาคารอาคารลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย3 ความหมายของประเภทอาคาร 1) อาคารสาธารณะ หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้ โดยท่ัวไป เพ่ือกิจกรรมทาง ราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การ นันทนาการ หรือการพาณิชยากรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ทาอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ทาจอดเรือ โปะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น 2) อาคารขนาดใหญ่ หมายความว่า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือช้ันหนึ่งช้ันใดใน หลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร หรืออาคารท่ีมีความสูงตั้งแต่ เมตรขึ้นไป และมี พ้ืนท่ีรวมกันทุกช้ันหรือช้ันหน่ึงช้ันใดในหลังเดียวกัน เกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพ้ืนดินที่ก่อสร้างถึงพ้ืนดาดฟ้า สาหรับ อาคารทรงจ่ัวหรอื ปนหยาให้วดั จากระดับพื้นดินทกี่ ่อสร้างถงึ ยอดผนงั ของช้นั สูงสุด 2-25
ตารางท่ี 2.4 กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย3 ความหมายของประเภทอาคาร 3) โรงแรม หมายความว่า สถานท่ีพักท่ีจัดต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ในทางธุรกิจเพื่อให้ บรกิ าร ท่ีพักชัว่ คราวสาหรบั คนเดินทางหรอื บุคคลอนื่ ใดโดยมคี ่าตอบแทน “โรงแรมประเภท 2” หมายความว่า โรงแรมท่ีให้บริการห้องพักและห้องอาหารหรือสถานที่ สาหรบั บรกิ ารอาหารหรอื สถานท่ีสาหรบั ประกอบอาหาร4 ท่จี อดรถ ภัตตาคาร ให้มีท่ีจอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่ต้ังโต๊ะอาหาร 40 ตารางเมตร เศษของ 40 ตารางเมตร ให้คดิ เปน็ 40 ตารางเมตร สานักงาน ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นท่ี 120 ตารางเมตร เศษของ 120 ตารางเมตร ใหค้ ดิ เป็น 120 ตารางเมตร 1) ในกรณีท่ีจอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.4 เมตรและ ความยาวไมน่ อ้ ยกวา่ 5 เมตร 2) ในกรณีท่ีจอดรถทามุมกับทางเดินรถมากกว่า 30 องศาให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตรและความยาวไมน่ ้อยกว่า 5.50 เมตร 2-26
ตารางที่ 2.4 กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ. ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย5 บันได / บนั ไดหนีไฟ ข้อ 24 บนั ไดของอาคารอยู่อาศัยรวม หอพกั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยหอพัก สานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษ สาหรับท่ีใช้กับชั้นที่มีพ้ืนที่อาคารช้ัน เหนือข้ึนไปรวมกันไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร แต่ สาหรับบันไดของอาคารดังกล่าวท่ีใชก้ ับชั้นทมี่ ีพื้นทอี่ าคาร ชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ตอ้ งมีความกว้างสุทธไิ มน่ ้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุทธิของบันไดน้อย กว่า 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอย่างน้อยสองบันได และแต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร บันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคนจานวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้อง บรรยายทีม่ พี นื้ ที่รวมกันตง้ั แต่ 500 ตารางเมตรข้ึนไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถาน บริการที่มีพ้ืนที่รวม กันต้ังแต่ 1,000 ตารางเมตรข้ึนไป หรือบันไดของแต่ละช้ันของอาคารนั้นท่ีมี พื้นทีร่ วมกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขนึ้ ไป ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อย สองบันได ถ้ามีบนั ไดเดยี วตอ้ งมีความกว้างไม่น้อยกวา่ 3 เมตร 2-27
ตารางท่ี 2.4 กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย5 บนั ได / บันไดหนีไฟ ชานพกั บันไดและพ้ืนหน้าบนั ไดตอ้ งมีความกวา้ งและความยาวไมน่ อ้ ยกว่าความ กว้างสุทธิ ของบันได เว้นแต่บันไดที่มีความกว้างสุทธิเกิน 2 เมตร ชานพักบันไดและพ้ืนหน้าบันไดจะมีความ ยาวไมเ่ กนิ 2 เมตรก็ได้ ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และ ต้องมผี นังสว่ นที่บันไดหนไี ฟพาดผ่านเป็นผนงั ทึบก่อสร้างดว้ ยวัสดถุ าวรท่เี ป็นวัสดุทนไฟ ข้อ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร มีผนัง ทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวร ที่เป็นวัสดุทนไฟก้ันโดยรอบ เว้นแต่ส่วนที่เป็นช่องระบายอากาศและช่อง ประตูหนีไฟ และ ตองมีอากาศถ่ายเทจากภายนอกอาคารไดโดยแต่ละชั้นต้องมีช่องระบายอากาศที่ เปิดสู่ภายนอกอาคารไดมีพื้นที่รวมกันไม่น้อยกว่า 1.4 ตารางเมตร กับต้องมีแสงสว่างให้เพียงพอ ท้งั กลางวันและกลางคนื 2-28
ตารางท่ี 2.4 กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย6 พ้ืนทภ่ี ายในอาคาร ข้อ 20 หองนอนในอาคารใหม้ คี วามกวา้ งด้านแคบท่ีสุดไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร และมพี ้นื ทไี่ มน่ ้อยกวา่ 8 ตารางเมตร ข้อ 21 ชองทางเดินในอาคาร ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าตามที่กาหนด คือ - อาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สานักงาน อาคาร สาธารณะ อาคารพาณชิ ย์ โรงงาน อาคารพเิ ศษ ให้มคี วามกวา้ งช่อง ทางเดินไม่น้อย กวา่ 1.50 เมตร ข้อ 22 ห้องหรือส่วนของอาคารท่ีใช้ในการทากิจกรรมต่างๆ ต้องมีระยะีดีิ่งไม่ น้อยกวา่ ตามท่ีกาหนดไวดงั ต่อไปน้ี (1) ห้องที่ใชเ้ ปน็ ท่พี ักอาศัย บ้านแถว หอ้ งพักโรงแรม ห้องเรยี นนักเรียน อ นุ บ า ล ครวั สาหรบั อาคารอยอู่ าศยั หอ้ งพกั คนไข้พิเศษ ช่องทางเดนิ ในอาคาร มีระยะด่ิงไม่น้อย กว่า 2.60 เมตร (2) หอ้ งท่ีใชเ้ ป็นสานักงาน หอ้ งเรยี น ห้องอาหาร หอ้ งโถง ภัตตาคาร โรงงาน มี ระยะดงิ่ ไมน่ ้อยกว่า 3.00 เมตร 2-29
ตารางที่ 2.4 กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย7 แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้าสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรือทะเล ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะน้ันไม่น้อยกว่า 12 เมตร ทั้งนี้ เวน้ แต่ สะพาน เขอื่ น รว้ั ท่อระบายนา้ ท่าเรอื ป้าย อูเ่ รือ คานเรือ หรือที่ว่างท่ีใช้เป็นที่จอดรถ ไม่ตอ้ งร่นแนวอาคาร ข้อ 50 ผนังของอาคารที่มหี น้าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรือช่องแสงหรือระเบียง ของอาคารต้องมีระยะห่างจากแนวเขตท่ีดิน คือ อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรือ ระเบียงต้องอยูห่ ่างเขตทด่ี นิ ไมน่ ้อยกวา่ 2 เมตร8 ทีว่ ่างภายนอกอาคาร ขอ้ 33 อาคารแต่ละหลังหรอื หน่วยต้องมที ่ีวา่ งตามทีก่ าหนดดังต่อไปนี้ (1) อาคารอยู่อาศัย และอาคารอยู่อาศัยรวม ตองมีท่ีว่างไม่น้อยกว่า 30 ใน 100 สว่ นของพื้นทีช่ น้ั ใดชนั้ หน่ึงที่มากท่สี ุดของอาคาร (2) หองแถว ตกึ แถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ และอาคารอืน่ ซ่ึงไม่ได้ ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ต้องมีที่ว่างไม่น้อยกว่า 10 ใน 100 สวนของพื้นท่ีช้ันใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุด ของอาคาร แตถ่ ้าอาคารดังกล่าวใช้เปน็ ทีอ่ ยอู่ าศัยด้วยต้องมีท่ีว่างตาม (1) 2-30
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132