Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR-2562

SAR-2562

Published by cpwschooleducation, 2022-11-11 02:57:58

Description: SAR-2562

Search

Read the Text Version

คำนำ โรงเรียนชลประทานวิทยา ได้ดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวง ศึกษาธิการ การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 มาเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียนและการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและ เป็นมาตรฐานการศึกษาท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของชุมชนและผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้อง ภายใต้มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน โรงเรียนชลประทานวิทยา ได้จัดการศึกษาตามแนวทาง การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 21 และนโยบายชลประทานวิทยา 4.0 (นโยบายและจุดเน้น ปีการศึกษา 2560-2563) โดยมีจุดเน้นสำคัญในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในทุกมิติ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งผลให้สถานศึกษา ครู นักเรียนได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย และ ประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย การจัดการศกึ ษาของโรงเรียนทุกด้าน โรงเรียนชลประทานวิทยาขอขอบคุณคณะครู บุคลากรที่ได้ให้ความร่วมมือในการจัดทำรายงาน ประจำปีฉบับนี้จนสำเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี (นางสาวนิตยา เทพอรณุ รัตน)์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นชลประทานวทิ ยา

สารบญั หนา้ คำนำ สารบญั ส่วนท่ี 1 บทสรปุ ของผู้บริหาร ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน...................................................................................................... 1 ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง..................................................................... 2 ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 1. ข้อมูลพ้ืนฐาน................................................................................................................ 13 2. ข้อมลู พน้ื ฐานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา……………………………………. 26 3. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัติการประจำปีของสถานศกึ ษา………………………………. 31 4. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผ้เู รยี น……………………………………………………………………… 35 5. นวตั กรรม/แบบอย่างทีด่ ี (Innovation/Best Practice)………………………………………… 44 6. รางวลั ที่สถานศกึ ษาได้รับ…………………………………………………………………………….…….. 45 7. ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ……………………………………………..………… 50 8. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ท่ีผา่ นมา………………………………………….… 51 9. หนว่ ยงานภายนอกทโ่ี รงเรยี นเข้าร่วมเป็นสมาชิก………………………………………………….. 51 สว่ นที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน……………………………………………………………………. 52 2. สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา……………………… 78 3. จดุ เด่น………………………………………………………………………………………………………..…… 80 4. จดุ ควรพฒั นา…………………………………………………………………………………………………… 89 5. แนวทางการพัฒนา……………………………………………………………………………………..……. 90 6. ความต้องการชว่ ยเหลอื ……………………………………………………………………………..……… 91 ภาคผนวก..................................................................................................................................... 92

1 ส่วนที่ 1 บทสรุปของผู้บริหาร ตอนท่ี 1 ข้อมลู พนื้ ฐาน โรงเรียนชลประทานวทิ ยา 1112100090 โรงเรยี น เลขที่ 201 หมู่ที่ 1 ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกรด็ รหัส จังหวัดนนทบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 11120 ท่ีต้ังเลขที่ 62 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน เน้ือท่ี 0-2583-4047 สังกดั 0-2962-3552 โทรศพั ท์ [email protected] โทรสาร www.cpw.ac.th E-MAIL วนั ท่ี 6 กรกฎาคม 2498 WEBSITE เตรียมอนบุ าล ถงึ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ไดร้ ับอนญุ าตจดั ตงั้ เมื่อ สวัสดิการกรมชลประทาน (นิติบุคคล) เปดิ สอนระดบั สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรเี ขต 2 ลกั ษณะผูร้ บั ใบอนุญาต 6,564 คน เขตพน้ื ที่บรกิ าร 391 คน จำนวนนักเรียน จำนวนบคุ ลากรโรงเรยี น

2 ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง ระดับปฐมวยั 1. มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ 2. หลกั ฐานสนบั สนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ 2.1 รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) ระดับปฐมวยั 2.2 สรุปรายงานการดำเนนิ งานโครงการ/งาน/กิจกรรม 2.3 พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ทดี่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ ร้อยละ 94.00 - พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ รอ้ ยละ 97.00 - พฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชิกที่ดีของสังคมได้ ร้อยละ 97.00 - พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มีทักษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหาความรู้ได้ ร้อยละ 96.00 2.4 เกียรตบิ ัตร 3. โรงเรียนมีแผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอย่างไรให้ได้ระดบั คณุ ภาพทด่ี ีขน้ึ กว่าเดิม 1 ระดบั 3.1 แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 1 ปรับโครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย 3.2 แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 2 เด็กได้เรยี นรภู้ าษาองั กฤษ ภาษาจนี กบั ครูชาวต่างชาติ 3.3 แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 3 พัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบด้วยกิจกรรม 1 หอ้ งเรียน 1 โครงงาน ภายใต้ชอื่ งาน สนุกกับ STEAM ผ่านโครงงาน 3.4 แผนปฏิบัตงิ านท่ี 4 ยกระดับการพฒั นานวตั กรรมในโรงเรียน 3.5 แผนปฏิบตั ิงานท่ี 5 พฒั นาโครงการและกิจกรรมท่ีสนบั สนนุ อัตลักษณ์ของเด็กให้ตอ่ เนอ่ื ง โดยทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการพัฒนา 3.6 แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 6 พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ 3.7 แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 7 พฒั นากิจกรรมนเิ ทศการสอนดว้ ยการนำหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย สู่ห้องเรียน 3.8 แผนปฏิบัตงิ านที่ 8 โรงเรยี นกับชุมชนมสี ่วนรว่ มในการพฒั นากิจกรรมให้กบั เด็กอย่างต่อเน่ือง

3 4. นวตั กรรม/แบบอย่างทด่ี ี โรงเรยี นชลประทานวทิ ยาแผนกปฐมวยั จดั ใหม้ โี ครงการส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพดว้ ยกิจกรรม ประกวดสอ่ื การสอน ทงั้ น้ีเน่อื งจากส่อื การเรยี นการสอนมีอิทธพิ ลโดยตรงต่อการเรยี นรขู้ องเด็กและการจัดการ เรียนการสอนของครูรวมท้ังคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เป็นตัวกำกับการใช้สื่อ โดยตรง ครใู ช้สอ่ื ท่หี ลากหลายเป็นแนวทางในการจัดเตรียมการสอน 4.1 สื่อการเรยี นการสอนภาษา เชน่ บตั รคำ บตั รภาพ ชุดตวั อกั ษรพยัญชนะ หนุ่ มือ 4.2 สอ่ื การเรียนการสอนคณติ ศาสตร์ได้แก่ ตัวเลข รปู ทรงเรขาคณิต ภาพตำแหน่งต่าง ๆ นาฬิกา โดมิโน่ ภาพตัดตอ่ ไม้บล็อก 4.3 ส่ือการเรียนการสอนสงั คมศึกษาได้แก่ หนงั สอื เก่ียวกบั ครอบครัว ชุมชน สิง่ แวดลอ้ มรอบตัว ของจำลอง ตุ๊กตา สัตว์ บ้าน คน 4.4 สื่อการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ได้แก่ แมเ่ หลก็ แว่นขยาย อุปกรณก์ ารวดั รูปภาพ แมลง ปลา ลูกโป่ง ไฟฉาย ถ้วยตวง ฟองนำ้ สำลี สือ่ การสอนทค่ี รูใช้ในการจัดการเรียนการสอนเป็นสือ่ ที่ครูสามารถทำเอง โดยแผนกปฐมวยั จัดให้มีการประกวด สื่อการสอนวนั ท่ี 13-15 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2562 ชั้น สือ่ การสอน ประโยชนท์ ี่ได้รับ เตรยี ม เลน่ ไดพ้ ับได้ รู้จกั ตัวเลข คำศัพท์ ภาพเงา อนุบาล อ.1/1 การนับจำนวน รคู้ า่ ตวั เลข นับเลข 1-10 จำนวนตวั เลข อ.1/2 หนงั สอื ปริศนา เปรยี บเทยี บความแตกต่าง ผวิ สมั ผสั อ.1/3 คำศัพท์หรรษา เรียนรตู้ วั อักษร a-z คำศัพท์ พยัญชนะ ก-ฮ ประสมคำ อ.1/4 เส้นสายลายมือ ฝกึ ลีลามอื ทิศทาง ตากบั มือสัมพันธ์กนั อ.1/5 โคดดง้ิ สวนสัตว์ การคาดคะเน การคำนวณ ทักษะการเคล่ือนไหว อ.1/6 นับเลขให้สนุก การนับภาพ จำนวนตัวเลข การเปรยี บเทียบ อ.1/7 ตวั เลขหรรษา/ภาษาอังกฤษพาเพลิน เรยี นรตู้ วั เลข คำศัพทภ์ าษาอังกฤษ อ.1/8 กระดานมหัศจรรย์ เรียนรู้คำศพั ท์ ตวั เลข อ.1/9 พยัญชนะพาเพลิน ร้จู ักพยัญชนะ ก-ฮ อ.2/1 หนนู อ้ ยหดั อา่ น สงั เกต รูจ้ ักพยญั ชนะ ก-ฮ ตวั อักษร a-z อ.2/2 กล่องน้ีมีอะไร การนับและแสดงจำนวนการเพ่มิ จำนวน อ.2/3 เกมจบั คภู่ าพกับเงา การคดั แยก การจัดกลมุ่ และการจำแนก อ.2/4 มานับเลขกนั เถอะ การเรียงลำดับจำนวนตัวเลข อ.2/5 วงล้อหรรษา การใชป้ ระสาทสัมผัส ความคิดสร้างสรรค์ คำศพั ท์ อ.2/6 คณิตคดิ สนกุ การแสดงอนั ดับทีข่ องส่งิ ต่าง ๆ

4 ชน้ั สื่อการสอน ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ อ.2/7 หมุน ๆ ชวนคดิ การเลน่ เปน็ กลุ่ม การสังเกต อ.2/8 ขยับกาย ขยายสมอง ความจำ การคาดคะเน ซ้าย ขวา อ.2/9 ทวี ีหรรษา ทกั ษะการฟัง คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ อ.2/10 ภาพกับเงา ทกั ษะการใช้ภาษา การสงั เกต เปรยี บเทียบ อ.3/1 คำศพั ท์สตั ว์ อาชีพ เรียนรู้คำศัพท์ เรยี นรู้อาชีพ การปฏิบัติหน้าที่ อ.3/2 จะ๊ เอ๋ รปู ภาพและคำศพั ท์ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย จำนวนตัวเลข อ.3/3 บงิ บิง การกวาดสายตา การสังเกต การคิดแยกแยะ อ.3/4 สนกุ กับตวั เลข การเพ่ิมจำนวน การลดจำนวน อ.3/5 หนกู ับชีท เรยี นรู้การจบั คคู่ ำศัพท์กับรปู ภาพ อ.3/6 ภาษาพาเพลนิ การประสมคำ สระ พยญั ชนะ อ.3/7 สื่อภาษาน่ารู้ เรยี นรู้คำศพั ทภ์ าษาไทย ภาษาอังกฤษ อ.3/8 ผลไมแ้ สนสนุก เรียนรู้ช่ือผลไม้ พัฒนากลา้ มเนอ้ื มือ อ.3/9 Box integration เรียนรกู้ ารสะกดคำ การอ่านคำ อ.3/10 Knowledge สงั เกตผิวสมั ผัส คำศัพท์ การเพมิ่ จำนวน ครูนำสอ่ื ดังกล่าวไปใช้ในการจดั กจิ กรรม 6 กจิ กรรมหลักให้เหมาะสมกบั พฒั นาการของเดก็ ในการเรยี นรู้เพราะ สื่อการสอนจะชว่ ยให้เด็กเกิดการเรยี นรไู้ ด้ดีจากการใช้ประสาทสัมผัสท้ัง 5 5. ความโดดเด่นของสถานศึกษา โรงเรียนชลประทานวิทยาเปน็ โรงเรียนเอกชนในระบบประเภทสามญั ศึกษา กอ่ ตั้งใน พ.ศ.2498 โดยหม่อมหลวงชูชาติ กำภู อดีตอธิบดีกรมชลประทานในพื้นที่ 62 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา กรมชลประทาน เปน็ เจา้ ของโรงเรียน อธิบดีกรมชลประทานเป็นผู้รับใบอนุญาตและเปน็ สวสั ดิการของข้าราชการกรมชลประทาน ในการสง่ บุตรเข้าเรียน กรมชลประทานได้ดำเนินงานบริหารโรงเรียนชลประทานวทิ ยา โดยแต่งตั้งคณะกรรมการ เรียกว่า “คณะกรรมการอำนวยการโรงเรยี น” มหี น้าที่ดูแลการดำเนินงานของโรงเรยี น โรงเรยี นชลประทานวทิ ยาเปน็ โรงเรยี นขนาดใหญพ่ ิเศษ เปิดสอนตัง้ แต่ชน้ั เตรยี มอนบุ าลจนถึง ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 เอกลักษณ์ของโรงเรียน “ส่ิงแวดลอ้ มดี เทคโนโลยีนำ ก้าวล้ำวิชาการ” ภายในโรงเรียน มีส่ิงแวดล้อมร่มรื่น สะอาดและปลอดภัย โดยครูจัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งเรียนรู้ภายใน และภายนอกห้องเรียนส่งเสริมทักษะการใช้ชีวิตประจำวัน รวมทั้งส่งเสริมลักษณะนิสัยทีด่ ีเพ่ือให้เด็กมีหน้าที่ ดแู ลรดน้ำตน้ ไม้ ไม่เด็ดใบไม้หรอื ดอกไมใ้ นบริเวณโรงเรยี น ส่งผลให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง มีจติ สำนึกและ ใส่ใจดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม ส่วนเทคโนโลยีนำใช้เทคโนโลยีในการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตามศักยภาพด้วย กิจกรรมเคลื่อนไหวตามจังหวะเสียงดนตรีจากส่ือโทรทัศน์ (Smart TV) ผ่านอินเตอร์เน็ต เด็กสามารถร้องตามและ เต้นประกอบเสียงเพลงอย่างมีความสุข และจัดให้มีโครงการส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกิจกรรม ไอแพดหรรษา เปน็ กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ให้เดก็ ไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ ริง เรยี นรทู้ ักษะการใช้ส่ือผ่านโปรแกรมการศึกษา

5 ในเครื่องไอแพด (iPad) ด้วยแอพพลิเคชั่นที่เหมาะสมกับวัยและได้เรียนรู้การแก้ปัญหาขณะทำกิจกรรม วิธีการ เปิด-ปิด รวมทั้งข้อควรปฏิบัติและการบำรุงรักษาเครื่อง iPad ที่เหมาะสมกับวัย และ ก้าวล้ำวิชาการ ด้วยการ ส่งเสริมให้เด็กได้เข้าร่วมการแข่งขันทางวิชาการได้แก่ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา คร้ังท่ี 69 ประจำปีการศึกษา 2562 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 จัดกิจกรรม ณ โรงเรียนวัดศรีเขตนันทาราม อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันท่ี 6-14 พฤศจิกายน พ.ศ.2562 ด้วยการคัดเลือกนักเรียนระดับช้ันอนุบาลปีที่ 3 เข้าร่วมการแข่งขันกิจกรรมการป้ันดินน้ำมันระดับช้ันปฐมวัย ไดร้ ับรางวัลเหรยี ญเงนิ นกั เรยี น ครูผฝู้ กึ ซ้อม เดก็ หญิงชนดิ าภา โรจนริ นั ดร์ นางสาวปทั มา สุกาญจนะ เด็กหญิงพชรนนั ต์ บัวดี นาวสาววราภรณ์ หม่ืนเดช เดก็ หญงิ ปุญญิศา วิเชยี ร - นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันวิชาการ งานมหกรรมวันการศึกษาเอกชนนนทบุรี ณ โรงเรียนการัญศึกษา และ วทิ ยาลัยเทคโนโลยพี งสวสั ด์ิ อำเภอเมือง จงั หวัดนนทบรุ ี เม่ือวนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2562 ปรากฏผลดงั นี้ 5.1 กจิ กรรมปน้ั ดินนำ้ มนั ระดับปฐมวยั ไดร้ บั รางวัลเหรียญทองอนั ดบั 1 (ตวั แทนระดบั ภาค) นกั เรยี น ครูผู้ฝกึ ซอ้ ม เดก็ หญงิ พชรนนั ต์ บัวดี นางสาวปทั มา สกุ าญจนะ เด็กหญิงปุญญิศา วเิ ชียร นางสาววราภรณ์ หมื่นเดช เดก็ หญงิ ชนดิ าภา โรจนิรันดร์ - 5.2 กจิ กรรมประกวดมารยาทไทยระดับปฐมวยั ได้รับรางวัลเหรียญทองอนั ดับ 2 (ตวั แทนระดบั ภาค) นกั เรียน ครูผฝู้ ึกซ้อม เดก็ หญงิ พชิ ชาภา ธรรมบญุ ศลิ ปะ นางสาวอริสา ผลแกว้ เดก็ ชายเทิดเกลา้ สุดมี - 5.3 กิจกรรมการแขง่ ขัน ฉกี ปะ ติดภาพ ระดับปฐมวยั สรุปผลการแขง่ ขนั ได้รับรางวัลเหรียญทอง นักเรียน ครผู ู้ฝึกซอ้ ม เด็กหญิงรษกิ า อยู่ลักษณะ นางสาวธรี าภรณ์ โนโชติ เด็กหญงิ อนั ดา ศรที า นางสาวปรียาภรณ์ ชมพัก เด็กหญงิ ภพธร ลอื เวศย์วณิช - 5.4 กจิ กรรมการแข่งขนั เลา่ นทิ านประกอบส่ือระดับปฐมวัย ไดร้ บั รางวัลเหรยี ญทอง นักเรยี น ครูผูฝ้ ึกซอ้ ม เดก็ หญิงปวรรตั น์ รวยพร นางสาวจุรพี ร แสงออ่ น 5.5 กิจกรรมการแขง่ ขนั ขับรอ้ งเพลงพระราชนพิ นธร์ ะดบั ปฐมวยั ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง นักเรยี น ครูผู้ฝกึ ซ้อม เดก็ หญงิ ณฐมน ใบพะออม นางสาวธัญนนั ท์ ศรีทอง เด็กชายวทัญญู เจนเจรญิ -

6 5.6 กจิ กรรมการแข่งขันโครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทส่งิ ประดษิ ฐร์ ะดับปฐมวัย ไดร้ ับรางวลั เหรยี ญทอง นักเรยี น ครูผู้ฝกึ ซ้อม เดก็ ชายกมนดนัย คำแหงกลุ นางสาวอมลรัตน์ หรั่งชน้ั เดก็ ชายจณิ ณ์ บญุ มาก นางสาววลยั ภรณ์ แตงออ่ น เดก็ หญิงปณฏิ ฐา ทองหวั เตย - 5.7 กิจกรรมการแขง่ ขันพดู ภาษาองั กฤษ (Impromptu Speech) ระดบั ปฐมวยั ได้รบั รางวลั เหรยี ญทอง นักเรียน ครูผฝู้ ึกซอ้ ม เดก็ ชายเนตธิ รณ์ แข็งฤทธิ์ นางกมลนิตย์ โกศลสุวรรณ 5.8 กจิ กรรมการแข่งขันวาดภาพระบายสีด้วยสีเทียนระดบั ปฐมวัย ได้รบั รางวัลเหรยี ญทองแดง นกั เรยี น ครผู ฝู้ กึ ซอ้ ม เด็กชายพุฒิพงศ์ แทนทอง นางสาวเสาวนยี ์ คำภกู า จากกิจกรรมดังกล่าวเปน็ ผลมาจากการท่ีเดก็ ไดร้ ับการจัดประสบการณ์ 6 กิจกรรมหลกั และ โครงการ/กิจกรรมท่ีแผนกปฐมวัย ได้ดำเนินงานตามแผนงบประมาณประจำปีการศึกษา 2562 6. โรงเรยี นไดด้ ำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6.1 การปลกู ฝงั ความมรี ะเบียบวินยั ทัศนคตทิ ถี่ ูกต้องผา่ นกระบวนการลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด 6.2 การจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื สรา้ งทกั ษะพนื้ ฐานท่ีเชื่อมโยงสู่การสรา้ งอาชพี และการมีงานทำ 6.3 การจัดการเรยี นการสอนทีส่ ่งเสรมิ การคิดวิเคราะหด์ ว้ ยวธิ ีการ Active Learning 6.4 การจัดการเรียนการสอนเพอื่ ฝกึ ทกั ษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเป็นขน้ั ตอน (Coding) 6.5 การพัฒนาครูให้มีความชำนาญในการจัดการเรียนรู้ภาษาองั กฤษและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) 6.6 การจัดการเรยี นรูด้ ้วย STEM Education 6.6.1 สถานศึกษามกี ารจัดการเรยี นการสอนแบบ STEM Education 6.6.2 สถานศกึ ษามีนวัตกรรมจากการเรยี นร้ตู ามแนวทาง STEM Education 6.6.7 การส่งเสริมทกั ษะการอ่านเขียนภาษาไทยเพ่ือใช้เป็นเคร่อื งมอื ในการเรียนรู้ภาษาอื่น 6.6.8 การใชด้ จิ ิทัลแพลตฟอรม์ เพอื่ การเรียนรูห้ รอื สรา้ งอาชพี

7 ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 1. มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยยี่ ม 2. หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ 2.1 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน พัฒนาผู้เรยี นในด้านการกล้าแสดงออก การนำเสนอ การอภิปราย และแลกเปลย่ี นเรยี นร้อู ย่าง สมเหตุสมผล พัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาตามสถานการณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสมเพิ่มกิจกรรมการใช้ภาษาองั กฤษเพอื่ ฝกึ ใหน้ ักเรยี นสามารถฟังและพูดโต้ตอบกับครูชาวต่างชาติ หรือ เพื่อนร่วมช้ันเรียน 2.2 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ การวางแผนพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพ ผ้เู รยี นไปสู่มาตรฐานในระดับสากล 2.3 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั พฒั นากิจกรรมทเ่ี นน้ การทำงานเปน็ ทีม ส่งเสรมิ ทกั ษะการแกป้ ญั หาผู้เรยี นดา้ นคุณภาพชีวิต และการวิเคราะหผ์ ้เู รียนเป็นรายบุคคล 3. โรงเรยี นมแี ผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอยา่ งไรให้ได้ระดับคุณภาพทีด่ ขี ้ึนกวา่ เดมิ 1 ระดับ 3.1 แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน ไดแ้ ก่ ยกระดับผลสมั ฤทธก์ิ ารทดสอบระดับชาติ NT และ O-NET ในทกุ วิชา การสอบเทยี บ มาตรฐานความรคู้ วามสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และภาษาองั กฤษ รวมทั้งมีผลลัพธท์ เ่ี กิดขึ้นอย่าง เป็นรูปธรรม ได้แก่ จำนวนการเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดับท่ีสูงขึ้น และการดำรงตนเป็นพลเมอื งดีและเป็นท่ยี อมรบั ในสังคม 3.2 แผนปฏิบตั ิงานท่ี 2 พัฒนาการจดั การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพ ในด้านกระบวนการ การจดั ให้มีแหลง่ เรียนรู้ในลกั ษณะห้องปฏิบัติการท่ีเอ้ือต่อการเรยี นที่เน้น การปฏิบัติจรงิ ได้แก่ หอ้ งปฏิบัตกิ ารสะเต็ม หอ้ งปฏิบตั ิงาน DIY. (Do It Yourself ) ใหน้ ักเรียนทำด้วยตนเอง หอ้ งศนู ย์รวมแหล่งเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม ที่ครูและนักเรยี นสามารถใชศ้ ึกษาค้นคว้า PLC Active Learning \"ซุปเปอร์คารพ์ าเพลิน\" ชน้ั ม.1 PLC Active Learning \"กลยุทธ์ 10 เหล่าทพั \" ชั้น ม.3 ห้องเรียนพิเศษ สสวท. อบรมการเพาะเลยี้ งเห็ดถ่งั เฉ้า สที อง 3.3 แผนปฏบิ ัติงานท่ี 3 การจดั กระบวนการเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ดว้ ยการพฒั นาทักษะการสอน ได้แก่ การให้ผเู้ รียนสร้างองค์ความรูด้ ว้ ยกระบวนการโครงงาน โดยบรู ณการกบั นวัตกรรมและเทคโนโลยตี ่าง ๆ เพ่ือพฒั นานกั เรียนฝึกทักษะการแก้ปญั หา คดิ เป็น ทำเปน็ และสรา้ งสรรคผ์ ลงาน รวมทัง้ เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ในระดบั ตา่ ง ๆ 3.4 แผนปฏบิ ัติงานที่ 4 พัฒนาศักยภาพ สมรรถนะ ความสามารถของครแู ละบุคลากร เพ่ือจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมอื อาชีพ สามารถวจิ ัย สร้างส่อื นวัตกรรมท่ีเปน็ เทคโนโลยีทางการศึกษา

8 3.5 แผนปฏิบตั งิ านท่ี 5 สง่ เสรมิ ความรว่ มมือ ส่งเสรมิ ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชมุ ชน หน่วยงานราชการ และ เอกชน ไดแ้ ก่ การทำ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การมีสว่ นร่วมการจัดกิจกรรมใหก้ บั นกั เรยี น การสนับสนุนทรัพยากรในการจัด กจิ กรรมของโรงเรียน การประชมุ ร่วมกบั สำนักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล (depa) 4. นวัตกรรม/แบบอย่างท่ดี ี 4.1 โครงการคลินิกภาษาไทยอยา่ งมสี ่วนร่วม • ส่ิงท่คี าดวา่ จะไดร้ บั จากการทำงาน กลุม่ นักเรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทม่ี ีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนภาษาไทยดา้ นการอ่าน พบว่า มนี ักเรียนอ่านไมอ่ อก 255 คน และอา่ นไม่คลอ่ ง 327 คน ทัง้ หมด 582 คน จะมกี ารพฒั นาเพิม่ ข้นึ หลังจากที่ คณะครูกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดจ้ ัดกจิ กรรมการสอน โดยใช้วิธีการสอนทกั ษะแบบบันไดสี่ข้ันไดแ้ ก่ ขนั้ ท่ีหน่งึ ครนู ำเดก็ เปล่งเสียง อา่ นออกเสียง แจกลูก สะกดคำ ผันเสียง กระทำซำ้ ๆ กัน คำละประมาณ 2-3 ครงั้ ข้ันที่สอง ครูนำเดก็ เปลง่ เสียง อ่านคำ กลุ่มคำและขอ้ ความทผ่ี ูกไว้เปน็ เร่อื งของแตล่ ะตอน กระทำซำ้ ๆ กันประมาณ 2-3 เทย่ี ว ขั้นที่สาม ให้เด็กคัดลายมือจากคำ กลุ่มคำและข้อความที่ผกู ไว้เปน็ เร่ืองเสร็จแล้วใหน้ ำสมุด คดั ลายมือนก้ี ลับไปอา่ นอวดผ้ปู กครองทบี่ ้าน (ขอ้ ควรพึงระวงั ) คือใหเ้ ด็กคัดลายมอื เพียงคำ กล่มุ คำและเรอื่ งเท่านนั้ อยา่ ใหเ้ ดก็ คดั คำ แจกลกู ของคำอยา่ งเด็ดขาดเพราะจะทำให้เด็กรู้สึกเบ่อื ขน้ั ทส่ี ี่ “เขยี นตามคำบอก” โดยครเู ลือกคำ จากคำหรือกลมุ่ หรอื ข้อความท่ีผกู ไว้เป็น ทดสอบ เร่อื ง ซึง่ เดก็ ไดค้ ดั ลายมอื แล้วนั้นมาเปน็ คำทดสอบ โดยใหค้ รบู อกคำละ 2 ครั้ง ในแต่ละคำ อาจมี 1 พยางค์ หรือ 2 พยางค์ หรอื 3 พยางค์ หรอื 4 พยางค์ก็ได้ ให้คำนงึ ถงึ ทกั ษะและลำดับแห่งการเรียนรู้ของเด็กเป็นสำคัญ ผลการตรวจการเขยี นตามคำบอกจะทำให้ครู รบั รถู้ งึ พฒั นาการของเดก็ สามารถวิเคราะห์ขอ้ บกพร่องในการเรียนการสอนและจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การ พจิ ารณาแกไ้ ข ปรบั ปรุง หรอื ทบทวนฝึกฝนในวนั ต่อไป การพฒั นาทกั ษะการอ่านในโครงการเสริมพลังคลนิ ิก ภาษาไทยอย่างมีสว่ นรว่ ม ดำเนนิ การในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562

9 • ส่งิ ทเ่ี กิดข้ึนจรงิ สูงกว่าที่คาดหวงั คอื อะไร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดา้ นทกั ษะการอา่ นของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 กลุ่มทอ่ี ่านไมอ่ อกและ อา่ นไมค่ ล่อง หลงั จากเข้ารว่ มโครงการคลนิ กิ ภาษาไทยครบ 15 สัปดาห์ตามเวลาที่กำหนด โดยใช้วิธีการสอน แบบบันไดทักษะสี่ขนั้ พฒั นานักเรียนกล่มุ ทอี่ ่านไมอ่ อกและอ่านไมค่ ลอ่ ง พบวา่ - นกั เรียนที่อ่านไม่ออก จำนวน 255 คน 255 คน 327 คน พบวา่ มีนักเรียนผ่านการประเมนิ ความสามารถ 121 คน 218 คน ดา้ นการอ่าน จำนวน 121 คน คิดเปน็ ร้อยละ 47.45 - นักเรยี นที่อ่านไม่คลอ่ ง จำนวน 327 คน อ่านไม่ออก อ่านไม่คลอ่ ง พบว่ามนี กั เรยี นผ่านการประเมนิ จำนวน 218 คน จาวนทงั้ หมด พัฒนาข้นึ และผ่านการประเมิน คดิ เป็นร้อยละ 66.67 • สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริงตำ่ กวา่ ที่คาดหวังคอื อะไร นกั เรยี นไม่ผา่ นการประเมินความสามารถด้านการอา่ นไม่ออก จำนวน 134 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 52.55 และไม่ผ่านการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นไม่คล่อง จำนวน 109 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 • ส่งิ ทไี่ ดเ้ รยี นรแู้ ละเป็นประโยชน์คืออะไร การจัดกิจกรรมของครูกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย สามารถใช้เปน็ แนวทางการแก้ปญั หาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนด้านทักษะการอ่านของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1–6 มวี ิธกี ารและข้นั ตอนท่ีสำคัญ ดังน้ี 1. ประชุมครูผเู้ กี่ยวขอ้ งในการดำเนนิ โครงการคลินิกภาษาไทย 2. ดำเนินการคัดกรองนักเรียนดว้ ยการทดสอบการอา่ นรายบุคคลระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 3. วเิ คราะห์ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนด้านการอา่ นภาษาไทย 4. ประชมุ ครผู ้เู กี่ยวข้อง เพอ่ื จดั กลมุ่ นักเรียนกลมุ่ ทีอ่ า่ นไม่ออก อา่ นไม่คล่อง เข้าโครงการคลนิ ิก ภาษาไทยพฒั นาทกั ษะการอา่ น 5. ดำเนินการพัฒนาทักษะการอ่านใหก้ บั นักเรยี นกลมุ่ ทีอ่ ่านไมอ่ อก อ่านไมค่ ลอ่ ง ตามตารางเรยี น ท่กี ำหนด โดยใช้วิธีการสอนแบบบนั ไดทักษะส่ีขนั้ 6. ประชุมครผู ู้เกยี่ วข้องในการดำเนนิ การเตรยี มความพร้อมเพอ่ื ประเมินผลการอ่านหลังส้นิ สุดโครงการ 7. ดำเนนิ การประเมนิ ผลการอา่ นนกั เรียนกล่มุ ท่ีอ่านไม่ออก อา่ นไมค่ ล่อง เป็นรายบุคคลหลงั ส้ินสุด โครงการคลินิกภาษาไทย 8. วเิ คราะหผ์ ลการประเมินการอา่ นด้วยการตรวจคะแนนผลการทดสอบการอา่ นเพ่อื เปรยี บเทยี บ สรปุ ผลพัฒนาการอ่านก่อนเข้าโครงการฯ และหลังสิ้นสุดโครงการฯ เพ่ือสรปุ อภิปรายผล 9. รายงานผลการดำเนนิ โครงการคลนิ กิ ภาษาไทย

10 • คดิ วา่ ควรปรับปรงุ อะไร วธิ กี ารลด/แก้ความแตกต่างคืออะไร การใหค้ วามร่วมมือของทกุ ฝ่ายท้งั ฝา่ ยโรงเรียน ผู้ปกครองและนักเรยี นทีต่ ระหนกั ถงึ ความจำเป็นทจ่ี ะตอ้ ง พฒั นาผลสัมฤทธิ์ใหท้ นั กลุ่ม เพ่อื การพัฒนาการเรียนรู้ในวชิ าอืน่ ๆ ซ่งึ ตอ้ งอาศยั ความสามารถในการอา่ นทัง้ สนิ้ พรอ้ มทั้งมีการติดตามผลการพฒั นาอย่างใกล้ชิดและต่อเน่อื ง • หากทำตอ่ ไป จะปรับปรงุ อะไรให้ดขี น้ึ มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1. ครผู สู้ อนในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 และ ระดับอนบุ าล ควรทำความเขา้ ใจให้ตรงกันเพอ่ื เตรยี ม ความพรอ้ มในการพฒั นานกั เรียนระดบั ชนั้ อนบุ าล ที่จะขน้ึ ไปเรียนในช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ให้เนน้ การจำสระ และวรรณยุกต์ ออกเสยี งและจำรปู เปล่งเสยี งอา่ นแจกลกู –สะกดคำได้ถูกต้อง รวมถึงฝึกการจบั ดนิ สอเขียน ตัวอกั ษร (เขียนหวั พยญั ชนะ) ให้ฝึกไปทศิ ทางเดียวกัน 2. ครผู ูส้ อนควรจะต้องศึกษาหาความรู้ในการสอนหลาย ๆ รูปแบบ และทำความเข้าใจกบั รูปแบบต่าง ๆ รวมทัง้ ศึกษาบัญชคี ำพนื้ ฐานมาบรู ณาการกบั คำในหนังสอื เรยี น เพอ่ื พฒั นาจัดทำสือ่ หรือแบบฝึกทักษะการอ่าน หลาย ๆ รูปแบบ ให้นกั เรียนไดเ้ รียนรู้ 3. ขณะดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ครูต้องใชห้ ลกั ของความรัก ความเมตตาเออ้ื อาทรในการดูแล ชว่ ยเหลอื นกั เรียนท่ีอ่านไมอ่ อก อา่ นไม่คล่อง และไม่เข้าใจหลกั การอ่านแจกลูกสะกดคำ ดงั นนั้ ระหว่างการใชส้ ื่อ หรอื หนงั สอื ฝึกอา่ นภาษาไทย อาจพบอปุ สรรคในการเรียนรู้ ครูต้องคอยชีแ้ นะหรืออธบิ ายชว่ ยเหลือนักเรียน ตลอดเวลา อาจตอ้ งใช้เวลาแนะนำ อธบิ าย หรอื ยกตัวอย่าง ซงึ่ ครอู าจยึดหยนุ่ ไดต้ ามความเหมาะสม 4. ข้อมลู การคัดกรองนกั เรียนเปน็ รายบุคคล เพือ่ ส่งตอ่ ภายในระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนควรดำเนนิ การ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งทุกปีการศึกษา 4.2 โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม • สิง่ ท่ีคาดวา่ จะได้รบั จากการทำงาน โครงการโรงเรยี นคุณธรรม มีเปา้ หมายเพื่อ สนองพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวรชั กาลที่ 9 “ใหโ้ รงเรยี นสรา้ งคนดี ให้แก่บ้านเมือง” การสร้างพฤติกรรมบ่งช้ีเชิงบวกและคุณธรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหา (ความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ และ ความสุภาพ) นักเรียนมีพฤติกรรมเชิงบวก จนกลายเป็นนิสัยถาวรและเป็นพฤติกรรม ปกตทิ ่ีแสดงออกในชวี ติ ประจำวนั นักเรยี น ครู และบุคลากรไดร้ ับความรู้ ฝึกทกั ษะ และ เกดิ ประสบการณ์ • สิ่งทเี่ กิดขึน้ จริงสูงกว่าท่คี าดหวังคืออะไร จากการทโ่ี รงเรยี นได้เข้ารว่ มการประเมิน การส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมในสถานศึกษา ตามโครงการ “โรงเรยี นคณุ ธรรมนนทบรุ ี เทิดไท้องคร์ าชนั ” ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 เป็นครง้ั แรกผลการประเมินท่ไี ดร้ ับ คอื ระดบั เพชร ทีค่ ะแนน 33.00 จากคะแนนเตม็ 35 คะแนน

11 • สง่ิ ทเ่ี กิดขึ้นจริงต่ำกวา่ ท่ีคาดหวงั คืออะไร ครู และ บุคลากรบางส่วนแสดงพฤติกรรมเพิกเฉย คิดวา่ มิใช่หนา้ ทข่ี องตนเอง ขาดความตระหนัก และขาดการ มีส่วนร่วมในการอบรมดูแลนักเรียนเพ่ือช่วยกันสร้างความมีระเบียบวินัย ความรบั ผิดชอบ และ ความสุภาพ ให้เกดิ ขน้ึ ในตัวผ้เู รียน • สิง่ ทไี่ ด้เรียนร้แู ละเป็นประโยชน์คอื อะไร นักเรยี น ครู และบุคลากรของโรงเรยี นชลประทานวิทยา โดยพ้ืนฐานเป็นผทู้ ไี่ ดร้ ับการบ่มเพาะทางพฤติกรรม และจิตใจ ให้เป็นผู้มีคุณธรรมที่ดี มรี ะเบียบวนิ ัย ความรบั ผิดชอบ และ ความสุภาพอย่างตอ่ เนือ่ งตลอดมาจงึ สง่ ผล ให้การประเมนิ ได้รับรางวัลในระดับเพชร นอกจากน้คี รูได้เรยี นร้แู นวทางและกระบวนการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ธรรม 6 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1. กิจกรรมพฒั นาศักยภาพครู แกนนำ และนกั เรยี นแกนนำ 2. กิจกรรมจดั ทำแผนและโครงงานคณุ ธรรม 3. กจิ กรรมนิเทศตดิ ตาม 4. กจิ กรรมรายงานความกา้ วหนา้ ในการปฏิบัติงานครบ 6 เดือน และครบปี 5. กิจกรรมประเมินผลการเปลีย่ นพฤติกรรมในโรงเรยี น 6. การบรหิ ารจดั การกิจกรรม ข้ันตอนการคน้ หาคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี นชลประทานวทิ ยา ทปี่ ระกอบดว้ ย 1. ค้นหาปัญหา 2. ค้นหาสาเหตขุ องปัญหา 3. กำหนดพฤติกรรมบ่งชเี้ ชงิ บวก 4. กำหนดคณุ ธรรมในการแก้ปญั หา 5. กำหนดคุณธรรมเป้าหมาย 6. จัดทำตารางคุณธรรมอตั ลักษณ์ • คิดว่าควรปรบั ปรงุ อะไร วธิ กี ารลด/แกค้ วามแตกตา่ งคอื อะไร การขับเคลอ่ื นของโรงเรียนทมี่ นี กั เรียนจำนวนมากกวา่ 6,500 คน รวมถึงครูและบุคลากรมากกว่า 400 คน ไปพร้อมกันนั้น การสร้างความเข้าใจและพร้อมจะขับเคล่ือนไปด้วยกันเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลา แต่ก็คงไม่เกิน ความสามารถถ้าทุกคนพร้อมใจกัน เพราะเช่ือมั่นว่านักเรียนครู และบุคลากร พร้อมจะเปลี่ยนแปลงและปรับปรุง เพ่ือไปสู่ส่ิงที่ดีท่ีสุดแก่ตนเองและโรงเรียน อาจต้องใช้เวลาใช้การสื่อสาร สร้างความเข้าใจท่ีชัดเจน สร้างความรัก และ ผูกพัน ใหเ้ กิดเปน็ วัฒนธรรมองค์กร สรา้ งทมี งานทีม่ คี ุณภาพดว้ ยระบบเครอื ข่ายของแต่ละภาคสว่ น สร้างความเข้าใจ เห็นคุณค่าและยอมรับเป้าหมายน้ัน ๆ จะส่งผลให้การดำเนินงานประสานไปในทิศทางเดียวกัน สร้างพื้นฐานความเช่ือมั่นท่ีมีต่อสถาบัน และเช่ือมั่นในความสามารถ ความสำคัญของแต่ละบุคคลว่าตนเองเป็น กำลงั สำคญั ในการสร้างวฒั นธรรม คณุ ธรรม อตั ลักษณข์ องโรงเรียนชลประทานวิทยาไดอ้ ย่างย่ังยนื

12 • หากทำต่อไป จะปรับปรงุ อะไรใหด้ ีขน้ึ 1. สรา้ งความเขม้ แขง็ ของเครอื ขา่ ย กลมุ่ บคุ ลากรทุกฝา่ ยที่มีสว่ นได้สว่ นเสียกับโรงเรยี น 2. ระบบการสอื่ สารเชิงบวกทล่ี งสู่กลมุ่ /เครอื ข่าย 3. สร้างความตระหนัก ทศั นคติ ความรกั และความผูกพันต่อสถานศึกษา 5. ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา 5.1 มหี ลักสตู รท่ที นั ต่อยุคสมัยแห่งเทคโนโลยี มกี ารใช้แอพพลเิ คชนั่ ในการบรหิ ารการเรยี น การสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นให้มคี วามรูด้ ้านเทคโนโลยี (ICT) 5.2 ระบบการบริหารจดั การองคค์ วามรู้ ท่ีครแู ละบุคลากรทกุ คนมคี วามเข้าใจ และความม่งุ มน่ั ตอ่ “เป้าหมายเดยี วกัน” คือ การสร้างคุณภาพของผู้เรยี น 5.3 จดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ การพัฒนาทักษะการใช้ชวี ติ ในสังคมควบคูค่ ุณธรรม เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถนำความรู้ท่ีได้รบั ไปพฒั นาตอ่ ยอดสรา้ งความสำเร็จใหก้ บั ชวี ิต ด้วยการประกอบสัมมาอาชีพที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวมในอนาคต 5.4 จัดกจิ กรรมโครงการพัฒนาคณุ ธรรมและวฒั นธรรมได้แก่ โครงการพฒั นาทางดา้ นภาษา พัฒนาทกั ษะการอ่านไม่ออก อา่ นไมค่ ลอ่ ง ไดแ้ ก่ โครงการคลนิ ิกภาษาไทยอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม รวมทง้ั โครงการพฒั นาทางด้านการอบรมจริยธรรม 6. โรงเรยี นไดด้ ำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 6.1 ส่งเสรมิ การเรียนร้ดู ้านวิชาการของผู้เรยี นท่เี นน้ ทักษะการวจิ ยั หรอื การทำโครงงาน 6.2 การเสรมิ ทกั ษะผูเ้ รียนด้านดิจิทลั (Coding) 6.3 มงุ่ พฒั นาคุณลกั ษณะผเู้ รยี นสมู่ าตรฐานสากลบนพ้นื ฐานคุณธรรม ลงนาม................................................................. (นางสาวนิตยา เทพอรณุ รัตน์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นชลประทานวทิ ยา วัน................เดอื น.........................................พ.ศ……………

13 ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพ้ืนฐาน 1. ข้อมลู พ้นื ฐาน 1.1 โรงเรยี นชลประทานวทิ ยา รหสั โรงเรยี น 1112100090 ที่ตั้งเลขที่ 201 หมู่ 1 ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 11120 เนื้อที่ 62 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน โทรศพั ท์ 0-2583-4047 โทรสาร 0-2962-3552 e-mail : [email protected] Website : www.cpw.ac.th ได้รับอนุญาตจัดตั้งเม่ือ 6 กรกฎาคม 2498 เปิดสอนระดบั ชน้ั เตรยี มอนุบาลปที ี่ 1 ถงึ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตพนื้ ทีบ่ รกิ าร สำนกั งาน เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 จำนวนนกั เรียน 6,564 คน จำนวนบคุ ลากรโรงเรยี น 391 คน ลักษณะผรู้ บั ใบอนุญาต ✓ นติ ิบุคคล สวัสดิการกรมชลประทาน ประเภทโรงเรียน ✓ สามัญปกติ ประวตั ิโรงเรยี นชลประทานวทิ ยา โรงเรยี นชลประทานวิทยา เปน็ โรงเรยี นเอกชนในระบบ ประเภทสามญั ศึกษา กอ่ ตัง้ ในปี พ.ศ.2498 โดยหมอ่ มหลวงชูชาติ กำภู อดีตอธิบดีกรมชลประทาน บนพ้นื ที่ 62 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา เร่ิมเปดิ ทำการเมื่อ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2498 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีผู้จัดการโรงเรียน คนแรกคอื หมอ่ มหลวงถาวร สนทิ วงศ์ และ ครูใหญ่คนแรกคอื นายโกศล ภาสวนิช มอี าคารเรียนเปน็ อาคารไม้ ชั้นเดียวจำนวน 2 อาคาร อยู่ในบริเวณกรมชลประทานปากเกรด็ ใกล้ ๆ กับที่ตั้งโรงพยาบาลชลประทานในปี พ.ศ.2502 ยา้ ยโรงเรียนมาอยูบ่ ริเวณพื้นที่ตรงขา้ มกรมชลประทาน บนพ้นื ที่ 62 ไร่ ปกี ารศกึ ษา 2521 เรมิ่ มพี ธิ ี ไหว้ครูในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2521 รวมกับทำพิธีบวงสรวงเทพารักษ์ประจำโรงเรียน (ศาลพ่อปู่ชัยมงคล) และพระพทุ ธวิทโยทัย เป็นประจำทุกปี ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย (เตรียมอนุบาล- อนบุ าล 3) และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 และมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-6) ตราประจำโรงเรยี น เป็นตวั แทนของฝนเปน็ สัญลกั ษณ์ตวั แทนของกรมชลประทาน เป็นบอ่ เกดิ ของนำ้ ทำให้เกิดความชุ่มฉ่ำเย็น พระพริ ณุ /พระวรณุ เปน็ สญั ลักษณก์ ารพัดพาเอาความเย็นเข้ามาในโรงเรยี น เมฆ บว่ งบาศพัดโบก

14 สง่ิ สักการะบชู า พระพทุ ธวิทโยทยั ศาลพ่อปชู่ ัยมงคล อนสุ าวรีย์ ม.ล.ชชู าติ กำภู สีประจำโรงเรยี น สีชมพู หมายถึง ต้นไมป้ ระจำโรงเรยี น สีนำ้ เงนิ หมายถงึ สีของกรมชลประทาน ตน้ ชมพพู ันธุท์ พิ ย์ แผนทีโ่ รงเรียน สถานท่ีตัง้ เลขที่ 201 หม่ทู ี่ 1 ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จงั หวัดนนทบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 11120

15 ข้อมูลผ้บู รหิ าร ลำดบั ผูจ้ ัดการโรงเรยี นชลประทานวทิ ยา ตั้งแต่เร่ิมก่อตง้ั จนถงึ ปจั จบุ ัน ลำดบั ชือ่ -สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลาท่ีอยู่ในตำแหน่ง 1 หม่อมหลวงถาวร สนิทวงศ์ ผู้จัดการ มิ.ย. 2498 - 30 มิ.ย. 2501 2 นายประหยดั ไพทกี ุล ผจู้ ดั การ 1 ก.ค. 2501 - 31 ต.ค. 2530 3 นายวีระ พ่มุ วเิ ศษ ผูจ้ ดั การ 1 พ.ย. 2530 - 31 ต.ค. 2531 4 นายวเิ นตร สัตตวัตรกลุ ผู้จดั การ 1 พ.ย. 2531 - 2 พ.ย. 2536 5 นายเลอศักดิ์ ร้วิ ตระกลู ไพบลู ย์ รักษาการผ้จู ัดการ 3 พ.ย. 2536 - 30 ก.ย. 2537 6 นายสมโพธน์ สขุ มุ พานิช ผจู้ ดั การ 1 ต.ค. 2537 - 30 ก.ย. 2538 7 นายชุมพล อินทรานกุ ูล ผจู้ ัดการ 1 ต.ค. 2538 – 30 เม.ย. 2543 8 นายวิทยา สมาหาร ผจู้ ดั การ 1 พ.ค. 2543 – 30 เม.ย. 2557 9 นายจรูญ พจน์สนุ ทร ผ้จู ัดการ 1 พ.ค. 2557 – 31 ต.ค. 2559 10 นายเลอศกั ดิ์ รว้ิ ตระกลู ไพบลู ย์ ผจู้ ัดการ 1 พ.ย. 2559 - ปจั จบุ ัน ลำดบั ผ้อู ำนวยการโรงเรียนชลประทานวิทยา ตั้งแตเ่ รม่ิ กอ่ ตง้ั จนถึงปจั จบุ นั ลำดบั ชอ่ื -สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาทอี่ ยใู่ นตำแหน่ง 1 นายโกศล ภาสวณิช อาจารยใ์ หญ่ 2 มิ.ย. 2498 – 2 ม.ค. 2500 2 นายชว่ ง พิทักษ์จำนง อาจารยใ์ หญ่ 3 ม.ค. 2500 – 20 พ.ค. 2500 3 ขนุ ชำนาญ ครุ ุวิทย์ อาจารยใ์ หญ่ 21 พ.ค. 2500 – 31 พ.ค. 2502 4 นายประหยดั ไพทีกุล อาจารย์ใหญ่ 1 มิ.ย. 2502 – 4 ม.ิ ย. 2522 5 นายไพจติ ร เสงยี่ มลักษณ์ อาจารยใ์ หญ่ 5 มิ.ย. 2522 – 15 พ.ค. 2547 6 นายวิชยั ซาตะนยั ผู้อำนวยการ 16 พ.ค. 2547 – 14 พ.ค. 2553 7 นางประพิณพร เย็นประเสรฐิ ผู้อำนวยการ 17 พ.ค. 2553 – 30 เม.ย. 2557 8 นางอภิสรา ธรี ะมิตร ผู้อำนวยการ 1 พ.ค. 2557 - 31 ธ.ค 2559 9 นางสาวนติ ยา เทพอรุณรตั น์ ผอู้ ำนวยการ 1 ม.ค. 2560 – ปัจจุบัน

16 ข้อมูลผ้บู รหิ ารและบคุ ลากรโรงเรียนชลประทานวิทยา ปีการศึกษา 2562 ผู้รบั ใบอนุญาต (อธิบดกี รมชลประทาน โดยตำแหนง่ ) ดร.ทองเปลว กองจนั ทร์ วุฒิการศึกษาสงู สดุ ปริญญาเอก ปัจจบุ ันดำรงตำแหน่งอธบิ ดีกรมชลประทาน โทรศพั ท์ 02-241-0065 ผ้จู ัดการโรงเรียน นายเลอศักด์ิ ริ้วตระกูลไพบูลย์ วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด M.S.A.E.(Soil& -Water Cong.) Gregcrio ARNETA UNIVERSITY FOUNDATION ประเทศฟลิ ิปปินส์ ปัจจุบนั ดำรงตำแหน่งที่ปรกึ ษารัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ อดีต อธบิ ดีกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร โทรศพั ท์ 08-4700-0480 E-mail: [email protected]. ผูช้ ว่ ยผูจ้ ัดการ นายชยั รัตน์ เก้ืออรณุ วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ปรญิ ญาโท อดตี รองอธบิ ดีกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร โทรศพั ท์ 08-4700-477 E-mail: [email protected]

17 ท่ปี รึกษาผู้จดั การ ด้านบรหิ ารและจดั การศึกษา นายธรี ะพงศ์ นยิ มทอง วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) สาขาการโฆษณา มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ รับผดิ ชอบดา้ นการบริหารและการจัดการศกึ ษา อดีต ผอู้ ำนวยการโรงเรียนเตรียมอดุ มพฒั นาการ โทรศพั ท์ 08-1870-4423 ท่ปี รกึ ษาผจู้ ดั การ ดา้ นการจดั การศึกษาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ นายสมประสงค์ สิงคชาติ วุฒิการศึกษาสงู สดุ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสัตววทิ ยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รับผิดชอบด้านการจดั การศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดตี หัวหน้าฝ่ายวชิ าการโรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลัย โทรศัพท์ 08-1651-3951 E-mail : [email protected] ท่ปี รกึ ษาผู้จดั การ ดา้ นคณติ ศาสตร์ และการจัดการศึกษาโครงการพเิ ศษ นายเผดียง เสยี งสกุล วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รบั ผดิ ชอบดา้ นคณิตศาสตร์ และการจัดการศึกษาโครงการพเิ ศษ อดีต รองผู้อำนวยการโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา โทรศัพท์ 08-1777-8449

18 ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน และรองผูอ้ ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ นางสาวนิตยา เทพอรณุ รตั น์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ดษุ ฎีบัณฑิต สาขาบรหิ ารการศึกษา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย อดตี รองผู้อำนวยการโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย โทรศัพท์ 08-9518- 8470 E-mail: [email protected] ท่ปี รกึ ษาดา้ นยุทธศาสตร์การพฒั นาวชิ าการ นายไตรรตั น์ สทุ ธเกยี รติ วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสุด ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขานเิ ทศการศกึ ษาและพัฒนาหลักสตู ร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โทรศพั ท์ 06-5526-4596 หวั หนา้ ศนู ย์วัฒนธรรม นางมยรุ ี วงศท์ องคำ วฒุ ิการศึกษาสูงสุด อักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาศิลปะการละคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั โทรศพั ท์ 08-1618-7203 ผ้ปู ระสานงานโครงการเสริมพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ นางกญั ญา โตแก้ว วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ การศกึ ษาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วัน โทรศัพท์ 08-9220-9129

19 ท่ปี รกึ ษาโครงการพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาจนี นายปลิว ตอ่ เจริญ วุฒิการศึกษาสูงสุด การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร โทรศพั ท์ 08-1901-930 ท่ีปรึกษาโครงการพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ นางสาวอัจฉรา ศิรอิ าชารงุ่ โรจน์ ปริญญาตรี อักษรศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปริญญาโทศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษใน ฐานะภาษาตา่ งประเทศ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร รองผู้อำนวยการฝา่ ยธุรการ รักษาการรองผู้อำนวยการ นางปยิ ะนุช แก้วประกอบ ฝ่ายกิจการนกั เรยี น วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด นางวรรฐิญา โตเสอื ครุศาสตรบัณฑติ วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุด มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ครุศาสตรบณั ฑติ โทรศพั ท์ 08-4415-4644 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา รองผู้อำนวยการฝา่ ยปกครอง โทรศพั ท์ 08-4731-9797 นายจรัล เนติ วุฒิการศึกษาสงู สุด รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบรกิ าร ครุศาสตรบัณฑติ นายคำรณ คงแย้ม มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุด โทรศพั ท์ 08-9662-7123 ครศุ าสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร โทรศพั ท์ 08-4545-7791

20 โครงสร้างการบรหิ ารงาน โรงเรยี นชลประทานวิทยา โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน โครงการจัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการเปน้ ภาษาอังกฤษ (English program)

21 การจดั การเรียนการสอน • ภาคปกติ ได้รบั อนุญาตเม่ือ 6 กรกฎาคม พ.ศ.2498 • โครงการจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สูตรกระทรวงศกึ ษาธิการ เปน็ ภาษาอังกฤษ English Program (E.P.) ไดร้ ับอนญุ าตเมอ่ื ปีการศกึ ษา 2559 • โครงการเสริมพเิ ศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Enrichment Science & Math Project : ESMP) ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 ได้รับอนญุ าตเมอื่ ปกี ารศกึ ษา 2560 • โครงการห้องเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ (Science-Math Chonprathanwittaya : SM-CPW) ระดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6 ไดร้ ับอนุญาตเมือ่ ปีการศกึ ษา 2561 • โครงการห้องเรียนพเิ ศษวิทยาศาสตร์มาตรฐานสากลตามแนวทางสถาบันส่งเสรมิ การสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีและบรบิ ทโรงเรยี นชลประทานวทิ ยา (หอ้ งเรยี น สสวท.) ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 ได้รับอนุญาตเมอ่ื ปกี ารศึกษา 2561 • โครงการห้องเรยี นพเิ ศษอุตสาหกรรมการบนิ (Chonprathanwittaya Aviation School : CPW-IAS) ระดับมธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6 ไดร้ บั อนญุ าตเม่อื ปีการศึกษา 2561 • โครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษ English Chonprathanwittaya : Eng-CPW ระดับประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 ได้รับอนญุ าตเมื่อ ปกี ารศึกษา 2562 • โครงการ Gifted English (G.E.) ระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 ไดร้ บั อนญุ าตเม่ือ ปีการศึกษา 2562

22 จำนวนหอ้ งเรียน/ผู้เรยี นจำแนกตามระดบั ที่เปดิ สอน (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 10 มถิ นุ ายน พ.ศ.2562) ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ระดบั ท่ีเปิดสอน จำนวนห้องเรียน จำนวนผู้เรียนปกติ รวมจำนวนผู้เรยี น ห้องเรียนปกติ ชาย หญิง เตรยี มอนุบาล 1 14 11 25 อนบุ าลปีท่ี 1 9 206 163 369 อนุบาลปที ี่ 2 10 186 189 375 อนุบาลปที ่ี 3 10 219 180 399 รวม 30 625 543 1,168 ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวนห้องเรยี น จำนวนผ้เู รียน ระดบั ทเ่ี ปดิ สอน ปกติ รวมจำนวน ห้องเรยี น หอ้ งเรียน Gifted ENG SM ชาย หญงิ ผ้เู รียน ปกติ EP English CPW CPW ประถมศึกษาปที ี่ 1 1 2 11 - - 335 251 586 ประถมศกึ ษาปีที่ 2 11 2 - - - 303 287 590 ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 11 2 - - - 292 266 558 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 8 2 2 2 2 302 261 563 ประถมศึกษาปีที่ 5 10 2 - - 2 300 281 581 ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 11 2 - - - 308 265 573 รวม 52 12 13 2 4 1,840 1,539 3,451 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั ทีเ่ ปิดสอน จำนวนห้องเรยี น จำนวนผ้เู รยี นปกติ รวมจำนวนผเู้ รยี น หอ้ งเรยี นปกติ หอ้ งเรียน EP หอ้ งเรยี น ESMP ชาย หญงิ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 7 2 3 220 199 419 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 6 2 3 208 200 408 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 7 - 3 209 181 390 รวม 20 4 9 637 580 1,217 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับทีเ่ ปิดสอน จำนวนห้องเรยี น จำนวนผู้เรียน รวมจำนวน ปกติ ผเู้ รียน ห้องเรียนปกติ ห้องเรียน สสวท. ห้องเรียนอุตสาหกรรมการบิน ชาย หญิง มัธยมศึกษาปีที่ 4 5 1 2 140 132 272 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 5 1 1 130 135 265 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 4 - - 89 102 191 รวม 14 2 3 359 369 728

23 1.3 จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 1.3.1 สรปุ จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกวฒุ ิการศกึ ษาและประเภท/ตำแหน่ง ประเภท/ตำแหน่ง จำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา รวม ตำ่ กว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก 1. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา - ผรู้ บั ใบอนญุ าต 11 - ผจู้ ัดการ 11 - ผชู้ ่วยผู้จัดการ 11 - ที่ปรึกษาผูจ้ ดั การ 33 - ผอู้ ำนวยการ 11 - ทป่ี รกึ ษาโครงการ 55 - รอง/ผู้อำนวยการ 44 รวม 4 10 2 16 2. ผสู้ อนการศึกษาปฐมวยั - ครูบรรจุ 61 10 71 - ครูต่างชาติ 3. ผู้สอนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับประถมศกึ ษา - ครบู รรจุ 126 16 142 - ครูตา่ งชาติ 5 ระดบั มัธยมศึกษา - ครูบรรจุ 85 9 94 - ครูต่างชาติ รวม 272 35 312 4. บคุ ลากรทางการศึกษา (ฝา่ ยสนับสนนุ ) 31 31 5. อ่นื ๆ (ระบ)ุ ... - เจา้ หนา้ ท่ี 5 23 28 - ลูกจ้างประจำ 13 4 รวม 6 26 32 รวมทั้งส้นิ 12 333 45 2 391 ครู 312 คน บุคลการ 31 คน 500 ผบู้ ริหาร 16 คน เจ้าหนา้ ที่อื่นๆ 32 คน 0 กราฟแสดงจานวนบคุ ลากร

24 สรปุ อัตราส่วน ระดับปฐมวยั ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จำนวนผูเ้ รียนตอ่ ครู 1 : 17 ระดบั ประถมศึกษา จำนวนผเู้ รียนตอ่ หอ้ ง 1 : 39 จำนวนผเู้ รยี นต่อครู 1 : 26 จำนวนผเู้ รียนตอ่ ห้อง 1 : 40 ระดบั มัธยมศึกษา จำนวนผเู้ รยี นตอ่ ครู 1 : 11 จำนวนผ้เู รียนต่อหอ้ ง 1 : 40 1.3.2 สรุปจำนวนครูผู้สอน จำแนกตามระดับและกลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวนครูผสู้ อน ระดับ/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ปฐมวยั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา ตรงเอก ไมต่ รงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ปฐมวัย 44 27 - - - - ภาษาไทย - - 15 8 11 - คณติ ศาสตร์ - - 12 12 11 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - - 13 5 13 1 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม - - 8 7 7 5 สุขศกึ ษาและพลศึกษา - - 10 - 8 - ศลิ ปะ - - 9 - 4 1 การงานอาชพี - - 13 2 9 3 ภาษาต่างประเทศ - - 19 3 10 - รวม 44 27 99 37 73 12 สอนตรงเอก 74% กราฟแสดงจานวนครทู สี่ อนตรงเอกและไมต่ รงเอก สอนไม่ตรงเอก 26% 216 คน สอนตรงเอก สอนไมต่ รงเอก 200 150 100 99 คน 73 คน 76 คน 37 คน รวม 50 44 คน 12 คน 27 คน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา 0 ปฐมวัย

25 1.3.3 สรุปจำนวนครูผสู้ อนกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น จำนวนครูผู้สอน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา  กจิ กรรมนกั เรยี น - ลูกเสอื และ เนตรนารี 52 - ยวุ กาชาด -- - ผูบ้ ำเพญ็ ประโยชน์ -- - รกั ษาดนิ แดน (ร.ด.) -3 - กิจกรรมชมุ นุม ชมรม 56 53 - อนื่ ๆ...ใหร้ ะบุ --  กจิ กรรมแนะแนว 43  กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ - - รวม 65 61 1.3.4 สรุปจำนวนครูและบคุ ลากรทางลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาดและผูบ้ ำเพ็ญประโยชน์ ลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ จำนวนผูบ้ งั คับบญั ชา จำนวนวฒุ ิทางลูกเสือ การจัดต้ังกองลกู เสอื ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ มวี ฒุ ิ ไม่มีวุฒิ จดั ต้งั ไม่จดั ต้ัง ลกู เสอื เนตรนารี สำรอง 2 2- -- ลูกเสือ เนตรนารี สามญั 3 3- -- ลกู เสอื เนตรนารี สามัญร่นุ ใหญ่ 2 2- -- ลกู เสอื เนตรนารี วิสามัญ - - - -- ยวุ กาชาด - - - -- ผู้บำเพ็ญประโยชน์ - - - -- รวม 7 7 - - - 1.3.5 สรปุ จำนวนครูทีท่ ำหน้าท่คี ดั กรอง และนักเรยี นทีม่ ีความต้องการจำเป็นพิเศษ (กรณโี รงเรยี นมนี ักเรยี นพเิ ศษเรียนร่วม) : ไมม่ ี 1.3.6 สรปุ จำนวนครูที่เขา้ รับการอบรมเกีย่ วกับโรงเรียนคณุ ธรรม จำนวนครทู ี่เข้ารับ หน่วยงานที่เขา้ รับการอบรม ปีการศึกษา การอบรม 2562 4 สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดนนทบรุ ี

26 2. ขอ้ มลู พ้ืนฐานแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ปรัชญา การพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา วสิ ยั ทศั น์ “สุขภาพดี มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ คู่คณุ ธรรม” เอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์ “ก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี สงิ่ แวดลอ้ มดี มีคณุ ธรรม นอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชา” “สิง่ แวดลอ้ มดี เทคโนโลยีนำ ก้าวลำ้ วชิ าการ” “เรยี นดี มีวินยั ใฝ่คุณธรรม” พันธกจิ ระดับปฐมวยั 1. ปลกู จติ สำนกึ ให้นกั เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและมมี าตรฐานคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ตามหลกั สตู ร การศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 รวมท้ังอัตลักษณ์ และเอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น 2. ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นมพี ฒั นาการทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสตปิ ัญญา 3. ปลูกฝังให้ผเู้ รียนมีทักษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสรมิ บคุ ลากรจัดกระบวนการเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ผ่านการเลน่ และกจิ กรรมที่หลากหลาย เหมาะสมกับวัย 5. พฒั นาทรัพยากรด้านการศึกษาแหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกใหม้ ีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ 6. พัฒนาระบบบรหิ ารใหม้ คี ุณภาพท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนรว่ ม 7. สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ผปู้ กครอง ชุมชน มสี ว่ นร่วม

27 ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 1. ผลิตและพัฒนาผ้เู รยี นสู่การเป็นนกั ประดิษฐด์ ิจิทลั 2. ยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ สู่ความเปน็ เลศิ 3. พัฒนาความสามารถของครูและบุคลากรในการจัดการเรยี นร้อู ยา่ งมืออาชพี 4. พฒั นาระบบบริหารจดั การการศึกษาอย่างมคี ุณภาพ กลยุทธ์ในการบริหารโรงเรียน ระดบั ปฐมวัย กลยุทธท์ ี่ 1 ปลกู ฝงั ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสตู ร การศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 รวมท้งั อตั ลกั ษณ์และเอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น กลยทุ ธ์ที่ 2 พัฒนาให้ผู้เรียนมพี ัฒนาการทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา กลยทุ ธท์ ่ี 3 สง่ เสรมิ ทักษะท่ีจำเป็นตอ่ การดำรงชวี ติ ประจำวนั ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรเู้ พ่ือนำไปสเู่ ป้าหมาย กลยทุ ธ์ท่ี 5 จัดสภาพแวดล้อมและทรัพยากรทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ กลยุทธท์ ี่ 6 สร้างองคก์ รใหเ้ ขม้ แข็ง มีคุณภาพด้วยการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม กลยทุ ธท์ ่ี 7 สง่ เสริมและสรา้ งความสัมพนั ธ์ทีด่ รี ะหว่างโรงเรยี นกับชมุ ชน ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กลยุทธท์ ่ี 1 พฒั นาการจดั การศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ กลยทุ ธ์ท่ี 2 สรา้ งองค์ความรทู้ างวิทยาศาสตรด์ ้วยกระบวนการสะเตม็ ศึกษาโดยบูรณาการกับนวัตกรรม และเทคโนโลยีตา่ ง ๆ เพอื่ พฒั นานักเรยี นและเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขัน กลยุทธ์ที่ 3 สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม แนวทางการปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยุทธ์ที่ 4 พฒั นาห้องเรยี น แหลง่ เรียนรู้ท่เี อื้อต่อการจัดการเรยี นการสอนเน้นการปฏิบตั จิ รงิ กลยุทธ์ที่ 5 พฒั นาศกั ยภาพ สมรรถนะ ความสามารถของครูและบคุ ลากรในการจัดการเรยี นรู้อย่างมอื อาชพี กลยทุ ธท์ ่ี 6 สง่ เสรมิ ความร่วมมือกบั ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานราชการและเอกชนตลอดจนสถาบันการศกึ ษา เครอื ข่ายต่างประเทศ

28

29

30

31 3. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปขี องสถานศึกษา กลยุทธ์ เป้าหมาย ผลสำเรจ็ มาตรฐาน *** *** ตาม การศึกษา สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั ตวั ช้ีวดั แผนฯ โครงการ ปริมาณ คุณภาพ ปรมิ าณ คุณภาพ ยุทธศาสตร์ ประเด็นการตดิ ตาม ของ (จำนวน) (ร้อยละ) ของ โรงเรยี น สถานศกึ ษา สช. ประเมนิ ผลของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ระดบั ปฐมวยั ตัวชี้วดั ท่ี 1 กลยทุ ธ์ โครงการเด็กดีมีคณุ ธรรม 1,140 ยอด 96.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยทุ ธท์ ่ี 3 ที่ 1 จรยิ ธรรม เยี่ยม เยย่ี ม มฐ. 1.3 กลยทุ ธท์ ่ี 1 ตวั ชีว้ ัดที่ 4 มฐ. 3.1 กลยทุ ธ์ 1.โครงการสง่ เสรมิ ประสบการณ์ 1,140 ยอด 96.00 ยอด มฐ. 3.2 กลยุทธท์ ่ี 3 ตวั ชีว้ ดั ท่ี 9 ท่ี 2 การเรยี นรู้ เยย่ี ม เยีย่ ม มฐ. 1.3 มฐ. 1.4 กลยุทธท์ ี่ 4 ตัวชี้วดั ท่ี 3 2.โครงการหนทู ำได้ 1,140 ยอด 97.00 ยอด มฐ. 2.4 กลยทุ ธท์ ี่ 7 เยี่ยม เยีย่ ม มฐ. 3.2 กลยทุ ธท์ ี่ 2 ตวั ชี้วดั ท่ี 5 มฐ. 3.3 กลยทุ ธท์ ่ี 4 กลยุทธ์ โครงการเปดิ โลกการเรียนรู้ 1,140 ยอด 97.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ี่ 3 ตวั ชี้วัดที่ 2 ท่ี 3 เยี่ยม เยย่ี ม มฐ. 1.2 กลยุทธท์ ่ี 7 ตัวชว้ี ัดที่ 10 มฐ. 1.4 ตัวช้ีวัดท่ี 2 กลยุทธ์ โครงการพฒั นาบคุ ลากรแผนก 71 ยอด 97.00 ยอด มฐ. 2.1 ตัวชี้วัดที่ 9 ที่ 4 ปฐมวัย เยี่ยม เยี่ยม มฐ. 3.2 มฐ. 1.4 กลยทุ ธ์ โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมสู่ 1,140 ยอด 97.00 ยอด มฐ. 2.3 ท่ี 5 หอ้ งเรียนคุณภาพ เย่ียม เยี่ยม มฐ. 3.1 มฐ. 3.2 กลยทุ ธ์ 1.โครงการส่งเสรมิ และพฒั นา 71 ยอด 98.00 ยอด มฐ. 2.1 ท่ี 6 ศักยภาพดา้ นวชิ าการ เย่ียม เยีย่ ม มฐ. 2.2 มฐ. 2.3 กลยุทธ์ 2.โครงการประกนั คณุ ภาพ 1,140 ยอด 96.00 ยอด มฐ. 2.6 ที่ 7 ภายใน เยีย่ ม เยีย่ ม มฐ. 2.4 โครงการส่งเสริมความสมั พันธ์ มฐ. 2.5 ระหวา่ งบ้านกับโรงเรียน 1,140 ยอด 97.00 ยอด มฐ. 3.3 เยี่ยม เยย่ี ม มฐ. 2.4 มฐ. 2.5 มฐ. 3.3 มฐ. 2.6 มฐ. 3.1 มฐ. 2.1 มฐ. 2.6 มฐ. 3.4

32 กลยุทธ์ เป้าหมาย ผลสำเรจ็ มาตรฐาน *** *** ตาม การศึกษา สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับตวั ชี้วดั ปรมิ าณ คณุ ภาพ ปริมาณ คณุ ภาพ ยทุ ธศาสตร์ ประเด็นการตดิ ตาม แผนฯ โครงการ (จำนวน) (รอ้ ยละ) ของ สถานศึกษา สช. ประเมนิ ผลของ ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โรงเรยี น ตวั ชว้ี ัดที่ 2 ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตัวชี้วัดที่ 3 กลยุทธ์ 1. โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนา 97 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยทุ ธท์ ี่ 1 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 9 ท่ี 1 ทกั ษะทางภาษาไทยและพฒั นา เยย่ี ม เยี่ยม มฐ. 3.2 ตัวชว้ี ัดท่ี 9 ศกั ยภาพเพอื่ การแขง่ ขนั ตวั ชว้ี ัดที่ 2,3 2. โครงการแข่งขนั ทาง 1,945 ยอด 90 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ่ี 1 คณิตศาสตร์ เยี่ยม เยี่ยม มฐ. 3.3 กลยทุ ธท์ ี่ 1 ตัวชีว้ ดั ที่ 3,4 3. โครงการเสรมิ พลังคลนิ ิก มฐ. 1.1 กลยทุ ธท์ ี่ 1 ตวั ชว้ี ัดท่ี 1,2 ภาษาไทยอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม 3,438 ยอด 97.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยุทธท์ ่ี 1 4. โครงการวันภาษาไทยแหง่ ชาติ เย่ยี ม เยย่ี ม มฐ. 1.1 ตวั ชวี้ ัดที่ 1,2 มฐ. 1.2 ตัวชี้วดั ท่ี 1,2 5. โครงการพัฒนาการจดั 3,447 ยอด 97.00 ยอด มฐ. 1.1 กระบวนการเรียนรคู้ ณิตศาสตรส์ ู่ เยย่ี ม เยี่ยม ตัวชวี้ ดั ที่ 2,3 ความเป็นเลิศ ตัวชว้ี ดั ที่ 2 6. โครงการสร้างและพัฒนา 3,451 ดเี ลิศ 90.00 ยอด เคร่ืองมือวัดด้านการคิด เยย่ี ม ตวั ชี้วัดที่ 2 7. โครงการสง่ เสรมิ และแขง่ ขนั ทักษะด้านนาฏศลิ ปไ์ ทย 24 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ่ี 1 ตัวช้วี ดั ท่ี 6 (งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น) เยี่ยม 100.00 เยย่ี ม ยอด มฐ. 1.2 กลยทุ ธท์ ี่ 4 3,451 ยอด เยี่ยม มฐ. 3.1 เยี่ยม มฐ. 3.2 กลยุทธท์ ี่ 4 มฐ. 3.3 กลยทุ ธท์ ี่ 4 8. โครงการสอนเสรมิ ด้านศลิ ปะ 3,278 ยอด 85.00 ดเี ลิศ มฐ. 3.4 กลยทุ ธท์ ่ี 4 ดนตรี นาฏศิลป์ 1,848 เยีย่ ม มฐ. 3.5 9. โครงการสง่ เสริมความเปน็ เลศิ ยอด 95.00 ยอด มฐ. 1.2 ดา้ นดนตรไี ทยและดนตรีสากล เยี่ยม เยย่ี ม มฐ. 3.2 มฐ. 1.1 กลยทุ ธ์ 1. โครงการเพื่อนชว่ ยเพ่อื นเตือน 1,128 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.2 ที่ 2 ความจำ 40 เยย่ี ม 95.00 เยย่ี ม มฐ. 3.1 2. โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นา ยอด ยอด มฐ. 3.3 ศักยภาพใหก้ บั นกั เรียนเข้าสู่ 5,424 เยย่ี ม เยี่ยม มฐ.1 สอวน. คณิตศาสตร์ มัธยมศกึ ษา ตอนต้น ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ี่ 1 3. โครงการวนั วชิ าการ เย่ยี ม มฐ. 1.2 มฐ. 3 4. โครงการพัฒนาการเรียนรู้ 1,945 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยทุ ธท์ ี่ 3 วิทยาศาสตร์ดว้ ยสะเต็มศกึ ษา เยี่ยม เยี่ยม มฐ. 1.2 กลยทุ ธท์ ่ี 1 (STEM Education) มฐ. 3 100.00 ยอด มฐ. 1.1 เยี่ยม มฐ. 2.1

33 กลยุทธ์ เปา้ หมาย ผลสำเร็จ มาตรฐาน *** *** ตาม การศึกษา สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกบั ตัวช้ีวดั แผนฯ โครงการ ปริมาณ คณุ ภาพ ปรมิ าณ คณุ ภาพ ยทุ ธศาสตร์ ประเดน็ การติดตาม ของ (จำนวน) (ร้อยละ) ของ โรงเรยี น สถานศกึ ษา สช. ประเมนิ ผลของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กลยทุ ธ์ 5 โครงการมหกรรมแข่งขนั 728 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ่ี 1 ตัวชว้ี ัดที่ 2 ท่ี 2 ทกั ษะวชิ าชพี และทกั ษะ เย่ยี ม เยย่ี ม (ตอ่ ) คอมพิวเตอร์ 6. โครงการส่งเสรมิ และพฒั นา 5,424 ยอด 90.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ่ี 1 ตวั ชีว้ ัดท่ี 2,3 ศกั ยภาพผู้เรียนด้านวิทยาศาสตร์ เยี่ยม เยย่ี ม มฐ. 3.1 (นทิ รรศการวันวิทยาศาสตร)์ กลยุทธ์ 1. โครงการสง่ เสริมคุณธรรม 5,424 ยอด 95.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ี่ 1 ตวั ชีว้ ัดที่ 1 ท่ี 3 จริยธรรม กลุ่มสาระฯสงั คม เยย่ี ม เยย่ี ม มฐ. 3.1 ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม แผนกประถมศึกษา 2. โครงการพัฒนาคุณธรรม 5,424 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยุทธท์ ี่ 1 ตัวชว้ี ัดที่ 1 จรยิ ธรรมกับฝา่ ยปกครอง เย่ยี ม เยี่ยม 3. โครงการฝกึ ตัวแทนสวดมนต์ 728 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยุทธท์ ี่ 1 ตัวช้ีวัดที่ 1 ยาวระหวา่ งเข้าพรรษาและกลา่ ว เยยี่ ม เยี่ยม นำบทไหวค้ รู 4. โครงการนอ้ มนำศาสตร์ 5,424 ยอด 98.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ่ี 5 ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 พระราชาสู่การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน เย่ยี ม เยีย่ ม มฐ. 1.2 ด้านหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ มฐ. 3.1 พอเพียง มฐ. 3.2 กลยุทธ์ 1. โครงการแขง่ ขันกีฬา 5,424 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยทุ ธท์ ่ี 1 ตวั ช้ีวัดท่ี 1 ท่ี 4 ชลประทานวิทยาเกมส์ เย่ยี ม เยี่ยม 2. โครงการจดั จ้างวิทยากรพิเศษ 27 ดเี ลศิ 100.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ่ี 1 ตวั ชี้วดั ที่ 2 ด้านวิทยาศาสตร์สำหรบั เย่ยี ม ห้องเรียนพิเศษ สสวท. 3. โครงการพัฒนาการจัดการ 1,140 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.1 กลยุทธท์ ่ี 1 ตวั ชว้ี ัดที่ 2 เรยี นการสอนเพาะเลีย้ งเน้อื เยื่อ เยี่ยม เยี่ยม พชื และระบบปฏกิ รณ์ชีวภาพ (Bio reactor) กลยทุ ธ์ 1. โครงการสง่ เสรมิ และ 3,000 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยทุ ธท์ ี่ 1 ตวั ชวี้ ัดท่ี 10 ท่ี 5 พฒั นาการใช้สือ่ /นวัตกรรม เย่ียม เยย่ี ม มฐ. 2 เทคโนโลยกี ารศกึ ษา ศูนยพ์ ฒั นา นวัตกรรมการเรยี นรู้ 2. โครงการพฒั นาการจดั การ 3,451 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 2.1 กลยุทธท์ ี่ 1 ตวั ชี้วัดที่ 9 เรียนรู้สูป่ ระชาคมอาเซยี นทุก เยี่ยม เยย่ี ม มฐ. 2.2 กล่มุ สาระฯ

34 กลยทุ ธ์ เป้าหมาย ผลสำเรจ็ มาตรฐาน *** *** ตาม การศกึ ษา สอดคล้องกบั สอดคล้องกบั ตวั ชีว้ ัด แผนฯ โครงการ ปริมาณ คุณภาพ ปรมิ าณ คณุ ภาพ ยทุ ธศาสตร์ ประเด็นการตดิ ตาม ของ (จำนวน) (รอ้ ยละ) ของ โรงเรยี น 3. โครงการชมุ ชนการเรยี นรทู้ าง สถานศกึ ษา สช. ประเมนิ ผลของ วิชาชพี (Professional Learning กระทรวงศกึ ษาธิการ กลยทุ ธ์ Community) เพื่อพัฒนา 407 ยอด 95 ยอด มฐ. 1.1 กลยทุ ธท์ ่ี 5 ท่ี 5 กระบวนการจัดการเรยี นการสอน เย่ยี ม เย่ียม มฐ. 3.2 ตวั ช้วี ัดที่ 6 (ตอ่ ) 4. โครงการนเิ ทศภายใน 8 กลุ่ม สาระฯ และ 1 กจิ กรรมพัฒนา 231 ยอด 90.00 ยอด มฐ. 3.4 กลยุทธท์ ่ี 1 ตัวชว้ี ดั ที่ 3 กลยทุ ธ์ ผ้เู รียน เยี่ยม เยี่ยม มฐ. 3.5 ที่ 6 1. โครงการอบรมทกั ษะกระบวน ตวั ชีว้ ดั ที่ 7 สอนภาษาอังกฤษในยุคศตวรรษ 22 ยอด 95.00 ยอด มฐ. 2.2 กลยุทธท์ ่ี 1 ท่ี 21 (ใหม)่ เยยี่ ม เยย่ี ม ตวั ชีว้ ดั ที่ 2 2. โครงการอาหารเสริม (นม) ตัวชว้ี ดั ที่ 3 5,424 ยอด 100.00 ยอด มฐ. 1.2 กลยุทธท์ ี่ 3 3. โครงการ Math Day เย่ียม 90.00 เยี่ยม ยอด มฐ. 1.2 กลยทุ ธท์ ่ี 3 1,945 ยอด เย่ียม มฐ. 3.1 เยี่ยม *** ยุทธศาสตร์ของสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน *** ตวั ชว้ี ัดประเดน็ การติดตามประเมินผลของกระทรวงศึกษาธกิ าร อยทู่ ี่ ข้อ 7 หนา้ 50 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล 1. การปลูกฝงั ความมรี ะเบยี บวินยั ทัศนคตทิ ่ถี กู ตอ้ งผ่านกระบวนการลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การปฏิรูประบบทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษาเอกชน 2. การจดั การเรยี นรเู้ พ่ือสรา้ งทกั ษะพนื้ ฐานท่เี ชือ่ มโยงสู่การสร้างอาชีพและการมงี านทำ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การเสรมิ สรา้ งประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน 3. การจดั การเรยี นการสอนทีส่ ง่ เสรมิ การคิดวเิ คราะหด์ ว้ ยวธิ กี าร Active Learning ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมในการจัดและสนับสนุนการศกึ ษาเอกชน 4. การจดั การเรียนการสอนเพอื่ ฝกึ ทักษะการคดิ แบบมเี หตุผลและเป็นขนั้ ตอน (Coding) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบเพอ่ื สร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 5. การพัฒนาครใู หม้ คี วามชำนาญในการจัดการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษและภาษาคอมพวิ เตอร์(Coding) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพฒั นาการศกึ ษาเอกชนในพื้นทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ 6. การจดั การเรยี นรดู้ ้วย STEM Education ยทุ ธศาสตร์ท่ี 7 การพัฒนาระบบการบริหารจดั การสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน 6.1 สถานศกึ ษามีการจดั การเรยี นการสอนแบบ STEM Education กลยทุ ธต์ ามแผนฯของโรงเรียน อยูท่ ่หี น้า 27 6.2 สถานศกึ ษามีนวัตกรรมจากการเรยี นรตู้ ามแนวทาง STEM Education 7. การเรยี นภาษาอังกฤษเพ่ือใชใ้ นการส่ือสารและเพ่มิ ทกั ษะสำหรับใชใ้ นการประกอบอาชพี *** มาตรฐานระดบั ปฐมวยั อยทู่ ส่ี ่วนท่ี 3 8. การจดั การเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาที่สาม) 1.1 มพี ัฒนาการด้านรา่ งกายแขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ที่ดีและดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ 9. การส่งเสริมทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทยเพ่ือใช้เป็นเครือ่ งมอื ในการเรียนรู้ภาษาอนื่ 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 10. การใช้ดิจิทลั แพลตฟอร์มเพื่อการเรยี นรู้หรอื สรา้ งอาชีพ 1.3 มีพฒั นาการด้านสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเองและเป็นสมาชิกท่ีดขี องสังคม 1.4 มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา สือ่ สารได้ มีทักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ *** มาตรฐานระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน อยทู่ ส่ี ่วนท่ี 3 2.1 มีหลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ังสดี่ ้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถิ่น 1.1 มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ 2.2 จดั ครูใหเ้ พยี งพอกบั ช้ันเรยี น 1.2 มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและแกป้ ญั หา 2.3 สง่ เสริมให้ครูมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ 1.3 มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสอ่ื เพ่ือการเรยี นรู้อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 1.4 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 2.5 ใหบ้ ริการส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพือ่ สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ 1.5 มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผู้เก่ยี วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม 1.6 มคี วามรทู้ ักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชีพ 3.1 จัดประสบการณ์ท่สี ่งเสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการทกุ ด้าน อย่างสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ 2.1 มเี ปา้ หมายวสิ ัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 3.2 สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบัติอย่างมคี วามสขุ 2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 3.3 จดั บรรยากาศที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้ ใชส้ ่ือ และ เทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวัย 2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่ีเน้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย 3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ ไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเดก็ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้ 3.1 จดั การเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ 3.2 ใชส้ ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหลง่ เรยี นรทู้ ี่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพอื่ พัฒนาปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้

35 4. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้ รียน 4.1 ระดบั ปฐมวยั ผลการพฒั นาเดก็ ผลพฒั นาการด้าน จำนวนเดก็ ทง้ั หมด ร้อยละของเด็กตามระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1. ดา้ นรา่ งกาย 1,140 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ 2. ด้านอารมณ์-จิตใจ 1,140 1,117 97.98 22 1.92 1 0.08 3. ด้านสงั คม 1,140 1,128 98.94 11 0.96 1 0.08 4. ด้านสตปิ ญั ญา 1,140 1,128 98.94 11 0.96 1 0.08 1,105 96.92 34 2.98 1 0.08 4.2 ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 วิชา จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ *** *** *** คณิตศาสตร์ นกั เรยี น นักเรยี น เฉลยี่ (O-NET) ผลต่าง รอ้ ยละ แปลผล ทงั้ หมด ทีเ่ ข้าสอบ ระดบั คะแนน ของ พัฒนาการ ประเทศ 2560 2561 2562 เฉล่ีย คะแนน เทียบกบั 570 570 ปี 2562 (1) (2) (3) (4) เฉลีย่ ร้อยละ 3 (5) (6) 32.9 43.92 45.49 40.7 -4.79 -10.53 ไม่มี พฒั นาการ วทิ ยาศาสตร์ 570 570 35.55 46.77 48.12 43.53 -4.59 -9.54 ไมม่ ี พัฒนาการ ภาษาไทย 570 570 49.07 54.33 63.33 56.15 -7.18 -11.34 ไม่มี พัฒนาการ ภาษาอังกฤษ 570 570 34.42 48.18 53.21 48.29 -4.92 -9.25 ไมม่ ี พัฒนาการ *** (4) = (3) – (2) กรณที ี่มผี ลตา่ งคะแนนเฉล่ีย (4) ติดลบ ให้ใส่เครือ่ งหมายลบ *** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ใหใ้ ส่เครื่องหมายลบ (2) มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉล่ีย (5) ตง้ั แต่ 3.00 ขนึ้ ไป แปลผลว่า “มพี ฒั นาการ” *** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ฒั นาการแตไ่ มถ่ งึ ร้อยละ 3” มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตดิ ลบ แปลผลวา่ “ไมม่ พี ฒั นาการ”

36 เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 วิชา จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** *** นักเรียน นกั เรยี นที่ เฉล่ยี ระดับ (O-NET) ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล ทง้ั หมด เข้าสอบ ประเทศ คะแนน คะแนน พัฒนาการเทยี บ ปี 2562 2560 2561 2562 เฉลี่ย กบั ร้อยละ 3 (1) (2) (3) เฉลย่ี (4) (5) (6) มีพัฒนาการ คณติ ศาสตร์ 390 390 26.73 35.59 34.33 34.84 0.51 1.49 แตไ่ มถ่ ึง ร้อยละ 3 วิทยาศาสตร์ 390 390 30.07 37.86 39.97 32.97 -7 -17.51 ไมม่ พี ฒั นาการ ภาษาไทย 390 390 55.14 58.7 64.55 63.57 -0.98 -1.52 ไมม่ พี ฒั นาการ ภาษาองั กฤษ 390 390 33.25 37.98 34.48 42.42 7.94 23.03 มีพฒั นาการ *** (4) = (3) – (2) กรณีทม่ี ผี ลตา่ งคะแนนเฉลยี่ (4) ตดิ ลบ ให้ใส่เครอื่ งหมายลบ *** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมายลบ (2) มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตง้ั แต่ 3.00 ขนึ้ ไป แปลผลวา่ “มีพัฒนาการ” *** (6) การแปลผลพฒั นาการ มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉล่ีย (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มีพัฒนาการแตไ่ ม่ถงึ ร้อยละ 3” มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มพี ฒั นาการ” เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 คะแนน คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ *** *** *** จำนวน จำนวน เฉลีย่ (O-NET) ผลตา่ ง ร้อยละของ แปลผล วิชา นกั เรียน นักเรยี นที่ ระดบั 2560 2561 2562 คะแนน คะแนนเฉลย่ี พัฒนาการเทยี บ ท้ังหมด เข้าสอบ ประเทศ (1) (2) (3) เฉลี่ย (5) กบั ร้อยละ 3 ปี 2562 (4) (6) คณิตศาสตร์ 190 190 25.41 30.93 40.51 28.82 -11.69 -28.86 ไม่มี พฒั นาการ วิทยาศาสตร์ 190 190 29.2 35.08 35.65 30.72 -4.93 -13.83 ไม่มี พฒั นาการ ภาษาไทย 190 189 42.21 58.93 59.21 49.73 -9.48 -16.01 ไมม่ ี พัฒนาการ ภาษาองั กฤษ 190 190 29.2 38.19 41.09 35.50 -5.59 -13.60 ไม่มี พฒั นาการ สงั คมศกึ ษา 190 190 35.7 40.52 41.13 40.66 -0.47 -1.14 ไมม่ ี ศาสนา และ พัฒนาการ วฒั นธรรม *** (4) = (3) – (2) กรณีทมี่ ผี ลต่างคะแนนเฉล่ีย (4) ตดิ ลบ ให้ใสเ่ ครอื่ งหมายลบ *** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ใหใ้ ส่เครอื่ งหมายลบ (2) มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตัง้ แต่ 3.00 ขึน้ ไป แปลผลว่า “มีพัฒนาการ” มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 *** (6) การแปลผลพัฒนาการ แปลผลวา่ “มีพฒั นาการแตไ่ มถ่ งึ รอ้ ยละ 3” มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉล่ยี (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไมม่ พี ฒั นาการ”

37 จำนวนและร้อยละของนกั เรียนที่มผี ลการเรยี นระดบั 3 ขึ้นไป ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทกุ ระดบั ชั้นปีการศึกษา 2562 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 ป.1 ป.2 ป.3 กลุ่มสาระ จำนวน จำนวน จำนวน การเรียนรู้/รายวิชา จำนวน นักเรียนที่มี รอ้ ยละ จำนวน นักเรียนท่ี รอ้ ยละ จำนวน นักเรียนท่ี ร้อยละ ภาษาไทย นกั เรียน ผลระดับ 3 นักเรียน มีผลระดับ นกั เรียน มีผลระดับ คณิตศาสตร์ 87.25 วทิ ยาศาสตร์ ข้นึ ไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขึ้นไป 82.05 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 83.84 ประวตั ิศาสตร์ 585 560 95.73 583 494 84.73 557 486 87.25 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 99.82 ศิลปะ 585 493 84.27 583 528 90.57 557 457 96.41 การงานอาชพี 100.00 ภาษาต่างประเทศ 585 570 97.44 583 469 80.45 557 467 90.31 รายวิชาเพิ่มเตมิ .... 100.00 หนรู ักษ์ภาษาไทย 585 551 94.19 583 583 100.00 557 486 วิทยาศาสตร์หรรษา 60.21 สนกุ กับวทิ ย์ 585 468 80.00 583 400 68.61 557 556 วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ 1 100.00 วทิ ยาศาสตรเ์ พ่มิ เติม 2 585 555 94.87 583 583 100.00 557 537 วทิ ยาศาสตร์เพมิ่ เตมิ 3 100.00 ภาษาองั กฤษอ่านและเขียน 585 583 99.66 583 546 93.65 557 557 100.00 ภาษาองั กฤษฟงั และพดู 100.00 Phonetic1 585 585 100.00 583 583 100.00 557 503 Phonetic2 100.00 Phonetic3 585 580 99.15 583 499 85.59 72 72 100.00 หน้าที่พลเมือง 100.00 คอมพิวเตอร์ 512 483 94.34 511 497 97.26 485 292 100.00 ภาษาจีน 100.00 Thai civil education 471 471 100.00 41 41 100.00 511 485 94.91 485 485 73 63 86.30 72 72 100.00 72 72 544 544 100.00 72 72 100.00 72 72 544 544 100.00 72 72 100.00 72 72 73 73 100.00 72 72 100.00 72 72 512 512 100.00 511 511 100.00 485 485 585 585 100.00 557 557 585 585 100.00 583 583 100.00 557 557 73 73 100.00 72 72 100.00 72 72

38 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระ จำนวน จำนวน จำนวน การเรียนรู้/รายวิชา จำนวน นกั เรียนทมี่ ี ร้อยละ จำนวน นกั เรียนท่มี ี รอ้ ยละ จำนวน นกั เรียนทมี่ ี ร้อยละ ภาษาไทย นกั เรียน ผลระดับ 3 นักเรียน ผลระดับ 3 นักเรียน ผลระดับ 3 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ขึ้นไป ขน้ึ ไป ข้ึนไป เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 563 376 66.79 579 564 97.41 571 445 77.93 ประวัติศาสตร์ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 563 366 65.01 579 451 77.89 571 437 76.53 ศิลปะ การงานอาชีพ 563 495 87.92 579 528 91.19 571 544 95.27 ภาษาต่างประเทศ รายวิชาเพม่ิ เตมิ .... 563 563 100.00 579 579 100.00 คณิตคดิ สนุก คณติ เพิม่ พูน 563 516 91.65 579 480 82.90 571 481 84.24 คณิตเข้มข้น Advanced Science 563 457 81.17 579 472 81.52 571 434 76.01 วทิ ยาศาสตร์หรรษา วิทย์นา่ รู้ 563 563 100.00 579 579 100.00 571 570 99.82 วทิ ยาศาสตร์รอบรู้ วทิ ยาศาสตรร์ อบตวั 563 561 99.64 579 569 98.27 571 509 89.14 วทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ ภาษาองั กฤษอ่านและเขยี น 563 563 100.00 579 579 100.00 571 564 98.77 ภาษาอังกฤษฟงั และพดู องั กฤษหรรษา 563 506 89.88 579 549 94.82 571 464 81.26 รอบรู้ภาษาอังกฤษ การอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษ 425 340 80.00 434 414 95.39 498 414 83.13 Phonetic หน้าทพ่ี ลเมือง 68 68 100.00 71 71 100.00 คอมพิวเตอร์ Program Robot 70 38 54.29 74 73 98.65 Program Robot 1 ภาษาจีน 70 70 100.00 74 73 98.65 Thai civil education 68 68 100.00 357 347 97.20 434 382 88.02 498 448 89.96 71 71 100.00 68 68 100.00 73 73 100.00 138 129 93.48 74 66 89.19 73 73 100.00 138 137 99.28 74 74 100.00 73 70 95.89 357 312 87.39 434 433 99.77 498 465 93.37 68 68 100.00 71 71 100.00 68 68 100.00 70 70 100.00 74 74 100.00 73 73 100.00 493 490 99.39 505 505 100.00 498 498 100.00 495 495 100.00 508 508 100.00 571 571 100.00 71 71 100.00 68 68 100.00 563 563 100.00 579 579 100.00 571 563 98.60 70 70 100.00 74 74 100.00 73 73 100.00

39 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 ม.1 ม.2 ม.3 การเรียนรู้/รายวชิ า จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน นักเรียน รอ้ ยละ จำนวน นกั เรียน ร้อยละ จำนวน นกั เรียน รอ้ ยละ นักเรียน ท่มี ผี ลระดับ นกั เรียน ทีม่ ผี ลระดับ นักเรียน ทมี่ ผี ลระดับ 3 ขนึ้ ไป 3 ขน้ึ ไป 3 ขนึ้ ไป ภาษาไทย 416 358 86.06 407 301 73.96 390 262 67.18 คณติ ศาสตร์ 416 219 52.64 407 323 79.36 390 227 58.21 วิทยาศาสตร์ 416 319 76.68 407 343 84.28 390 302 77.44 เทคโนโลยี2 (การออกแบบและ 416 416 100.00 407 387 95.09 เทคโนโลย)ี สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 416 349 83.89 407 378 92.87 390 359 92.05 ประวตั ศิ าสตร์ 416 390 93.75 407 322 79.12 390 375 96.15 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 416 416 100.00 407 406 99.75 390 389 99.74 ศิลปะ 416 399 95.91 407 403 99.02 390 369 94.62 การงานอาชีพ 416 401 96.39 407 396 97.30 390 389 99.74 ภาษาตา่ งประเทศ 416 187 44.95 407 312 76.66 390 265 67.95 รายวิชาเพม่ิ เตมิ ภาษาไทยเพ่ือพัฒนาการอา่ น 286 199 69.58 หรรษากับวรรณคดี 265 107 40.38 ภาษาเชิงสรา้ งสรรค์ 300 233 77.67 คณติ ศาสตร์เพิ่มเติม 286 194 67.83 265 137 51.70 300 153 51.00 คณิตศาสตร์เข้มขน้ 130 109 83.85 142 105 73.94 90 54 60.00 คณติ ศาสตร์กบั ชวี ติ ประจำวัน 17 14 82.35 19 19 100.00 19 19 100.00 วิทยาศาสตร์กับความงาม 286 266 93.01 วัยรนุ่ กบั ความงาม 130 125 96.15 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกทง้ั ระบบ 142 136 95.77 แสงและทศั นปู กรณ์ 265 180 67.92 พลงั งานทดแทนกบั การใช้ประโยชน์ 390 371 95.13 ธรณแี ละอวกาศ 90 89 98.89 ฟิสิกส์ 17 17 100.00 21 21 100.00 19 19 100.00 เคมี 18 18 100.00 18 18 100.00 18 18 100.00 ชีววิยา 18 18 100.00 20 20 100.00 17 17 100.00 เทคโนโลยกี า้ วหน้า 90 90 100.00 การสรา้ งหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ 286 286 100.00 การเขยี นโปรแกรมหนุ่ ยนต์เบ้อื งต้น 130 130 100.00 โปรแกรมสำนกั งาน 300 298 99.33 หนา้ ที่พลเมอื ง 375 303 80.8 362 362 100.00 300 288 96.00 ภาษาพาสนกุ 286 129 45.10 ภาษาองั กฤษฟงั -พดู 130 116 89.23 310 222 71.61 ภาษาองั กฤษ 41 34 82.93 45 39 86.66 300 115 38.33 อา่ น-เขียน Conversation 89 89 100.00 97 97 100.00 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร 97 86 88.66 Pronunciation 41 39 95.12 45 44 97.78

40 ม.1 ม.2 ม.3 การเรยี นรู/้ รายวชิ า จำนวน จำนวน จำนวน ภาษาอังกฤษเพ่อื การนำเสนอ จำนวน นักเรียน ร้อยละ จำนวน นกั เรียน ร้อยละ จำนวน นกั เรียน ร้อยละ ภาษาจีน นักเรียน ท่มี ผี ลระดับ นักเรียน ที่มผี ลระดับ นักเรียน ที่มผี ลระดับ ตดั ต่อภาพยนต์ การตกแตง่ ภาพ 3 ขึน้ ไป 3 ข้นึ ไป 3 ข้ึนไป IPST-MB การ์ตนู แอนิเมช่ัน 90 66 73.33 Thai civil Education เกมสรา้ งสรรค์ 416 416 100 407 407 100.00 390 390 100.00 17 17 100.00 265 256 96.60 142 140 98.59 19 19 100.00 41 41 100 45 45 100.00 19 19 100 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 จำนวน ม.4 รอ้ ยละ จำนวน ม.5 ร้อยละ จำนวน ม.6 รอ้ ยละ นกั เรียน นกั เรียน นกั เรยี น การเรยี นร/ู้ รายวิชา จำนวน 70.37 จำนวน 74.62 จำนวน 83.16 270 นกั เรียนที่ 35.93 264 นกั เรยี นท่ี 46.21 190 นกั เรยี นท่ี 55.26 ภาษาไทย 270 มผี ลระดับ 80.37 264 มีผลระดบั 99.62 190 มผี ลระดับ 78.95 คณิตศาสตร์ 270 3 ข้ึนไป 70.74 264 3 ขึน้ ไป 77.65 190 3 ข้ึนไป 74.21 วิทยาศาสตร์ 270 88.89 264 82.20 190 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 270 190 87.78 264 197 100.00 158 94.74 ประวัตศิ าสตร์ 270 97 100.00 264 122 100.00 190 105 84.21 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 270 217 100.00 264 263 190 150 98.95 ศลิ ปะ 270 191 205 99.62 190 141 การงานอาชพี ฯ 240 64.44 264 217 72.35 97.89 เทคโนโลยี 3 270 237 264 264 190 180 ภาษาตา่ งประเทศ 270 264 160 รายวิชาอ่ืนเพม่ิ เตมิ .... 270 188 ประวตั วิ รรณคดี 263 การพิจรณาวรรณกรรม 174 191 186 หลกั และการใช้ภาษาไทย คณิตศาสตร์เพิม่ เตมิ 87 10 11.49 ฟสิ ิกส์ เคมี 90 72 80 ชวี วทิ ยา การเมืองการปกครองของไทย 46 6 13.04 หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง พระพทุ ธศาสนา 270 139 51.48 264 206 78.03 190 101 53.16 สังคมและวฒั นธรรมไทย ประวัตศิ าสตรไ์ ทย สมยั กรงุ 183 64 34.97 174 114 65.52 144 96 66.67 รตั นโกสินทร์ ภาษาองั กฤษฟงั -พดู 169 74 43.79 174 132 75.86 144 83 57.64 169 143 84.62 174 153 87.93 144 110 76.39 101 7 6.93 270 227 84.07 264 264 100.00 264 244 92.42 46 37 80.43 90 68 75.56 46 36 78.26 270 197 72.96

41 การเรียนร/ู้ รายวิชา จำนวน ม.4 รอ้ ยละ จำนวน ม.5 ร้อยละ จำนวน ม.6 รอ้ ยละ นักเรียน นักเรยี น นักเรียน ภาษาองั กฤษอ่าน เขียน จำนวน 43.56 จำนวน 91.29 จำนวน 97.89 ภาษาองั กฤษในทอ้ งถิน่ 101 นกั เรียนท่ี 264 นกั เรียนที่ 190 นักเรียนท่ี 45.65 การอ่านภาษาองั กฤษเชิงวเิ คราะห์ มีผลระดับ 100.00 มีผลระดับ 99.03 46 มีผลระดับ ภาษาองั กฤษเพื่อการทอ่ งเที่ยว 32 3 ขนึ้ ไป 98.17 207 3 ขึ้นไป 100 3 ข้นึ ไป 97.37 กราฟฟกิ พนื้ ฐาน 219 100.00 30 100 190 100.00 กราฟฟกิ 19 44 100.00 27 241 190 186 86.32 IPST-Micro Box 23 100 190 21 สถาปัตย์ 32 98.52 264 205 93.16 การเขยี นโปรแกรม 270 215 234 30 185 การเขยี นโปรแกรมพ้ืนฐาน 19 70.59 27 92.59 หลกั การเขยี นโปรแกรมเชงิ วัตถุ 238 23 100.00 27 76.00 190 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 19 100.00 25 264 76.67 164 เทเบิลเทนนสิ 19 266 57.89 30 100.00 เปตอง 19 78.95 25 218 100.00 กีฬาสากล 19 168 59.38 25 100.00 ภาษาจีน 32 19 97.22 25 25 100.00 การแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ 36 19 100.00 15 19 100.00 การสืบเสาะหาความรฯู้ วิทยาศาสตร์ 29 11 100.00 27 23 100.00 วทิ ยาศาสตร์ สอวน. 26 15 100.00 27 76.67 ภาษาจีนเพอ่ื การสอ่ื สาร 27 19 100.00 90 25 100.00 ภาษาญปี่ ุ่นเพอ่ื การส่ือสาร 27 35 35 ความปลอดภยั ของระบบคอมพิวเตอร์ 29 25 วิศวกรรม 26 พืน้ ฐานคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี 27 25 นิติศาสตร์ 27 15 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 27 การเขยี นโปรแกรมภาษาซเี บือ้ งต้น 27 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 69 สถาปัตย์ 35 โครงงาน ภาษาองั กฤษเพื่อชุมชน การดูแลรกั ษาระบบคอมพิวเตอร์

42 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รยี นระดับชาติ (National Test : NT) เปรียบเทยี บผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สมรรถนะ จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** *** นกั เรียน นกั เรยี นท่ี เฉลย่ี สมรรถนะ ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล ด้านภาษา ทั้งหมด เข้าสอบ ระดับ คะแนน คะแนน พฒั นาการ (Literacy) ประเทศ 2560 2561 2562 เฉล่ีย เทยี บกับ 557 520 ปี 2562 (1) (2) (3) (4) เฉล่ยี รอ้ ยละ 3 (5) 46.46 62.80 61.71 51.23 -10.48 (6) -16.98 ไม่มี พฒั นาการ ด้านคำนวณ 557 520 44.94 41.47 48.73 47.00 -1.73 -3.55 ไม่มี (Numer- พฒั นาการ acy) ด้านเหตุผล - - - 53.15 55.42 - - - - (reasoning) *** (4) = (3) – (2) กรณที ี่มีผลต่างคะแนนเฉลยี่ (4) ตดิ ลบ ใหใ้ ส่เครอ่ื งหมายลบ *** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมายลบ (2) มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ต้ังแต่ 3.00 ขึน้ ไป แปลผลวา่ “มีพัฒนาการ” *** (6) การแปลผลพฒั นาการ มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มีพฒั นาการแตไ่ มถ่ ึงรอ้ ยละ 3” มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มพี ฒั นาการ” ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถด้านการอา่ นของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ความสามารถ จำนวน จำนวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** *** ด้านการอา่ น นักเรยี น นักเรียน ระดบั ดา้ นการอา่ น ผลตา่ ง ร้อยละของ แปลผล ทงั้ หมด ทีเ่ ข้า ประเทศ คะแนน คะแนน พฒั นาการเทยี บ สอบ ปี 2562 2560 2561 2562 เฉลย่ี กับร้อยละ 3 (1) (2) (3) (4) เฉลี่ย (5) (6) อา่ นรเู้ รื่อง 585 548 72.81 76.67 75.95 80.77 4.82 6.35 มีพฒั นาการ อา่ นออกเสยี ง 585 548 68.50 86.24 75.42 82.41 6.99 9.27 มพี ฒั นาการ *** (4) = (3) – (2) กรณที มี่ ผี ลตา่ งคะแนนเฉลยี่ (4) ติดลบ ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมายลบ *** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ีย (5) ใหใ้ ส่เครือ่ งหมายลบ (2) มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ต้งั แต่ 3.00 ขน้ึ ไป แปลผลว่า “มีพฒั นาการ” *** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มีพฒั นาการแตไ่ ม่ถึงร้อยละ 3” มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไมม่ ีพฒั นาการ”

43 สรปุ ผลการติดตามนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 เขา้ ศึกษาต่อในระดับอดุ มศึกษา ปีการศกึ ษา 2562 จำนวน 191 คน (กราฟแสดงการเข้าศึกษาต่อในมหาวทิ ยาลัยรฐั บาล) มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 1 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวันออกจักรพงษภ์ วู นารถ 1 1 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ 1 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 1 1 มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธริ าช 1 มหาวิทยาลยั รามคาแหง 1 1 มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช 2 โรงเรยี นนายสบิ ทหารบก 2 สถาบนั พลศึกษา 2 จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 3 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร 3 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี 3 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี 3 มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ 3 มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนสนุ ันทา 4 มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 4 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี 4 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 4 มหาวิทยาลยั บรู พา 4 มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร มหาวิทยาลัยสวนดุสติ 5 วทิ ยาลยั การชลประทาน 6 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 7 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง 10 มหาวิทยาลัยแมฟ่ ้าหลวง 14 มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 22 มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 36 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0 5 10 15 20 25 30 35 40

44 (กราฟแสดงการเข้าศึกษาต่อในมหาวทิ ยาลยั ภาคเอกชน) มหาวิทยาลยั อสั สมั ชัญ 1 สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวัฒน์ 1 มหาวิทยาลัยรังสิต 2 มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย 2 มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ 9 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 11 0 2 4 6 8 10 12 5. นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ี (Innovation /Best Practice ) ช่ือ นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ี มาตรฐานดา้ น ระดบั การศึกษา 1. Smart farm กระบวนการจัดการเรยี นการ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ESMP 2. โรงเหด็ อตั โนมตั ิ สอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ESMP 3. Smart home มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ESMP 4. Smart Condominium มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ESMP 5. Bin the walker มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ESMP 6. สวติ ปิดเปิดควบคุมระยะไกล มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ESMP 7. เครื่องเปิดน้ำอัตโนมัติ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ESMP 8. หนึ่งบาท หนง่ึ นำ้ ใจ หนงึ่ การให้ 9. สรา้ งบารมีเพื่อชีวติ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 10. โครงการเสริมพลังคลินิกภาษาไทยอย่างมสี ่วนร่วม ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 ประถมศึกษาปีท่ี 1

45 6. รางวลั ที่สถานศึกษาไดร้ ับ ชื่อรางวัล ประเภท ระดบั หน่วยงานทีม่ อบรางวัล หมาย รางวัล เหตุ โรงเรยี นคุณธรรม นนทบรุ ี ระดับ เขตพื้นท/ี่ สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัด - เทดิ ไท้องค์ราชนั เพชร จังหวดั นนทบรุ ี ผลงานครู ที่ ชื่อ-นามสกุล 1. นางสาวอรสิ า ชนะศักดิ์ ระดับรางวัล/ชอ่ื รางวัลท่ีไดร้ ับ หนว่ ยงานทม่ี อบรางวัล 2. นางอกั ษร พูลศรี 3. นายจรัล เนติ รางวัล “ครูผสู้ อนดีเดน่ ” วันไหว้ครู ปีการศึกษา 2562 สนง.คณะกรรมการการศึกษาเอกชน 4. นายณฐั ณกรณ์ พงษ์พฒั นนนท์ 5. นางสาวปัทมา สกุ าญจนะ รางวัล “ครูผู้สอนดเี ดน่ ”วนั ไหวค้ รู ปกี ารศึกษา 2562 สนง.คณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน 6. นายธิตวิ ฒุ ิ แตงไทย 7. นางพจณชิ า ร่มไทร รางวัลผูบ้ รหิ ารดเี ด่น ปีการศกึ ษา 2562 สนง.คณะกรรมการการศึกษาเอกชน 8. นางวาสนา ศลิ าพร รางวัล เพชรนำ้ หน่ึง สนง.ศึกษาธกิ าร จังหวัดนนทบุรี รางวลั “ครูผู้สอนดเี ด่น” วันไหวค้ รู ปีการศกึ ษา 2562 สนง.ศกึ ษาธิการ จงั หวดั นนทบุรี รางวลั “ครผู สู้ อนดเี ดน่ ” วนั ไหวค้ รู ปีการศึกษา 2562 สนง.ศึกษาธกิ าร จังหวัดนนทบุรี รางวัล “ครูผูส้ อนดเี ด่น” วนั ไหวค้ รู ปีการศกึ ษา 2562 สนง.ศึกษาธิการ จังหวดั นนทบุรี รางวลั “ครูผสู้ อนดเี ด่น” วันไหวค้ รู ปีการศึกษา 2562 สนง.ศกึ ษาธกิ าร จงั หวัดนนทบุรี

46 ผลงานนักเรยี น ชนะเลิศแสดงบทบาทสมมติไกลเ่ กลีย่ ขอ้ พพิ าท ศาลเยาวชนและครอบครัว จ.นนทบุรี

47 ตารางผลงานนักเรียน รางวลั เหรียญทอง และ รางวัลชนะเลศิ ช่อื -สกุล ระดับ รายการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผู้ฝึกซ้อม/ควบคุม ชน้ั นางปวีณา สิทธพิ รหม เด็กชายจริ ะพันธ์ ฤทธิรณ ป.5/12 ประกวดมารยาทไทย รางวลั เหรียญทอง นางสุภาภรณ์ แอนกำโภชน์ เดก็ หญิงปุณกิ า ปิยธรรมธาดา ป.6/10 นายธติ ิวฒุ ิ แตงไทย เดก็ หญิงพิชชาพร เฉลิมพันธ์ ป.5/11 โครงงานวิทยาศาตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ รางวลั เหรยี ญทอง นาวสาวธารารัตน์ พิทยาพล นางสาวเบญญาภา เหมือนเอยี่ ม เดก็ หญิงธัญชนก โอฬาริกเดช ป.5/11 ระดับ ป.4 - ป.6 นางสาวชณนิ กามาศ พมุ่ ประดษิ ฐ์ เด็กหญิงชติ าภา จนั โทกุล ป.5/11 นางสาวอรทัย อดลุ ย์เดช เดก็ หญิงญาณิศา สงวนชาติ ป.5/12 การแสดงทางวิทยาศาสตร์ รางวลั เหรียญทอง นางสาวภัทลดา หมัดยอดเิ ซน เดก็ หญิงพัฐณัฐช์ ปัญญาอมรรัตน์ ป.5/12 อนั ดบั 2 ตัวแทนภาค นางสาวสุกฤตา จนั ทรง์ าม เด็กหญิงบุญญารักษ์ มณีกุล ป.5/12 นางสาวพลอยนารี อนิ ทะชิต นางสาวศริ าภรณ์ เกตเุ นตร เด็กหญิงวรัชยา บุญสู่ ป.4/9 การแข่งขนั วาดภาพระบายสี รางวลั เหรยี ญทอง นางสาวลดั ดาวัลย์ สนธิพงษ์ ระดบั ช้ัน ป.1 – 3 หัวข้อ “คลองสวยน้ำใส” นางสาววราภรณ์ ณ ลำปาง เดก็ หญิงกัญจนจรัส ล้อชัยสมั ฤทธ์ิ ป.6/7 การแข่งขนั วาดภาพระบายสี รางวัลเหรียญทอง นางสาวจรุ พี ร ศิริพักต์ ป.4 – 6 หัวข้อ “จงั หวดั ของฉัน” นางพิสมยั บุญกาวิน เด็กชายวรากรณ์ คลายแสง ป.6/9 การแข่งขนั การใชโ้ ปรแกรมนำเสนอ (Presentation) รางวลั เหรียญทองอันดบั 1 (ตัวแทนระดับภาค) นางสาวอริสา ชนะศกั ด์ิ นางรินรดี คงแย้ม เดก็ ชายฐปนรรฆ์ จองศรี ป.5/9 นางสาวประภัสสร ศรีสุทธิลักษณ์ เดก็ ชายศุภกิตต์ิ วรรณโชติ ป.6/11 คัดลายมือส่ือภาษาไทย ป.4-6 รางวัลเหรียญทอง นางสาวภัทรานิษฐ์ วุฒิประสิทธ์ เด็กหญิงสุภาพร เจรญิ ภกั ตร์ ป.6/11 เรยี งร้อยถ้อยความ (การเขียนเร่ืองจากภาพ ป.4-6) รางวัลเหรยี ญทอง นางสาวธนกร โกไศยกานนท์ เด็กชายปกรณ์ ธุระกจิ ป.3/11 การแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) รางวลั เหรียญทอง นางสาวกัญญ์ณณัฐ จนั ทร์ศิรชิ ญา ป.1-3 นางวาสนา บัวทอง นางสาวอนัสยา เจริญอดุ มไพศาล เด็กชายธนาดุล ตรโี อษฐ์ ป.6/10 การแข่งขนั Spelling Bee รางวัลเหรียญทอง นางสาวอนัสยา เจริญอุดมไพศาล นายอภิชาต ชมชืน่ ป.4-6 นางสาวชลติ า ไชยยันบูรณ์ นางสาวภัทรานิษฐ์ุ วุฒิประสิทธิ์ เดก็ ชายธัชนนท์ เชาวน์วรนันท์ ป.5/12 การแข่งขัน Multi Skills Competition รางวลั เหรียญทอง นางสาวธนกร โกไศยกานนท์ เดก็ หญิงชัญญกัญญ์ ปพนพัทธนันท์ ป.6/14 การแข่งขนั จัดสวนถาดแบบแห้ง ป.4-6 รางวัลเหรยี ญทองรองชนะเลิศ นางบัวพันธ์ เนติ เดก็ ชายนติ กิ ร อยู่เปรม ป.6/14 อนั ดบั ท่ี 2 เดก็ หญิงจนิ ตจ์ ุฑา พิชยั ฤกษ์ ป.6/14 เดก็ หญิงมโนชา คงโพธนิ์ ้อย ป.4/8 การแข่งขนั ทำน้ำพริก ผักสด เคร่ืองเคยี ง รางวัลเหรยี ญทอง ลำดับที่ 6 เดก็ หญิงภรษิ า ประทีปสุขทน ป.4/8 เดก็ หญิงรัตนาพร แก้วคำลา ป.6/7 เดก็ หญิงพศกิ า ฟูประเสริฐ ป.3/11 เรียงร้อยถ้อยความ (การเขยี นเร่ืองจากภาพ ป.1-3) รางวัลเหรยี ญทอง เด็กหญิงพิชชาภา วาโยวเิ ศษ ป.6/11 กวีเยาวชนตนรุ่นใหม่ (กลอนสี)่ ป.4-6 รางวัลเหรยี ญทอง เด็กชายชิตยาวัฒน์ ชยั วัฒนารมย์ ป.6/11 เด็กชายเขมวันต์ แก้วลุนคำ ป.2/5 เลา่ นิทานคุณธรรม ป.1-3 รางวลั เหรยี ญทองรองชนะเลศิ อันดบั ที่ 22 เด็กชายจารุพัฒน์ วงศ์หิรญั ชยธร ป.2/14 เด็กหญิงเลิศลักษณ์ ปุณหกิจ ป.3/9 ประกวดมารยาทไทย ป.1-3 รางวัลเหรยี ญทอง รองชนะเลิศอันดับท่2ี เด็กหญิงวชิรวทิ ย์ ไพสิฐพสิ ุทธ์ิ ป.3/10 เด็กหญิงปุณกิ า ปยิ ะธรรมธาดา ป.5/14 ประกวดมารยาทไทย ป.4-6 รางวลั เหรยี ญทอง รองชนะเลิศอันดับท่ี 25 เดก็ ชายจริ พันธ์ ฤทธิรณ ป.5/12 เดก็ ชายวีรวิทย์ ฐติ สิ ิทธิกร ป.3/8 อัจฉริยะภาพทางคณติ ศาสาตร์ (ป.1-3) รางวัลชนะเลิศเ เหรียญทองอันดบั 1 เด็กหญิงธนดิ า เกดิ ศลิ ป์ ป.3/11 การแข่งขนั “ซูโดกุ” (ป.1-3) รางวลั เกียรติบัตรเหรียญเงิน เดก็ ชายวีรภัทร สุขสมจิตร ป.3/11 การแข่งขนั “ซูโดกุ” (ป.4-6) รางวัลชนะเลิศเหรียญทองอันดับ2 เดก็ หญิงณพรรษวรรณ อนันต์ณฎั ฐพงศ์ ป.3/11 การแข่งขัน “ซโู ดกุ” (ป.4-6) รางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทองอนั ดบั 3 เด็กชายสิรวรี ์ เรืองศิริ ป.3/11 อัจฉริยภาพทางภูมศิ าสตร์ รางวลั เหรียญทองอันดับ1 เด็กชายภัทรด์ นัย คตี วัฒนกุล ป.6/10 เดก็ หญิงเลศิ ลักษณ์ ปุณหะกจิ ป.3/9 ประกวดมารยาทไทย รางวลั เหรยี ญทองอันดับ3 เดก็ ชายวชิรวิชญ์ ไพสิฐพสิ ุทธ์ิ ป.3/10 เดก็ หญิงปุณกิ า ปิยธรรมธาดา ป.5/14 ประกวดมารยาทไทย รางวลั เหรียญทองอันดับ 2 เด็กชายวชิรวชิ ญ์ หล่อประเสริฐ ป.5/14 เดก็ หญิงธัชษอร สิงห์วงษ์ ป.4/5 สวดมนต์แปลไทยทำนองสรภัญญะ รางวลั เหรยี ญทองอันดับ 4 เดก็ หญิงญาณิศา วงศว์ ณิช ป.4/5 เด็กหญิงปุณยาพร สืบกินร ป.4/5 เดก็ หญิงธมลวรรณ วงเวยี น ป.4/5 เด็กหญิงสุนิษา คลุ ี ป.4/5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook