Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR-2565-final

SAR-2565-final

Published by cpwschooleducation, 2023-07-18 07:20:45

Description: SAR-2565-final

Search

Read the Text Version

คำนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 48 จดั ให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน และให้ถือเป็นส่วน หนง่ึ ของกระบวนการบริหารทีต่ ้องดำเนินการอย่างต่อเนอ่ื ง โรงเรียนจึงได้ดำเนนิ การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา 2565 และจัดทำรายงานประจำปี (SAR) ฉบับน้ี ซ่ึงประกอบดว้ ย ส่วนท่ี 1 บทสรุปของผบู้ ริหาร ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู พื้นฐาน ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงาน และส่วนท่ี 4 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา รายงานฉบับ น้ีแสดงให้เห็นถึงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ซ่ึงคุณครู บุคลากรของโรงเรียนทุกฝ่ายร่วมกันขับเคล่ือนอย่างเข้มแข็ง ส่งผลให้การประเมิน บรรลผุ ลตามตวั ช้วี ดั เป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ โรงเรียนขอขอบคุณคณะกรรมการและบุคลากรทุกฝ่ายไว้ ณ โอกาสน้ี และหวังเป็นอย่างยง่ิ ว่ารายงานฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชนย์ ง่ิ ต่อผู้อา่ นหรือศึกษา และหากมขี อ้ เสนอแนะเพิม่ เติมใดๆ คณะผู้จัดทำขอนอ้ มรบั เพื่อนำไปปรับปรุง ใหร้ ายงานประจำปีมีความสมบูรณ์ยง่ิ ข้นึ (นางสาวนติ ยา เทพอรณุ รตั น)์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นชลประทานวทิ ยา ก

สำรบญั คำนำ ............................................................................................................................................................................. ก ส่วนที่ 1 บทสรปุ ของผู้บรหิ าร...................................................................................................................................... 1 บทสรปุ ของผู้บรหิ าร (Executive Summary) ....................................................................................................... 1 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง.......................................................................................................................... 3 ระดบั ปฐมวัย......................................................................................................................................................... 3 ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ................................................................................................................................... 7 สว่ นท่ี 2 ข้อมูลพนื้ ฐานโรงเรียน.................................................................................................................................19 1. ขอ้ มูลทอี่ ยู่สถานศกึ ษาปัจจุบนั .......................................................................................................................19 2. ประวตั โิ รงเรยี น..............................................................................................................................................19 3. วสิ ัยทศั น/์ พันธกิจ...........................................................................................................................................21 4. ผ้บู ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและบคุ ลากรทัว่ ไปในโรงเรยี น (เฉพาะทีบ่ รรจ)ุ ......................................32 5. จำนวนหอ้ งเรียน/ผ้เู รยี นจำแนกตามระดับที่เปิดสอน.....................................................................................38 ส่วนที่ 3 ผลการดำเนนิ งาน........................................................................................................................................40 1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีของสถานศึกษา .....................................................................40 2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผูเ้ รียนและข้อมูลการวดั ผลต่างๆ........................................................................50 3. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) .........................................................................69 4. ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ....................71 5. ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ................................................71 6. ผลการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ (เฉพาะโปรแกรม EP)...........................................................72 7. จำนวนนักเรยี นทีจ่ บหลักสตู ร.........................................................................................................................72 8. นวตั กรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation /Best Practice) ..............................................................................76 9. รางวลั ท่ีสถานศึกษาไดร้ ับ (3 ปียอ้ นหลัง).......................................................................................................76 ผลงานครู ..............................................................................................................................................................76 ผลงานนกั เรยี นทโี่ ดดเดน่ ปีการศกึ ษา 2565 ........................................................................................................79 10. การประเมินคุณภาพภายนอกในรอบของ สมศ. ที่ผา่ นมา ...........................................................................90 ข

สว่ นที่ 4.......................................................................................................................................................................96 สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา.........................................................................96 ระดบั ปฐมวัย.........................................................................................................................................................96 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก...........................................................................................................................96 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ..........................................................................................101 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สำคัญ .................................................................................104 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน..................................................................................................................................107 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รยี น ....................................................................................................................107 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ..........................................................................................112 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ........................................................116 จุดเด่นระดับปฐมวัย..........................................................................................................................................121 จุดเดน่ ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ...................................................................................................................122 จดุ ควรพัฒนาระดับปฐมวยั ...............................................................................................................................123 จดุ ทคี่ วรพัฒนาระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน .......................................................................................................123 แนวทางการพฒั นาของสถานศกึ ษา..................................................................................................................123 ความตอ้ งการชว่ ยเหลอื ....................................................................................................................................124 ภาคผนวก .................................................................................................................................................................125 ค

2

ส่วนท่ี 1 บทสรุปของผบู้ ริหำร บทสรุปของผู้บรหิ ำร (Executive Summary) จากปรัชญา วิสยั ทศั น์ อัตลักษณ์และเอกลัษณ์ของโรงเรียน สกู่ ารกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ทเี่ ป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด รวมท้ังกำหนดเปา้ หมายและประกาศคา่ เปา้ หมายของ สถานศึกษาตามสภาพความพร้อมและบริบทของสถานศึกษา รวมท้ังการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ โรงเรียนท่ีมงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ส่งผลให้มีการ ปรับโครงการ/งาน/กิจกรรม/รูปแบบการจัดประสบการณ์/การเรยี นการสอนให้เข้ากบั สถานการณ์ดงั กลา่ ว จึงสรปุ ผล การประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาทง้ั การศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานดังน้ี สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ปกี ารศึกษา 2565 ผลการประเมนิ ระดับการศึกษาปฐมวยั ยอดเยีย่ ม ยอดเย่ยี ม มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเด็ก ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ผลการประเมิน ยอดเยยี่ ม ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ยอดเยย่ี ม ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ยอดเย่ียม ยอดเย่ยี ม มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 การจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม สรปุ จดุ เด่นการดำเนนิ การจดั การศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 o ด้านคณุ ภาพของผู้เรียน ผเู้ รยี นมวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้คู่คณุ ธรรม มกี ิรยิ ามารยาทสุภาพเรยี บร้อย มสี ัมมาคารวะ มีเหตุผลในการแสดงความ คดิ เห็น ยอมรับความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม มีศักยภาพในการเรยี นรู้ผ้เู รียนได้รับการพัฒนาสู่ ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีมีทักษะภาษา เป็นนักวิจัยและ นักนวัตกรเป็นบุคคลที่พร้อม ก้าวสู่สังคมโลกยุคดิจิทัล มีความสามารถอย่างหลาหลาย มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมจากการจัดทำ โครงงาน ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้การ Coding ด้วยอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีผลงานเด่น ๆ ดังนี้ โรงเห็ด อัตโนมัติ, การจัดทำ Smart Farm, ผลงานนักเรียนสู่ระดับนานาชาติได้แก่ผลงานการศึกษาในรูปโครงงาน จากค่าย Mathematic and Computing in Nature ประกอบกับการใช้ The Globe Program ของนักเรียนระดับช้ัน 1

มธั ยมศึกษาปีที่ 3 แผนการเรยี นบูรณาการวทิ ยาศาสตรค์ ณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยโี ดยคณะวิทยากรประกอบด้วย รศ. ดร.มัลลิกา เจริญ สุธาสินีจากสำนักวิชาวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รศ.ดร.กฤษณเดช เจริญสุธาสินี จาก หวั หน้าศูนยค์ วามรเู้ ฉพาะดา้ นนิเวศวิทยาพยากรณ์และการจัดการ มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ และคณะ จัดขึน้ ระหวา่ ง วันท่ี 6-9 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ เข่ือนขุนด่านปราการชล อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครนายก ได้ศึกษาและรายงาน ผลงานจากการศึกษาในรูปโครงงานเพื่อเข้าร่วมแข่งขันการนำเสนอในระดับนานาชาติในนาม GLOBE Projects of ChonprathanWittaya School o ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ สถานศึกษามีระบบการบริหารและการจัดการที่มุ่งเน้นการขับเคล่ือนคุณภาพของสถานศึกษา โดยยึด โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management) และแบ่งการบริหารจัดการตามระดับช่วงช้ัน เป็นแผนก ประกอบด้วย หัวหนา้ แผนก หัวหน้าระดับชนั้ หัวหนา้ ฝา่ ยวิชาการ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระ (เฉพาะ ระดบั ประถมศึกษาและระดบั มธั ยมศึกษา) มี 5 แผนก และ1 โครงการ ดังนี้ 1) แผนกปฐมวยั 2) แผนกประถมศึกษา ตอนต้น 3) แผนกประถมศึกษาตอนปลาย 4) แผนกมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 5) แผนกมธั ยมศึกษาตอนปลาย 6) โครงการ ภาคภาษาอังกฤษโดยการกระจายอำนาจลงสูแ่ ผนกงานระดบั ตา่ งๆ อยา่ งทั่วถึงแบบ School in School เพอ่ื ใหเ้ กิด ความคล่องตัวและสอดคล้องกบั บริบทของโรงเรยี นชลประทานวิทยาการบริหารจัดการจงึ เป็นการบริหารทเ่ี น้น มีการ ทำงานร่วมกัน (C-Collaboration) เป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ (P-Professional) ปฏิบัติงานท่ีมีระบบการ ประสานงานระหวา่ งกระบวนการทง้ั ภายในและภายนอก (W-Work system) โดยใช้ทรพั ยากรทจ่ี ำเปน็ ร่วมกันในการ พัฒนาโดยมีการบริหารท่ีเป็นระบบครบวงจร PDCA ทกุ ขน้ั ตอนตามวงจรประสทิ ธภิ าพ “CPW Model” ส่งผลให้ เกิดการรว่ มกันปฏิบัติงานของครแู ละบุคลากรกับ ฝ่ายบริหารอย่างใกล้ชิด ส่งเสรมิ ความเป็นผู้นำและผ้ตู ามทด่ี ีในทุก ระดับงาน ใหค้ วามสำคัญกับการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ มีกระบวนการทำงานที่มผี ู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน ทุกคน ยอมรบั และนำไปปฏบิ ตั ิได้อยา่ งถกู ต้อง ไม่ ซำ้ ซ้อนกัน มกี ารรว่ มคิด ร่วมทำ และรว่ มกันรบั ผิดชอบกับผลงานท่เี กดิ ขึ้น ดว้ ยความเตม็ ใจ ส่งผลให้โรงเรียนไดร้ บั ความสำเรจ็ เปน็ ท่ยี อมรับของนกั เรยี น ผปู้ กครอง ชุมชน สงั คม o ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ครูมีแผนดำเนนิ งานเพ่อื พัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ด้วยการพฒั นาผู้เรียนให้มีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี มีนวัตกรรมการสอนแบบเชิงรุกเพ่ือสร้างสรรค์ นวัตกรรม เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ท่ีเนน้ การพัฒนาผลฤทธิ์ทางการเรยี นควบคู่ กบั การส่งเสริมการสร้างสรรค์ผลงานของผู้เรียน ในรูปแบบเฉพาะของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้เพื่อพัฒนาส่งเสริม ศักยภาพของผู้เรียนให้มีประสิทธภิ าพเพิ่มข้ึน และมีการขับเคล่อื นกระบวนการ PLC ด้วยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกันของครูผู้สอนในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ แบบภายในกลมุ่ สาระการเรยี นรูแ้ ละข้ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้รวมไป ถงึ การร่วมมือกันจดั กจิ กรรม PLC โดยครูระดบั ประถมศกึ ษาและระดบั มัธยมศกึ ษารว่ มกัน ส่งผลให้นกั เรียนเกิดความ สนุก กระตือรอื รน้ สนใจและตงั้ ใจเขา้ รว่ มกิจกรรมอยา่ งดยี ง่ิ 2

กำรนำเสนอผลกำรประเมินตนเอง ระดับปฐมวยั มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน ปกี ารศกึ ษา คณุ ภาพของเดก็ ยอดเยี่ยม 1. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นิสยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ 2565 รอ้ ยละ 97.12 มาตรฐานที่ 2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม 1 3. มพี ัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คม ร้อยละ 93 ร้อยละ 93.85 ยอดเยยี่ ม 4. มพี ัฒนาการดา้ นสติปัญญา สอ่ื สารได้ มที กั ษะการคดิ ขัน้ พื้นฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ ร้อยละ 92 ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม ร้อยละ 95.16 มาตรฐานท่ี กระบวนการบริหารและการจดั การ รอ้ ยละ 93 2 1. มหี ลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้ังสี่ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถิน่ ยอดเยยี่ ม ยอดเยยี่ ม 2. จดั ครใู ห้เพยี งพอกบั ช้ันเรยี น รอ้ ยละ 93 ร้อยละ 90.84 มาตรฐานที่ 3. สง่ เสริมให้ครมู คี วามเชยี่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ยอดเยย่ี ม 3 4. จดั สภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพื่อการเรยี นร้อู ย่างปลอดภัยและเพยี งพอ ยอดเย่ยี ม ยอดเยี่ยม 5. ใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรียนรเู้ พอื่ สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 6. มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสให้ผ้เู กยี่ วข้องทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วม ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ียม การจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม 1. จัดประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทกุ ด้าน อย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม 2. สร้างโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติอยา่ งมคี วามสุข ยอดเยี่ยม ยอดเยีย่ ม 3. จัดบรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วยั ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจดั ยอดเย่ยี ม ยอดเยยี่ ม ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพระดบั ปฐมวยั ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม หลักฐานสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คณุ ภาพ o มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเย่ียม การประเมินผลพฒั นาการท้งั 4 ดา้ นของเด็กปฐมวัย (เฉพาะอนบุ าล) 1. ด้านร่างกาย อยใู่ นระดับ ดี รอ้ ยละ 93.85 2. ด้านอารมณ์-จิตใจ อยูใ่ นระดบั ดี ร้อยละ 92.93 3. ด้านสงั คม อยใู่ นระดบั ดี ร้อยละ 92.93 4. ด้านรา่ งกาย อยู่ในระดบั ดี ร้อยละ 92.54 เด็กระดับปฐมวัยของโรงเรียนชลประทานวิทยา มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล ความปลอดภัยของตนเองได้ ด้วยการจัดอาหารกลางวันที่ปรุงสุกใหม่ วัตถุดิบที่ใช้ประกอบอาหาร สด สะอาดมี 3

คณุ ภาพ ถกู หลักอนามัยและครบ 5 หมู่ เพียงพอ เหมาะสมกับวัย เสริมด้วยการดม่ื นมโรงเรียนทกุ วัน เน้นให้นักเรียน ใช้อุปกรณ์สว่ นตัว เช่น ถาดขา้ ว แกว้ น้ำ ช้อนส้อม ก่อนรับประทานอาหารต้องล้างมือด้วยนำ้ และสบู่ น่ังรับประทาน อาหารแบบเว้นระยะห่าง มีการตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตแพทย์และพยาบาลจากศูนย์การแพทย์ปัญญานันท ภิกขุ กรมชลประทาน และให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารอย่างถูกวิธี นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรม เคลื่อนไหวและกิจกรรมเข้าจังหวะทุกเช้า และในช่วงเวลาเรียนวิชาพลศึกษาส่งผลให้เด็กทำงานได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ คล่องแคล่ว วอ่ งไว ทรงตัวไดด้ ี มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ไดด้ ้วย กิจกรรม Home room ก่อนเข้าเรียนครูสนทนาซักถามพูดคุย ให้นักเรียนได้เล่าประสบการณ์ของตนเองตาม ความคดิ และจนิ ตนาการ กิจกรรมเคล่ือนไหวตามจงั หวะฟงั เสียงดนตรแี ละร้อง/เตน้ ตามอยา่ งมคี วามสุข กิจกรรมหนู น้อยนักอ่าน มีพัฒนาการด้านสังคมช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ด้วยกิจกรรมเด็กดีมีคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมศาสนารวมใจ กิจกรรมส่งเสริมประกวดมารยาทไทย กจิ กรรมหนูรกั ส่ิงแวดล้อม มีพัฒนาการด้าน สติปัญญา สือ่ สารได้ มที ักษะการคิดข้ันพื้นฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ ดว้ ยกิจกรรม STEM ท่นี ักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ทดลอง สืบค้นและค้นหาคำตอบ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย กิจกรรม 1 ห้องเรียน 1 โครงงาน กิจกรรมสนุกกับคอม กิจกรรมการใช้คอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น โครงการหนูทำได้ กิจกรรมผู้ประกาศข่าวรุ่น เยาว์ ซงึ่ สอดคล้องกบั ปรชั ญาของโรงเรียน: สุขภาพดี มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม และอัตลกั ษณ์ของนักเรียน: เรยี นดี มีวินัย ใฝค่ ณุ ธรรม o มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม การจัดการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนชลประทานวิทยา มีการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาตามหลักสูตรการศกึ ษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และบริบทของโรงเรียน มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบท ของท้องถ่ินท่ีมงุ่ พัฒนาเด็กทกุ ดา้ นทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคมและสติปัญญาเพือ่ ใหเ้ ดก็ มีความสุขในการเรียน จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ครู 2 คนตอ่ ห้องเรียน ส่งเสริมให้ครูมคี วามเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ด้วยการ อบรมเพม่ิ ทักษะความรู้ เช่น การจดั การเรียนรูว้ ิชา Coding บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย โครงงานและวิทยาการคำนวณ การจัดการเรยี นการสอน Active Learning Active Kids เพอื่ เสริมสร้างศักยภาพเด็กสู่โลกยุคใหม่ จัดสภาพแวดล้อม และสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ มีอุปกรณ์ของเล่น ของใช้เคร่ืองเล่นอุปกรณ์สนามกลางแจ้ง และ สนามภายในอาคาร ทีเ่ หมาะสมกบั นักเรยี น มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ กยี่ วข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วม 4

o มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเปน็ สำคัญ ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม ก ารป ระ เมิ น พั ฒ น าก า รเด็ ก ต าม ส ภ าพ จ ริง แ ล ะ น ำผ ล ก าร ป ร ะ เมิ น พั ฒ น าก าร เด็ ก ไป ป รั บ ป รุง ก าร จั ด ประสบการณ์และการคิดค้นพัฒนาเด็ก แผนกปฐมวัย มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน เลือกใช้ เครื่องมือและจดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน มีข้ันตอนใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัดท่ีหลากหลายและเหมาะสมกับเด็ก เช่น การสังเกตและบันทึกพฤตกิ รรม การสนทนารายกลุ่ม รายบุคคล หรือ การสัมภาษณ์ครู การสัมภาษณน์ ักเรยี น ที่เปิด โอกาสใหเ้ ด็กไดค้ ดิ และตอบอย่างอิสระ โรงเรยี นมีแผนจะพฒั นาตนเองต่อไปอย่างไรใหไ้ ดม้ าตรฐานทีด่ ขี ึน้ กวา่ เดิม 1 ระดบั 1. สง่ เสรมิ และพัฒนาความสามารถทางการคิดแบบยืดหยนุ่ ฝึกการแกป้ ัญหารู้จักการทำงานการวางแผนอย่าง มีเหตุมีผลเป็นระบบเป็นลำดับข้ันตอน รู้จักการคิดผ่านชุดรหัส หรือสัญลักษณ์ง่าย ๆ โดยใช้ Unplugged Coding สำหรบั เดก็ ปฐมวัยในทุกระดบั ชัน้ 2. สง่ เสรมิ และพฒั นาสื่อในชัน้ เรียน นำนวัตกรรมสอ่ื หรือเทคโนโลยีมาปรบั ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในทุก ระดับช้ัน 3. จัดทำโครงการอนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และต่อยอดการเป็นแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) ในกจิ กรรมหนูรักสงิ่ แวดลอ้ ม และสร้างสรรคน์ วัตกรรมจากสิง่ ของเหลือใช้ zero waste นวตั กรรม/แบบอย่างทีด่ ี (Innovation/Best Practice) กจิ กรรมหนรู กั ษ์สิง่ แวดลอ้ มด้วย Zero Waste 5

คุณลกั ษณะของผู้เรยี นทเี่ ป็นไปตามผลลพั ธท์ ี่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561  1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพ่อื สร้างงานและคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี 1.1. มีความเพยี ร ใฝเ่ รียนรู้ 1.2. มที ักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่อื ก้าวทนั โลกยคุ ดิจทิ ัลและโลกในอนาคต 1.3. มสี มรรถนะ (competency) ทเี่ กดิ จากความรู้ ความรอบรดู้ า้ นต่าง ๆ 1.4. มีสุนทรียะ รกั ษ์และประยุกตใ์ ช้ภมู ปิ ัญญาไทย 1.5. มที กั ษะชวี ิต  2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพ่อื สังคมท่ีม่นั คงม่งั ค่งั และย่งั ยนื 2.1. มที กั ษะทางปญั ญา 2.2. ทักษะศตวรรษท่ี 21 2.3. ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) 2.4. ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ 2.5. ทกั ษะข้ามวฒั นธรรม 2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 2.7. มคี ุณลักษณะของความเปน็ ผู้ประกอบการ  3. พลเมอื งท่ีเข้มแขง็ (Active Citizen) เพ่อื สันตสิ ุข 3.1. มีความรกั ชาติ รกั ทอ้ งถน่ิ 3.2. รถู้ กู ผดิ มจี ิตสำนึกเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก 3.3. มจี ิตอาสา 3.4. มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธปิ ไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค 6

ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เปา้ หมาย ผลท่ไี ด้ ปี 2565 ยอดเยี่ยม คุณภาพของผู้เรยี น ยอดเยี่ยม ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รยี น 1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ รอ้ ยละ 92/ยอดเย่ยี ม ร้อยละ 96.63/ยอดเยย่ี ม 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย ร้อยละ 89/ดเี ลศิ ร้อยละ 92.58/ยอดเยยี่ ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ญั หา 3. มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ร้อยละ 89/ดีเลิศ รอ้ ยละ 85.90/ดีเลิศ มาตรฐานที่ 4. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร รอ้ ยละ 89/ดเี ลิศ รอ้ ยละ 90.07/ยอดเยย่ี ม 1 5. มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ร้อยละ 80/ดเี ลิศ ร้อยละ 93.88/ยอดเยยี่ ม 6. มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ีต่องานอาชีพ รอ้ ยละ 94/ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ 91.52/ยอดเยยี่ ม คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน 7. การมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ตี ามที่สถานศึกษากำหนด ร้อยละ 98/ยอดเยย่ี ม ร้อยละ 92.75/ยอดเยยี่ ม 8. ความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย รอ้ ยละ 98/ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ 90.81/ยอดเยยี่ ม 9. การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย รอ้ ยละ 93/ยอดเยีย่ ม ร้อยละ 95.18/ยอดเยยี่ ม 10. สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม รอ้ ยละ 95/ยอดเย่ยี ม ร้อยละ 93.88/ยอดเยย่ี ม กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. การมเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน ยอดเย่ยี ม ยอดเย่ยี ม 2. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 3. ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี น้นคณุ ภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลักสตู ร ยอดเยี่ยม ยอดเย่ยี ม 2 สถานศึกษา และทุกกลุม่ เป้าหมาย 4. พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ยอดเยี่ยม ยอดเยีย่ ม 5. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อือ้ ตอ่ การจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมีคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ ยอดเย่ียม ยอดเยย่ี ม กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ยี ม 1. จัดการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนำไป ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ มาตรฐานที่ 2. ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม ยอดเยย่ี ม 3 3. มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน 5. มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่อื พัฒนาและปรับปรุง ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม การจดั การเรียนรู้ ยอดเย่ยี ม สรุปผลการประเมนิ คุณภาพระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ o มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม 1. ดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รยี น 1) มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ของนักเรียนไดผ้ ลการเรียนเกรด 3 ขนึ้ ไปถึงร้อยละ 93.88 7

2) มผี ลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน (Reading Test : RT) ของนกั เรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 อา่ นรู้เร่ือง ร้อยละ 65.62 อา่ นออกเสยี ง รอ้ ยละ 67.45 2. ดา้ นคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผ้เู รียน มผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 6 ไดผ้ ลการประเมินอยู่ในระดับดเี ยีย่ มถงึ ร้อยละ 99.98 จากการที่นักเรียนได้นำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการผู้ประเมินสถานศึกษาพอเพียง เม่ือวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 นกั เรียนระดบั ปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโรงเรียนชลประทานวิทยา ไดร้ ับคำช่ืนชม จากคณะกรรมการฯว่า นักเรยี นมี Soft Skill ดีมาก มคี วามต้องการที่จะพฒั นาตวั เองอยู่เสมอ (Growth mind- set) เป็นผู้ท่ีมีความสามารถด้านเทคโนโลยี กล้าแสดงออก นำเสนองานอย่างเฉียบคมและมีความอ่อนน้อม อ่อนโยน บุคลกิ ภาพ กริยาท่วงท่า การแตง่ กาย สุภาพเรียบรอ้ ยต้งั แต่ศรี ษะจรดปลายเท้า ดว้ ยกิจกรรม/โครงการ เช่ือมสัมพันธ์ฉันท์น้องพ่ี โครงการประกวดเด็กเจ้าระเบียบ สัมผัสชีวิตคุ้มบุรุษ-คุ้มสตรี โครงการคิดดี-ทำดี โครงการกิจกรรมธรรมะวันละนิด ชีวิตเป็นสุข โครงการจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสร้างวินัยกับฝ่าย ปกครอง ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ดำเนินการอยา่ งต่อเนอ่ื ง ส่งผลให้ เกิดคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และอัตลักษณ์ในตัว ผเู้ รียนอย่างชดั เจนในระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-6) มีหลกั สูตรท่ีเตรียมผู้เรยี นสูอ่ าชีพท่สี นใจเป็นพิเศษ ไดแ้ ก่ 1) หลักสูตรเตรียมวศิ วกรรมโยธา - ชลประทาน 2) หลักสูตรอุตสาหกรรมการบิน - สถาบนั การบนิ พลเรอื น 3) หลักสตู รสถาปตั ยแ์ ละการออกแบบ 4) หลักสูตรเปิดโลกวิทย์สุขภาพ 5) หลักสตู รนิติศาสตร์/เศรษฐศาสตรเ์ บอ้ื งต้น 6) หลักสตู รภมู ิสารสนเทศศาสตร์ 7) หลกั สูตร Drone-based Learning นอกจากน้ีโรงเรียนยังได้จัดทำหลักสตู รชลศึกษา สำหรับนักเรียน ป.1-ม.6 จัดทำเอกสารประกอบการ เรียนเพื่อเสริมศักยภาพชลศาสตร์และอุทกวิทยา เป็นหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนชลประทานวิทยา ท่ี สำเร็จเป็นรูปเล่มแล้ว คือ ระดับ ป.1/ป.4 และ ม.1/ม.4 นักเรียนได้เรียนรู้ในรูปแบบของกิจกรรม Active Learning ท้ังในและนอกห้องเรียน ได้ร่วมกิจกรรมค่ายชลศึกษา ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-5 ได้ศึกษาแหล่ง เรยี นรู้ของกรมชลประทานและจากวิทยากรผ้เู ชี่ยวชาญ ส่งผลให้นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับน้ำ เพราะ น้ำคือชีวิต ตั้งแต่การรู้จกั ที่มา การใช้ การดูแลรักษา การชลประทาน จนถึงการสร้างเขอ่ื นเก็บกักน้ำ เรื่องของ Water Credit /Climate Change โครงการบรหิ ารจดั การน้ำเพ่ือชวี ติ ศึกษาแหล่งเรียนรขู้ องกรมชลประทาน สู่ การจัดทำ Project ของนักเรียนในโลกยุคใหม่ มกี ารจัดการเรียนรเู้ พื่อให้ผู้เรยี นทส่ี นใจวิชาชีพเพ่ือได้รับวุฒิบัตร จากสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ และสามารถประเมินความรู้ความสามารถเพ่ือเทียบรับผลการเรียนได้ด้วย อันเป็น ประโยชนย์ ิง่ ต่อการศกึ ษาต่อระดบั อดุ มศึกษาในอนาคต 8

o มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม ด้วยระบบการบริหารจัดการท่ีสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามรูปแบบ CPW MODEL + SBM (School –Based Management) โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ซ่ึงเป็นหลกั สำคัญในการกระจายอำนาจให้กับรองฯ ผู้อำนวยการ หัวหน้าแผนก หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้าสาระการเรียนรู้ หัวหน้าระดับ ได้เข้าไปกำกับดูแล นักเรียน ครูและบุคลากรเป็นผู้ท่ีมีจิตวิญญาณความเป็นครูสูง ใช้ความรัก ความเมตตาและความปรารถนาดีต่อ ศษิ ย์เป็นท่ีต้ังในการดูแลนกั เรียน ทัง้ ดา้ นการเรียนรูแ้ ละพฤตกิ รรม จงึ เกิดคณุ ลักษณะตามอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น ในตัวนักเรยี น 9

o มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเย่ยี ม การกระตุ้นให้ครูเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) และเสริมสรา้ งศกั ยภาพครแู กนนำเพ่อื ขยาย ผลกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร ท้ังด้านความรู้ความสามารถ และทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ เช่น หลักสูตร GLOBE หลักสูตรดาราศาสตร์หลักสูตรนวัตกรรมการเกษตร หลักสูตรการสอนวิชาโค้ดด้ิง (Coding) “โลกแห่งอุปกรณอ์ จั ฉรยิ ะ” การจดั กิจกรรมวิชาการต่างๆ เหล่านี้ ได้เชญิ ผทู้ รงคุณวุฒทิ ี่เชยี่ วชาญมาเป็นวิทยากร โดย มคี ุณครูเป็นผู้ชว่ ยวทิ ยากร ซ่งึ เป็นลักษณะการอบรมทกั ษะ สมรรถนะให้กับคุณครูด้วยวิธีการเรียนรู้แบบ “ On the Job training” โดยคุณครูผู้สอนไดเ้ รียนรู้ไปพร้อมกบั นักเรียนและขณะเดียวกนั ก็เป็น Coaching ให้กับนักเรียนด้วย จึงได้ประโยชนไ์ ปพร้อมกันท้งั นักเรยี น ครผู ้สู อน และงบประมาณของโรงเรยี นส่งผลให้นักเรียนมีทกั ษะและสมรรถนะ ทางเทคโนโลยดี ิจทิ ลั และคณุ ลักษณะทม่ี ี Soft Skill ระดับดีมาก โรงเรยี นมีแผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอยา่ งไรใหไ้ ดม้ าตรฐานที่ดขี ึน้ กว่าเดิม 1 ระดับ 1. โครงการอบรมและพฒั นาครู เร่ือง \"ทกั ษะการโคด้ กับการสอนยคุ ใหม่\" 2. โครงการอบรม \"จดุ ประกายนกั คดิ และพิชิตนวตั กรรม\" นวตั กรรม/แบบอยา่ งท่ดี ี (Innovation/Best Practice) โครงการพัฒนาศนู ย์การเรยี นรู้ Coding เพื่อสง่ เสรมิ วิชาโลกแหง่ อนาคต (Developing Coding Centre to En- hance Subjects for the Future World) ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา (ถ้าม)ี Coding เพอื่ ส่งเสรมิ วิชาแห่งโลกอนาคต (Developing Coding Centre to Enhance Subjects for the Future World) ระดบั : ระดบั ชาติ (C2) ระดบั การศกึ ษา : การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 1. จัดกิจกรรมค่ายและการศกึ ษาดูงานด้าน Coding 1.1 STEM & Robotics Camp (Robot War) วันที่ 3 และ 10 กันยายน พ.ศ. 2565 / ณ หอ้ งประชุม 3 อาคาร 100 ปี โรงเรียนชลประทานวิทยา 10

จดั โดย คณะวทิ ยาศาสตรม์ หาวิทยาลัยมหิดล ผลการประเมินจากนักเรยี นแผนการเรียน ITP จำนวน 24 คน และชมรมนวัตกรรม 11 คน รวม 35 คน ผลการประเมินพบว่า กิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะด้าน วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ร้อยละ 100 ได้ออกแบบและสร้างสรรค์ชน้ิ งาน เป็นหุ่นยนตโ์ ดยใชบ้ อรด์ ไม โครบิด ร้อยละ 97.4 ได้ฝึกเขียนโปรแกรมคำสั่งพื้นฐาน เรียนรู้เทคนิคการออกแบบโครงงาน ฝึกเขียนโปรแกรมเพื่อ สั่งงานเซนเซอร์ระบบขับเคลอื่ นดว้ ยระบบ Radio ร้อยละ 96.6 1.2 ค่าย CPW Junior Coding & Robotics Camp 2022 : CJCRC2022 วนั ท่ี 20-21 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2565 / ณ หอประชมุ ช้ัน 3 อาคาร 60 ปี โรงเรียนชลประทานวทิ ยา นักเรียนแผนการเรียน ITP จำนวน 4 คน และนักเรียนแผนปกติ จำนวน 42 คน รวมนักเรียนที่เข้าร่วม โครงการ 46 คน ผลการประเมินพบว่า กิจกรรมสร้างความรู้ใหก้ ับนักเรียนท่ีสนใจในเร่ืองเทคโนโลยหี ุ่นยนต์ รอ้ ยละ 100 นกั เรยี นได้เพม่ิ ประสบการณใ์ นการประกอบหุน่ ยนตแ์ ละการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอรเ์ พ่อื ควบคมุ หนุ่ ยนต์ รอ้ ยละ 97.86 1.3 ค่ายการเรยี นรู้กระบวนการทำวจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการ “Mathematics and Computing in Nature\" ประกอบกบั การใช้ The Globe Program วนั ท่ี 6-9 ธนั วาคม 2565 / ณ เขอ่ื นขนุ ด่านปราการชล จังหวดั นครนายก นกั เรียนที่เขา้ ร่วมกิจกรรมค่ายเป็นนักเรียนแผนการเรียน ITP ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน 52 คน ผล การประเมินกิจกรรมค่ายพบว่า นักเรียนร้อยละ 100 ได้ลงมือสำรวจ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ได้นำเสนอผลการ คน้ คว้าขอ้ มูลดว้ ยกระบวน การวจิ ยั และได้สง่ ผลงานวจิ ัยเขา้ ส่โู ครงการ GLOBE ดังน้ี 1. Integrated the GLOBE tree application and drone-based photogrammetry for estimating of car- bon stock in Marian plum plantation, Nakhon Nayok Province 2. Morphometric Analysis of Freshwater Fish at Kundan Prakan chon Watershed, Thailand 3. Mosquito larval Ecology of Aedes spp. and Culex spp. at Khun Dan Prakan Chon Dam, Nakhon Nayok Province, Thailand. 11

4. PM2.5 De termination Using Self-made IoT Sensors at Khun Dan Prakan Chon Dam, Nakhon Nayok, Thailand 5. Researching a System to Detect Risky Containers as Breeding Grounds for Mosquitoes 6. Tree And Google Street view to Estimate carbon Stock from Surrounding Street Trees. 2. นำนกั เรยี นเขา้ ร่วมแขง่ ขนั ดา้ น Coding 2.1 การแข่งขัน Thailand STEM Coding & Robotics 2023 วนั ท่ี 21 มกราคม พ.ศ. 2566 / ณ หอประชุมชนั้ 3 อาคาร 60 ปี โรงเรยี นชลประทานวิทยา จดั โดยศูนยค์ วามเปน็ เลิศเพอ่ื สะเต็มศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล มที มี เขา้ รว่ มการแข่งขัน จำนวน 27 ทมี จาก 11 โรงเรียน ไดแ้ ก่ 1. โรงเรียนวิภารัตน์ 7. บางคูลดั 2. โรงเรียนสามแยกบางคลู ดั (จ่นั เพชรวิทยาคาร) 8. อสั สมั ชญั แผนกประถม 3. โรงเรยี นเทศบาล 2 หนองบวั 9. บ้านหัววัวหนองนารี 4. โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา 42 (บ้านเนินแรไ่ พบลู ยร์ าษฎรส์ งเคราะห)์ 10. โรงเรียนสคุ นธรี วิทย์ 5. สารสาสน์วิเทศไทรน้อยพทิ ยาคาร 11. โรงเรียนพฒั นวทิ ย์ 6. โรงเรยี นขจรเกยี รตศิ ึกษา ผลการประเมินกิจกรรม จากนักเรียนและครูท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขัน พบว่า กิจกรรมการแข่งขันน้ี ส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะด้าน Coding & Robotics และ STEM รอ้ ยละ 100 กิจกรรมสง่ เสริมศกั ยภาพและ 12

ค้นหาตนเองของนกั เรียน ร้อยละ 97.4 กิจกรรมสร้างโอกาสให้นักเรยี นได้เพ่ิมประสบการณ์ในการ แข่งขันระดับชาติ ร้อยละ 96.6 รางวลั ท่นี กั เรยี นชลประทานวิทยาได้รบั จากการแขง่ ขนั นี้ ไดแ้ ก่ รางวัล ช่ือ-นามสกุล รางวลั ชนะเลิศ 1. เด็กหญงิ ฤดี ชญั ญา ศรสี วา่ ง 2. เด็กชายธาราธร ภิรมย์โสภา รางวัลรองชนะเลิศอันดบั ท่ี 1 1. เดก็ ชายศลิ ปส์ ุข คำเขอ่ื ง 2. เด็กชายศตคณุ หาญวนิชกลุ รางวลั เขา้ รว่ ม 1. เดก็ ชายปรณิ เสยี งจักรสาย และ เดก็ ชายนพณชั เหมือนด้วง 2. เดก็ ชายภาวิต ชีพฒั น์ และ เด็กชายธเนศพล เรอื งเถือ่ น 2.2 การแข่งขันหนุ่ ยนตร์ ะดับสูง งานศิลปหัตถกรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ของจงั หวดั นนทบุรี รางวัล ชนะเลศิ ได้แก่ นายนนั ทกร ป่ินสุภาภรณ์, นายจักรพรรณ ศรีรอดบาง, นายจารตุ นาคเปลยี่ น 3. การจัดอบรมศึกษาดงู าน o ตารางพัฒนาครู เพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการเรียนการสอน กิจกรรม วิทยากรภายนอก ผูช้ ว่ ยวทิ ยากร วตั ถปุ ระสงค์ Coding IOT For Innovation 1.อ.สุภารัตน์ เชอ้ื โชติ 1.ครูทศวรรษ โตเสอื 1.การเขียนโปรแกรมสงั่ อุปกรณ์ ด้วย Micro: bit ระดับ ม.1 (10.20 – 12.00) 2.ดร.อาทร นกแกว้ 2.ครูสุวิมล สรอ้ ยสม 2. ทักษะการคิดเชงิ คำนวณผ่านการเล่นเกม การ ระดับ ม.2 (8.30 – 10.10) อาจารยป์ ระจำสาขาคณติ ศาสตร์ 3.ครูอำภาวรรณ จันทรฉ์ าย แกป้ ัญหา และการเขยี นโปรแกรมเพ่ือแก้ปัญหาจรงิ ระดบั ม.3 (12.50 – 14.30) ศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ 3. ทักษะการสรา้ งนวัตกรรรมจากกระบวนการ ครั้งท่ี 1 (2 ม.ิ ย. 65) มหาวิทยาลยั นเรศวร STEAM4INNOVATOR หลกั สูตรพฒั นาเยาวชนสกู่ าร ครั้งที่ 2 (9 มิ.ย. 65) ที่ปรกึ ษาโครงการและนักวิจัย เป็นนวตั กร จากสำนักงานนวตั กรรมแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 3 (16 ม.ิ ย.65) ด้านขอ้ มลู S3 Invent Co. Ltd. 4. ทกั ษะการนำนวตั กรรมสู่ตลาด การออกแบบ สอื่ สาร ครง้ั ท่ี 4 (23 ม.ิ ย. 65) 3. อ.อร อินทปุ ระภา ทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื และนำเสนอสู่นักลงทุน ครง้ั ท่ี 5 (30 ม.ิ ย. 65) 4. อ.สุขพชิ ัย คณะช่าง 5. การพัฒนาแนวคดิ หรือ mindset ในการมองหา คร้ังท่ี 6 (7 ก.ค. 65) 5. อ.วรรณกิ า ถริ ชาดา โจทยใ์ นสงั คม เปน็ ผ้สู งั เกต เก็บขอ้ มูล และฟงั เสยี งจาก ครั้งที่ 7 (4 ส.ค. 65) นกั ออกแบบการเรยี นรู้ สงั คมทด่ี ี นำมาผนวกกับความรู้ทางโปรแกรมและ ครง้ั ที่ 8 (11 ส.ค. 65) นักพฒั นานวัตกร เทคโนโลยีเพื่อแก้ปญั หาใหก้ บั สงั คม ครง้ั ที่ 9 (18 ส.ค. 65) 3อ. Company ครง้ั ที่ 10 (25 ส.ค. 65) 13

กจิ กรรม วิทยากรภายนอก ผชู้ ่วยวทิ ยากร วตั ถปุ ระสงค์ ครั้งท่ี 11 (1 ก.ย. 65) ครั้งที่ 12 (8 ก.ย. 65) ครงั้ ท่ี 13 (15 ก.ย. 65) ครง้ั ท่ี 14 (3 พ.ย. 65) ครั้งที่ 15 (10 พ.ย. 65) ครั้งท่ี 16 (17 พ.ย 65) ครง้ั ที่ 17 (24 พ.ย 65) ครง้ั ท่ี 18 (5 ม.ค. 66) ครั้งที่ 19 (12 ม.ค. 66) ครั้งท่ี 20 (19 ม.ค. 66) ครง้ั ท่ี 21 (26 ม.ค. 66) ครั้งท่ี 22 (2 ก.พ. 66) คร้ังท่ี 23 (9 ก.พ. 66) ครั้งที่ 24 (16 ก.พ. 66) o การอบรมแบบ CyberPi robot และ พลงั งาน นกั เรียนแผนการเรียนบรู ณาการ ITP ป.4 กจิ กรรม วทิ ยากรภายนอก ผชู้ ว่ ยวิทยากร วตั ถปุ ระสงค์ กิจกรรม CyberPi รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณพงษ์ เตรียม 1.ครูเบญจมาศ ปยิ ะธรรมธาดา นกั เรียนได้เรียนรเู้ รอื่ ง CyberPi (ส่วนประกอบเมนู robot และ พลงั งาน โพธิ์ ประธานศูนยค์ วามเป็นเลศิ เพอ่ื 2.ครพู ิชติ ชยั ชาวหวายสอ ต่างๆ) สามารถเดนิ ตามโจทยไ์ ด้ อดั เสียงของตัวเอง ( 9.30 – 12.00 ) STEM ศึกษา คณะวทิ ยาศาสตร์ 3.ครอู ภิวฒั น์ แสงศรี ได้ ผา่ นหุ่นยนต์ mBot v2 มหาวทิ ยาลยั มหิดล 4.ครภู ัทลดา หมดั ยอดิเซน - กจิ กรรมเพ่มิ พนู ประสบการณ์วทิ ยาศาสตร์ Sci- 5.ครศู วิ กร หล้าแกว้ ence นักเรียนไดเ้ รียนรู้เรื่อง พลังงาน นกั เรยี นรู้ 6.ครูวรวุฒิ สงขก์ รทอง ปัจจัยท่ีทำใหก้ ังหันลมหมนุ ไดด้ ี และสามารถ ออกแบบและสร้างกงั หนั ลมอยา่ งง่าย นำไปพัฒนา ปรับปรงุ กังหนั ลมต้นแบบได้ o การอบรมแบบ เพิ่มพูนประสบการณ์ Basic Robot กจิ กรรม วิทยากรภายนอก ผูช้ ่วยวิทยากร วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรม Basic Robot รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณพงษ์ เตรยี ม 1.ครเู บญจมาศ ปิยะธรรมธาดา กเรียนฝึกปฏิบัตกิ ารใชค้ ำสงั่ เดินตามเสน้ และคำส่งั ( 9.30 – 12.00 ) โพธ์ิ ประธานศูนยค์ วามเปน็ เลศิ เพ่อื 2.ครพู ชิ ติ ชัย ชาวหวายสอ ultrasonic เดนิ ผา่ นสิ่งกีดขวางตามดา่ นต่างๆ ท่ี STEM ศึกษา คณะวทิ ยาศาสตร์ 3.ครอู ภวิ ัฒน์ แสงศรี จำลองสถานการณ์ท่ีเกิดขนึ้ มหาวิทยาลยั มหิดล 4.ครภู ทั ลดา หมัดยอดิเซน 5.ครูศิวกร หล้าแกว้ 6.ครูวรวุฒิ สงขก์ รทอง o การอบรมแบบ Robot competition กิจกรรม วทิ ยากรภายนอก ผูช้ ว่ ยวิทยากร วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรม Robot รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณพงษ์ 1.ครเู บญจมาศ ปยิ ะธรรมธาดา เขยี นคำสั่งตามทโ่ี จทย์กำหนดให้ เปน็ การจำลองเหตกุ ารณ์ competition เตรยี มโพธ์ิ ประธานศูนย์ความ 2.ครูพชิ ติ ชัย ชาวหวายสอ ของแต่ละด่านใหผ้ ่าน โดยการใช้คำส่ังการเคลื่อนท่ี สามารถ ( 9.30 – 12.00 ) เปน็ เลศิ เพอื่ STEM ศึกษา คณะ 3.ครูอภิวฒั น์ แสงศรี เลอื กทศิ ทาง ดนิ หนา้ ถอยหลงั เล้ียวซ้ายขวา การใชค้ ำสั่งใน วทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 4.ครูภทั ลดา หมัดยอดเิ ซน การจับเส้นทาง และการสง่ อินฟาเรด การรับคำสัง่ อินฟาเรด 5.ครศู ิวกร หลา้ แก้ว การสร้างกระบวนในการใชค้ ำส่ังแบบเปน็ ชุด ให้เหมาะสมกบั 6.ครูวรวุฒิ สงขก์ รทอง สะถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ 14

o การอบรมแบบ อบรมให้ความรเู้ พมิ่ พูนประสบการณ์ โปรแกรม Thinkercad Simulator1-4 กิจกรรม วทิ ยากรภายนอก ผูช้ ่วยวิทยากร วตั ถุประสงค์ กิจกรรม Thinkercad อาจารย์ยนื และคณะ 1.ครเู บญจมาศ ปิยะธรรมธาดา สรา้ งแบบจำลอง 3 มิตอิ อนไลน์ฟรที ่ีทำงานในเวบ็ Simulator1-4 2.ครูพิชติ ชัย ชาวหวายสอ เบราว์เซอร์ นับต้งั แตเ่ ปิดตวั ในปี 2011 มันได้ ( 9.30 – 12.00 ) 3.ครูอภิวฒั น์ แสงศรี กลายเป็นแพลตฟอร์มยอดนิยมสำหรบั การสร้าง 4.ครภู ัทลดา หมัดยอดิเซน แบบจำลองสำหรบั การพิมพ์ 3 มติ ิ ตลอดจนการ 5.ครศู วิ กร หล้าแกว้ แนะนำระดบั เบ้ืองตน้ เก่ยี วกับเรขาคณติ เชงิ 6.ครวู รวุฒิ สงข์กรทอง สร้างสรรค์ท่สี ร้างสรรค์ในโรงเรยี น o การจัดอบรมและศึกษาดงู านภายนอก กจิ กรรม วทิ ยากรภายนอก จัดโดย วัตถุประสงค์ โครงการพัฒนาทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี อาจารยไ์ พสฐิ วิสตั ยรกั ษ์ สำนักงานส่งเสรมิ 1. เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาทกั ษะดิจิทลั ให้กับคณุ ครรู ะดับช้ัน 21 เพือ่ คณุ ครู (Depa Teacher คณะศกึ ษาศาสตร์ เศรษฐกจิ ดิจิทลั (Depa) ประถมศกึ ษาและระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา และบคุ ลากรทางการ Boost Camp) รนุ่ ท่ี 2 ในวนั พธุ ที่ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ศกึ ษาของภาครฐั และเอกชน ที่จัดการเรยี นการสอนด้วย 29 และ พฤหสั บดที ี่ 30 มนี าคม Coding STEM AI ทว่ั ประเทศ พ.ศ. 2566 ณ โรงเรยี นอ่างศิลา 2. เพื่อใหค้ ุณครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา มีศกั ยภาพในการ พิทยาคม จงั หวัดชลบรุ ี ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนการสอนดจิ ทิ ลั 3. เพอื่ ใหค้ ณุ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา นำความรูท้ ี่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้เพื่อพฒั นาทกั ษะวิทยาการคำนวณให้นกั เรียน ต่อไป 4. เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั การ พฒั นาโครงงานหรอื นวตั กรรม 5. เพอื่ เสริมสร้างคณุ ครูตน้ แบบด้านโคด้ ดง้ิ พรอ้ มเปดิ โอกาส และสร้างเครือขา่ ยใหค้ ณุ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้มี โอกาสพบปะ แลกเปลีย่ นมมุ มอง และประสบการณ์สอนซึ่ง กันและกนั ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้สเู่ ดก็ และเยาวชน จากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเรื่อง โคด้ ดงิ้ (Coding) ของโรงเรียนชลประทานวิทยาต้ังแต่ปีการศกึ ษา 2561-2564 เป็นต้นมาและมีผลลพั ธ์ที่ได้รับการประเมินและยอมรับจากหน่วยงานให้เปน็ ต้นแบบนำสู่ความเป็นเลิศ (Best Practice) และได้มีการดำเนินงานต่อเน่ืองในปีการศึกษา 2565 ตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563-2566 และแผนปฏิบตั ิการประจำปี ในโครงการพฒั นาศนู ย์การเรียนรู้ Coding เพอื่ ส่งเสริมวิชาแห่ง โลกอนาคต (Developing Coding Centre to Enhance Subjects for the Future World) ซ่ึงมีกิจกรรมต่อเน่ือง ตามจดุ ประสงค์ของโครงการ ดงั น้ี 1. เพ่มิ ประสทิ ธิภาพครู โดย 1) จัดอบรม/ศึกษาดูงาน 2) ปรับปรุงห้อง Coding และจัดหาวสั ดุอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการเรียนการสอน Coding 2. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ของนกั เรยี น โดย 1) จัดกิจกรรมคา่ ยและการศกึ ษาดูงานด้าน Coding 2) นำนกั เรียนเข้ารว่ มแข่งขันด้าน Coding 3. แบ่งปนั ความรู้ โดย 15

1) เพมิ่ สมาชิกชมรม/เครอื ข่ายทัง้ ในและนอกสถานศกึ ษา 2) จดั กิจกรรมค่าย Coding 3) จดั ต้ังศูนย์ Re-skill and Up-skill ใหก้ ับผูป้ กครองและสมาชิกในชุมชน 4. สรา้ งนักวิจยั และนกั นวัตกรรม โดย 1) จดั อบรม \"จุดประกายนักคดิ พชิ ิตนวัตกรรม\" 2) กระตน้ และบ่มเพาะนักวิจัยและนักนวัตกรรมใหม่ 3) จัดกิจกรรมประกวดผลงานดา้ นวจิ ยั และนวตั กรรม มกี ารตรวจสอบตดิ ตามประเมนิ โครงการในรปู แบบซิบ โมเดล (CIPP MODEL) จากกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ ความพึงพอใจของผู้มีส่วนเก่ียวข้องส่วนได้ ส่วนเสีย และ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากนนั้ นำผลการประเมินเพื่อปรบั ปรุงและพัฒนาให้สงู ขึน้ ตอ่ ไป เพื่อให้เกิดผลสำเร็จ ตามเป้าหมาย และตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ รวมทงั้ ศึกษาผลกระทบท่ีเกิดจากโครงการ/กิจกรรมท่ีเกดิ ตามท่ีคาดหวังและ ไมค่ าดหวงั ท่ีเกิดข้ึนท้ังคุณภาพผู้เรยี น คุณภาพครู และคุณภาพสถานศึกษา และจากประชาสัมพันธเ์ ก่ียวกับกิจกรรม ทเ่ี กดิ ขึน้ รวมทงั้ ผลการดำเนินงาน ผ่านส่อื ทางสงั คมออนไลน์ เอกสาร แผ่นพับ การประชมุ ผ้ปู กครอง และศกึ ษาดูงาน จากหนว่ ยงานภายนอก ส่งผลให้นกั เรียนและผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ย มีความตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการเรยี น Coding ในยุคดิจทิ ลั (Digital) ซึง่ ทกุ ช่วงวยั สามารถเรยี นรู้และพฒั นาไปพร้อมกนั อย่างดีย่ิง และเลง็ เห็นถงึ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับนั้น มีความสำคัญตอ่ งการดำรงชีวิตในปัจจุบนั เป็นอย่างมาก โดยมีปจั จัยสำคัญท่ีช่วยขับเคล่ือนท่ีจะกอ่ ให้เกิดความสำเร็จ ตามเป้าหมาย ได้แก่ o ความร่วมมอื ของ ผู้บริหาร ครแู ละบุคลากร นักเรยี นและผู้ปกครอง ตลอดจนหน่วยงานภายนอกทีใ่ ห้ การสนบั สนนุ กิจกรรมอย่างมปี ระสิทธิภาพ o การประยกุ ตใ์ ช้ o ความพรอ้ มของอุปกรณ์ o ความมานะ อดทน เพียรพยายามของนักเรยี น และคณุ ครูผู้สอน ตลอดจนผู้เก่ียวข้องกับโครงการ คณุ ลักษณะของผู้เรยี นทีเ่ ป็นไปตามผลลพั ธ์ท่ีพึงประสงคข์ องการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561  ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพ่อื สร้างงานและคณุ ภาพชีวิตท่ีดี 1.1. มคี วามเพยี ร ใฝเ่ รยี นรู้ 1.2. มที กั ษะการเรียนรูต้ ลอดชีวิตเพ่อื ก้าวทันโลกยคุ ดิจิทัลและโลกในอนาคต 1.3. มสี มรรถนะ (competency) ท่เี กดิ จากความรู้ ความรอบรู้ด้านตา่ ง ๆ 1.4. มีสุนทรยี ะ รกั ษ์และประยุกต์ใช้ภมู ปิ ญั ญาไทย 1.5. มที ักษะชวี ิต  2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพ่อื สังคมท่ีม่นั คงม่งั ค่งั และย่งั ยืน 2.1. มีทกั ษะทางปญั ญา 2.2. ทกั ษะศตวรรษที่ 21 2.3. ความฉลาดดจิ ิทัล (digital intelligence) 2.4. ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ 16

2.5. ทกั ษะขา้ มวัฒนธรรม 2.6. สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ 2.7. มคี ุณลกั ษณะของความเป็นผู้ประกอบการ  3. พลเมอื งท่ีเข้มแขง็ (Active Citizen) เพ่อื สนั ติสขุ 3.1. มีความรกั ชาติ รกั ทอ้ งถิ่น 3.2. รู้ถูกผดิ มีจิตสำนึกเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก 3.3. มจี ติ อาสา 3.4. มีอุดมการณ์และมีส่วนรว่ มในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธปิ ไตย ความยตุ ธิ รรม ความเท่าเทียมเสมอภาค ลงชื่อ........................................ ( นางสาวนิตยา เทพอรุณรตั น์ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนชลประทานวทิ ยา 17

18

ส่วนท่ี 2 ข้อมลู พื้นฐำนโรงเรียน 1. ขอ้ มูลทอ่ี ยสู่ ถานศึกษาปจั จบุ นั โรงเรียนชลประทานวทิ ยา รหสั โรงเรียน 1112100090 เลขท่ี 201 หมู่ 1 ถนนตวิ านนท์ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี 11120 โทรศพั ท์: 0-2583-4047,02-962-4857 โทรสาร: 0-2962-3552 Email: contact@cpw.ac.th Website: www.cpw.ac.th ไดร้ ับอนุญาตจดั ตงั้ เมอ่ื วันท่ี 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 ลักษณะผู้รับใบอนุญาต: นิตบิ คุ คล สวัสดกิ ารกรมชลประทาน ประเภทโรงเรยี น: สามญั ปกติ ระดบั ท่เี ปิดสอนในปัจจุบนั ปกติ (สามัญศกึ ษา)  เตรยี มอนบุ าล  ก่อนประถมศึกษา  ประถมศกึ ษา  มัธยมศึกษาตอนตน้  มัธยมศึกษาตอนปลาย English Program  อนุบาล  ประถมศกึ ษา  มัธยมศึกษาตอนต้น  มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. ประวตั ิโรงเรยี น โรงเรยี นชลประทานวิทยา เปน็ โรงเรียนเอกชนในระบบ ประเภทสามัญศึกษา ก่อตงั้ ขนึ้ เม่ือปี พ.ศ. 2498 โดย หม่อมหลวงชชู าติ กำภู อดตี อธบิ ดีกรมชลประทาน บนพ้นื ที่ 62 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา และเร่มิ เปิดทำการเม่อื วนั ท่ี 2 มิถนุ ายน พ.ศ.2498 เร่มิ แรกเปดิ สอนในระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 มีผจู้ ัดการโรงเรยี นคนแรก คอื หม่อมหลวงถาวร สนิทวงศ์ และ ครูใหญ่คนแรกคือ นายโกศล ภาสะวณชิ โดยภายในโรงเรียนขณะนน้ั มีอาคาร เรยี นมลี กั ษณะเปน็ อาคารไมช้ ้นั เดยี วจำนวน 2 อาคาร ตงั้ อยภู่ ายในบรเิ วณพื้นท่ีของกรมชลประทานปากเกรด็ ใกลก้ ับ ท่ตี ัง้ โรงพยาบาลชลประทาน ต่อมาจงึ ย้ายโรงเรียนมาอย่บู รเิ วณพืน้ ที่ฝ่ังตรงขา้ มกรมชลประทาน บนพ้ืนที่ 62 ไร่ ในปี พ.ศ.2502 โรงเรยี นชลประทานวิทยามีวันสำคญั คือวันไหวค้ รู โดยเริ่มมีพิธไี หวค้ รูครัง้ แรกในปกี ารศึกษา 2521 ในวนั ที่ 4 มกราคม พ.ศ.2521 รวมกบั ทำพิธีบวงสรวงเทพารักษ์ประจำโรงเรียน (ศาลพ่อปู่ชัยมงคล) และ พระพทุ ธวทิ โยทยั เปน็ ประจำทกุ ปี ในปัจจุบนั โรงเรยี นเปดิ ทำการเรียนการสอนตง้ั แตร่ ะดับปฐมวยั (เตรยี มอนบุ าล-อนบุ าล 3) และระดับ การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน (ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-6) 19

ระดับทเ่ี ปดิ สอน ➢ ระดับปฐมวยั : เตรียมอนบุ าล , อนบุ าล 1-3 ➢ ระดบั ประถมศกึ ษา : ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ➢ ระดบั มธั ยมศึกษา : มัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 แผนการเรยี นท่เี ปิดสอน • หลกั สูตรปฐมวัยชลประทานวทิ ยา ประกอบด้วย เตรียมอนบุ าล, อนบุ าล 1-3 • หลกั สูตรโรงเรียนชลประทานวทิ ยา (ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551) ได้รับอนญุ าตเมือ่ 6 กรกฎาคม พ.ศ.2498 เปิดทำการสอนในระดับประถมศึกษา ป.1-ป.6 และระดบั มธั ยมศกึ ษา ม.1-ม.6 • โครงการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ภาษาอังกฤษ (English Program : E.P.) ไดร้ บั อนญุ าตเมอื่ ปีการศกึ ษา 2559 เปดิ ทำการสอนในระดับประถมศกึ ษา ป.1-ป.6 และระดบั มธั ยมศึกษา ม.1-ม.6 • แผนการเรยี นเสริมภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร (English Communication Enrichment Program : ECP) ได้รบั อนุญาตเม่อื ปกี ารศกึ ษา 2565 สำหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 • แผนการเรียนบูรณาการ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี (Integrated Science Mathematics and Technology Program : ITP) ได้รับอนญุ าตเมอ่ื ปกี ารศกึ ษา 2565 สำหรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4-6 และมัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 ปฐมวัย ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา มธั ยมศึกษา ตอนต้น ตอนปลาย เตรยี มอนุบาล ภาคปกติ อนบุ าล 1-3 ป.1 - ป.6 ภาคปกติ ภาคปกติ ม.1 - ม.3 ม.4 - ม.6 ECP ป.1 - ป.6 ITP ม.1 - ม.3 ITP ม.4 - ม.6 ITP ป.4 - ป.6 English English English program program Program ม.1 - ม.3 ม.4 - ม.6 ป.1 - ป.6 20

3. วสิ ยั ทัศน์/พันธกิจ “สุขภาพดี มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ คู่คณุ ธรรม” ปรัชญา วิสัยทัศน์ “กา้ วหน้าด้านเทคโนโลยี ส่ิงแวดล้อมดี มีคุณธรรม น้อมนำศาสตร์พระราชา” อัตลักษณ์ “เรยี นดี มวี ินยั ใฝค่ ุณธรรม” เอกลกั ษณ์ “สง่ิ แวดล้อมดี เทคโนโลยนี ำ กา้ วล้ำวชิ าการ” ตราสญั ลกั ษณป์ ระจำโรงเรยี น พระพริ ุณ/พระวรณุ : เปน็ ตวั แทนของฝนเป็นสัญลักษณต์ วั แทนของกรมชลประทาน เมฆ: เป็นบอ่ เกดิ ของน้ำทำให้เกดิ ความชุ่มฉำ่ เยน็ บว่ งบาศพัดโบก: เปน็ สัญลกั ษณก์ ารพดั พาเอาความเยน็ เขา้ มาในโรงเรียน 21

สง่ิ สกั การะบูชา พระพทุ ธวิทโยทัย ศาลพ่อปู่ชยั มงคล อนสุ าวรีย์ ม.ล.ชชู าติ กำภู สปี ระจำโรงเรยี น ชมพู-น้ำเงนิ สีชมพู หมายถึง ต้นไมป้ ระจำโรงเรยี นตน้ ชมพูพนั ธ์ทุ ิพย์ สีน้ำเงิน หมายถึง สีของกรมชลประทาน สภาพชมุ ชนโดยรวม สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมลี ักษณะเป็นชุมชนเมือง ทำเลท่ีต้ังเปน็ ปริมณฑลติดกับกรุงเทพมหานคร โรงเรียน ต้ังอยู่ในเขตอำเภอปากเกร็ดมีประชากรประมาณ 189,356 คน (ที่มา: เทศบาลนครปากเกร็ด 2563) บริเวณใกล้เคียง โดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดชลประทานรังสฤษดิ์กรมชลประทาน สนามกอล์ฟชลประทาน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด นนทบุรี โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ โรงเรยี นปากเกร็ด โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบรุ ี อาชีพหลกั ของชุมชน คือ เกษตรกรรม (ทำสวน) เนื่องจากพ้ืนท่ีเหมาะสมแก่การทำการเกษตร สว่ นใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรม ท้องถ่ินท่ีเป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไป คอื งานสงกรานต์ของชาวมอญ ประเพณีรำมอญ ประเพณีการ-ทำบุญตักบาตรพระร้อยแปด เคร่ืองป้ันดินเผา และการแห่หางหงส์ทอง ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญา-ตรี อาชีพหลักคือรับจ้าง ส่วน ใหญน่ ับถอื ศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้ โดยเฉลี่ยตอ่ ครอบครัว 200,000 บาทต่อปี เฉลีย่ ตอ่ ครอบครัว 4 คน 22

ข้อมูลอาคารสถานท่ี โรงเรียนชลประทานวิทยามีเน้ือท่ี 62 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา มีความพร้อมด้านอาคารสถานท่ี และมีบรรยากาศที่ร่ม รื่น มีสนามฟุตบอลขนาดมาตรฐาน มีอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องน้ำ พร้อมใช้งาน และยังได้เปิดใช้งาน อาคารใหม่ในปีการศึกษา 2565 คือ อาคารสันทนาการและกีฬาอาจารย์วิทยา สมาหารเพื่อการเรียนรู้แบบองคร์ วม (จาก นำ้ สู่ฟ้า) ภายในอาคารประกอบด้วยสระว่ายน้ำ หอ้ งประชมุ ศูนย์ดาราศาสตร์และท้องฟ้าจำลองอีกด้วย ตารางจำนวนหอ้ ง (ณ วนั ท่ี 20 พฤษภาคม พ.ศ.2565) ประเภท จำนวน หมายเหตุ หอ้ งเรียนปฐมวยั 25 - หอ้ ง E-learning - ห้อง นวัตกรรม ห้องเรียนประถมศกึ ษา 88 - ห้อง ชีววทิ ยา - หอ้ ง เพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือ ห้องเรยี นมธั ยมศกึ ษา 53 - ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา - หอ้ งจรยิ ธรรม หอ้ งปฏบิ ตั ิการระดับปฐมวยั 3 - หอ้ ง playground - หอ้ ง steam lab หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารระดับประถมศกึ ษา 5 - ห้อง library room - ห้อง computer หอ้ งปฏบิ ัติการระดบั มัธยมศึกษา 8 - หอ้ ง วทิ ยาศาสตร์ - ห้อง สมุด - หอ้ ง computer - ห้อง Stem - หอ้ ง เคมี - หอ้ ง ฟิสิกส์ ห้องพยาบาล 1 หอ้ งน้ำระดบั ปฐมวยั 73 จดุ ลา้ งมือ แปรงฟนั ระดบั ปฐมวยั 5 โรงอาหารระดบั ปฐมวยั 1 ห้องประกอบการปรุงอาหารระดบั ปฐมวัย 1 สนามเด็กเล่นระดับปฐมวยั 1 สนามเอนกประสงคร์ ะดบั ปฐมวัย 1 อ่ืนๆ 2 - หอ้ งสมดุ 1 - อาคารกฬี าในรม่ 2 - สระว่ายนา้ 23

อาคารสนั ทนาการและกีฬา อาจารย์วทิ ยา สมาหารเพ่อื การเรยี นรู้แบบองคร์ วม (จากน้ำสูฟ่ า้ ) ศูนย์ดาราศาสตร์และท้องฟา้ จำลองโรงเรียนชลประทานวทิ ยา พันธกิจ ระดับปฐมวัย 1. ปลูกจิตสำนึกให้นกั เรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ตามหลกั สูตร การศกึ ษาปฐมวัยพทุ ธศักราช 2560 รวมท้ังอัตลักษณ์ และเอกลกั ษณ์ของโรงเรียน 2. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมพี ัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สงั คมและสตปิ ัญญา 3. ปลูกฝังให้ผเู้ รียนมีทักษะชวี ิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. ส่งเสรมิ บุคลากรจดั กระบวนการเรยี นรู้โดยเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ผ่านการเลน่ และกิจกรรมที่หลากหลาย เหมาะสมกบั วยั 24

5. พัฒนาทรัพยากรดา้ นการศกึ ษา แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกให้มบี รรยากาศทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ 6. พัฒนาระบบบรหิ ารให้มคี ณุ ภาพทีเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกยี่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม 7. ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหผ้ ปู้ กครอง ชุมชน มสี ่วนรว่ ม ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 1. ผลิตและพัฒนาผเู้ รียนสู่การเปน็ นกั ประดษิ ฐดิ์ ิจิทลั 2. ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษสคู่ วามเปน็ เลศิ 3. พฒั นาความสามารถของครูและบุคลากรในการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมืออาชีพ 4. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การการศกึ ษาอยา่ งมคี ุณภาพ เปา้ หมาย ระดับปฐมวัย 1. ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและมีมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคต์ ามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 รวมทง้ั อตั ลักษณ์ และเอกลกั ษณข์ องโรงเรียน 2. ผูเ้ รียนมีพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา 3. ผเู้ รยี นได้รบั การส่งเสรมิ ใหม้ ีทักษะชีวติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. บุคลากรได้รับการพัฒนาใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ผ่านการเล่น และกจิ กรรมท่หี ลากหลายเหมาะสมกับวยั 5. โรงเรียนมสี ง่ิ อำนวยความสะดวกและจดั สภาพแวดล้อมที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ เพือ่ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การ พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ 6. โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารจดั การท่เี ปดิ โอกาสให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม 7. โรงเรยี นมีความสมั พันธก์ ับชมุ ชน และมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมของชมุ ชน ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 1. ด้านคณุ ภาพผู้เรยี น 1.1 นักเรียนมคี วามเป็นเลศิ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาตา่ งประเทศ ตามมาตรฐานสากล 1.2 นกั เรียนมีทกั ษะการวจิ ัย ค้นคว้า พฒั นาส่งิ ประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ ประเทศ 1.3 นักเรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ดา้ นคณุ ภาพ เทคโนโลยี สอ่ื แหลง่ เรียนรู้ 2.1 มเี ทคโนโลยี สื่อ แหล่งเรยี นรทู้ ่ีเอ้อื ตอ่ การเรียนรขู้ องนกั เรยี นตามความถนดั ความสนใจอย่าง หลากหลาย 2.2 เปน็ โรงเรียนแหง่ การเรียนรู้ จดั การเรียนรู้แบบผสมผสานที่เนน้ ลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ 3. ดา้ นคุณภาพครแู ละบคุ ลากร 3.1 ยกระดบั ศกั ยภาพ สมรรถนะ ความสามารถของครูและบุคลากรในการจัดการเรียนร้อู ย่างมอื อาชีพ 4. ดา้ นบรหิ ารจัดการ 4.1 บรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นร่วมอย่างมีประสิทธภิ าพ 4.2 พัฒนาสิง่ แวดลอ้ มเพือ่ การเรียนรู้ของผูเ้ รียน 25

ยทุ ธศาสตร์หรอื กลยุทธ์ ระดบั ปฐมวัย กลยทุ ธ์ที่ 1 ปลูกฝังผู้เรียนให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 รวมทั้งอัตลกั ษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรยี น กลยทุ ธท์ ่ี 2 พัฒนาใหผ้ ูเ้ รียนมีพฒั นาการทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสติปญั ญา กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสรมิ ทกั ษะท่ีจำเป็นต่อการดำรงชีวิตประจำวนั ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลยุทธท์ ่ี 4 พฒั นาบุคลากรใหม้ คี วามรู้ความสามารถในการจดั กระบวนการเรียนรู้เพื่อนำไปสเู่ ป้าหมาย กลยุทธ์ที่ 5 จัดสภาพแวดลอ้ มและทรัพยากรท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ กลยทุ ธท์ ่ี 6 สรา้ งองค์กรใหเ้ ขม้ แขง็ มคี ุณภาพด้วยการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม กลยุทธท์ ี่ 7 สง่ เสริมและสร้างความสัมพันธท์ ด่ี รี ะหว่างโรงเรียนกับชุมชน ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กลยทุ ธท์ ่ี 1 พัฒนาการจดั การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ กลยทุ ธท์ ่ี 2 สร้างองค์ความรู้ ทางวทิ ยาศาสตร์ดว้ ยกระบวนการสะเต็มศึกษา โดยบรู ณาการกบั นวตั กรรม และเทคโนโลยีตา่ งๆ เพอื่ พัฒนานกั เรียนและเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั กลยุทธ์ที่ 3 สง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม แนวทางการปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลยุทธท์ ี่ 4 พฒั นาหอ้ งเรียน แหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี ออื้ ตอ่ การจัดการเรียนการสอนเนน้ การปฏบิ ัติจรงิ กลยทุ ธ์ท่ี 5 พัฒนาศักยภาพ สมรรถนะ ความสามารถของครแู ละบคุ ลากรในการจัดการเรียนรู้อย่างมืออาชพี กลยุทธท์ ี่ 6 ส่งเสริมความร่วมมือกับผปู้ กครอง ชมุ ชน หน่วยงานราชการและเอกชนตลอดจน สถาบันการศึกษาเครอื ข่ายตา่ งประเทศ 26

27

28

29

โครงสรา้ งการบริหารงาน โรงเรยี นชลประทานวิทยา โครงสรา้ งการบริหารงาน โครงการจัดการเรยี นการสอนตามหลักสตู ร กระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาองั กฤษ (English program) 30

ลำดบั ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ตั้งแต่เรม่ิ ก่อตง้ั จนถึงปจั จุบัน ลำดับ ช่ือ-สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลาท่ีอยใู่ นตำแหน่ง 1 หมอ่ มหลวงถาวร สนิทวงศ์ ผ้จู ดั การ ม.ิ ย. 2498 - 30 มิ.ย. 2501 1 ก.ค. 2501 - 31 ต.ค. 2530 2 นายประหยดั ไพทกี ลุ ผู้จดั การ 1 พ.ย. 2530 - 31 ต.ค. 2531 1 พ.ย. 2531 - 2 พ.ย. 2536 3 นายวีระ พ่มุ วเิ ศษ ผูจ้ ดั การ 3 พ.ย. 2536 - 30 ก.ย. 2537 1 ต.ค. 2537 - 30 ก.ย. 2538 4 นายวิเนตร สตั ตวัตรกุล ผจู้ ดั การ 1 ต.ค. 2538 – 30 เม.ย. 2543 1 พ.ค. 2543 – 30 เม.ย. 2557 5 นายเลอศักด์ิ ริว้ ตระกูลไพบลู ย์ รกั ษาการผู้จดั การ 1 พ.ค. 2557 – 31 ต.ค. 2559 1 พ.ย. 2559 - ปัจจบุ ัน 6 นายสมโพธน์ สุขุมพานชิ ผูจ้ ัดการ 7 นายชุมพล อนิ ทรานกุ ลู ผจู้ ัดการ 8 นายวทิ ยา สมาหาร ผู้จดั การ 9 นายจรูญ พจน์สุนทร ผจู้ ดั การ 10 นายเลอศกั ดิ์ ร้ิวตระกลู ไพบูลย์ ผู้จดั การ ลำดับผู้อำนวยการโรงเรียนชลประทานวิทยา ตัง้ แตเ่ รม่ิ กอ่ ต้ังจนถึงปัจจบุ นั ลำดบั ชื่อ-สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาท่อี ย่ใู นตำแหนง่ 1 นายโกศล ภาสวณิช อาจารยใ์ หญ่ 2 ม.ิ ย. 2498 – 2 ม.ค. 2500 2 นายชว่ ง พิทักษจ์ ำนง อาจารยใ์ หญ่ 3 ม.ค. 2500 – 20 พ.ค. 2500 3 ขนุ ชำนาญ คุรุวทิ ย์ อาจารย์ใหญ่ 21 พ.ค. 2500 – 31 พ.ค. 2502 4 นายประหยัด ไพทกี ลุ อาจารย์ใหญ่ 1 มิ.ย. 2502 – 4 มิ.ย. 2522 5 นายไพจิตร เสง่ยี มลักษณ์ อาจารยใ์ หญ่ 5 มิ.ย. 2522 – 15 พ.ค. 2547 6 นายวิชยั ซาตะนัย ผอู้ ำนวยการ 16 พ.ค. 2547 – 14 พ.ค. 2553 7 นางประพิณพร เย็นประเสรฐิ ผอู้ ำนวยการ 17 พ.ค. 2553 – 30 เม.ย. 2557 8 นางอภสิ รา ธรี ะมิตร ผอู้ ำนวยการ 1 พ.ค. 2557 - 31 ธ.ค 2559 9 นางสาวนติ ยา เทพอรุณรตั น์ ผ้อู ำนวยการ 1 ม.ค. 2560 – ปัจจุบัน 31

4. ผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและบคุ ลากรทว่ั ไปในโรงเรยี น (เฉพาะท่ีบรรจุ) 1. ผ้บู ริหารสถานศึกษา ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ผ้รู บั ใบอนญุ าต (อธบิ ดกี รมชลประทาน โดยตำแหน่ง) นายประพิศ จนั ทร์มา วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาโทสาขารฐั ประศาสนศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมชลประทาน ผจู้ ัดการโรงเรยี น นายเลอศักดิ์ รวิ้ ตระกูลไพบลู ย์ วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ปริญญาโท M.S.A.E.(Soil& -Water Cong.) Gregcrio ARNETA UNIVERSITY FOUNDATION ประเทศฟิลิปปนิ ส์ ปัจจุบนั ดำรงตำแหน่งท่ปี รกึ ษารฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ อดีต อธิบดีกรมฝนหลวงและการบินเกษตร E-mail: lersak_rid@yahoo.com ผูช้ ่วยผจู้ ดั การ นายชยั รัตน์ เกื้ออรุณ วุฒิการศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาโท อดตี รองอธิบดกี รมฝนหลวงและการบนิ เกษตร E-mail: kchairatk@gmail.com 32

ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ท่ปี รกึ ษาผ้จู ัดการดา้ นบรหิ ารและจัดการศึกษา นายธีระพงศ์ นิยมทอง วุฒกิ ารศึกษาสงู สดุ ปริญญาโท นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) สาขาการโฆษณา มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม รบั ผดิ ชอบดา้ นการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา อดีต ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรยี มอุดมพฒั นาการ ที่ปรกึ ษาผู้จดั การด้านการจดั การศกึ ษาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ และทปี่ รกึ ษาหอ้ งเรยี นพิเศษ สสวท. นายสมประสงค์ สิงคชาติ วุฒกิ ารศึกษาสูงสดุ ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสตั ววิทยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รบั ผดิ ชอบดา้ นการจัดการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีต หวั หน้าฝ่ายวิชาการโรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลัย E-mail : samsen2551@gmail.com ผู้อำนวยการโรงเรยี น นางสาวนติ ยา เทพอรณุ รัตน์ วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ ปรญิ ญาเอก สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย อดตี รองผู้อำนวยการโรงเรยี นสามเสนวิทยาลัย เบอรโ์ ทรศพั ท์ 089-5188470 E-mail: nittaya.samsen@gmail.com 33

ท่ีปรกึ ษำโครงกำร และ รองผ้อู ำนวยกำร ทป่ี รึกษาดา้ นกลยุทธก์ ารพัฒนาวิชาการและงานปกครองนักเรยี น นายไตรรตั น์ สุทธเกยี รติ วุฒิการศึกษาสงู สดุ ปริญญาโท ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขานเิ ทศการศึกษาและพฒั นาหลกั สตู ร จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ทปี่ รึกษาด้านวชิ าการดแู ลแผนการเรียน ITP, SMT-CPW, ESMP และหัวหน้า ศนู ย์คณิตศาสตร์ นางวรรณวภิ า สทุ ธเกียรติ วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด ปริญญาเอก การศึกษาดุษฎีบัณฑติ (คณิตศาสตรศ์ ึกษา) มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ หวั หน้าศนู ย์วัฒนธรรม นางมยรุ ี วงศ์ทองคำ วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาศิลปะการละคร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ผู้ประสานงานโครงการเสริมพเิ ศษทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ นางกัญญา โตแก้ว วุฒิการศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าชีววิทยา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วัน ทปี่ รึกษาโครงการพฒั นาการเรียนการสอนภาษาจีน นายปลวิ ตอ่ เจริญ วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุด ปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั นเรศวร ทป่ี รกึ ษาผูป้ ระสานงานแผนการเรยี น ITP EMSP นายดเิ รก หุน่ สุวรรณ์ ระดับการศกึ ษา การศึกษาบัณฑติ (กศ.บ.) เอกเคมี มศว.ปทุมวนั ครศุ าสตรม์ หาบัณฑิต(ค.ม.) วิทยาศาสตร์ศกึ ษา เคมี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 34

ทปี่ รกึ ษำโครงกำร และ รองผอู้ ำนวยกำร รองผู้อำนวยการฝ่ายกจิ การนักเรยี น นางวรรฐิญา โตเสือ วฒุ ิการศึกษาสงู สุด ปริญญาตรี ครศุ าสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา เบอร์โทรศัพท์ 093-6395296 รองผอู้ ำนวยการฝ่ายปกครอง นายศิรพิ งษ์ สร้อยสม ครศุ าสตรบัณทิต เอกพลศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหม่บู ้านจอมบงึ เบอรโ์ ทรศพั ท์ 087-3329940 รองผ้อู ำนวยการฝ่ายบริการ นาย คำรณ คงแยม้ วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาตรี ครศุ าสตรบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร เบอร์โทรศัพท์ 094-3918029 2. จำนวนครู , บคุ ลากรทางการศกึ ษา และบุคลากรอื่นๆ (เฉพาะท่บี รรจ)ุ จำนวนครูและบคุ ลากร ประเภท/ตำแหนง่ ต่ำกวา่ ป.ตรี ป.บณั ฑติ ป.โท ป.เอก รวม ป.ตรี 1. ระดบั เตรียมอนุบาล - ครไู ทย - 2 - - -2 - ครชู าวตา่ งประเทศ - - - - -- 2. ระดบั ช้ันอนบุ าล - ครูไทย 1 57 2 - - 60 - ครูชาวต่างประเทศ - - - - -- 3. ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ระดบั ประถมศึกษา - ครไู ทย - 100 39 - - 139 - ครูชาวต่างประเทศ - 8 - 1 -9 ระดับมัธยมศึกษา - ครูไทย - 58 18 10 - 86 35

จำนวนครูและบคุ ลากร ประเภท/ตำแหนง่ ตำ่ กวา่ ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก รวม ป.ตรี - ครชู าวต่างประเทศ 4. บคุ ลากรทางการศึกษา - - - - -- - บรรณารกั ษ์ - 3 - - -3 - งานแนะแนวท่วั ไป - งานเทคโนโลยีทางการศึกษา - - 1 - -1 - งานทะเบยี นวดั ผล - บริหารงานทัว่ ไป - 11 - 1 - 12 5.บุคลากรท่ัวไป - พี่เลยี้ ง - 3 - 2 -5 - อื่น ๆ - 36 - - - 36 รวมทั้งสน้ิ - - - - -- - - - - -- 1 278 60 14 0 353 3. จำนวนครทู ่ีสอนกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น จำนวนครูผู้สอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา  กิจกรรมนกั เรยี น 42 - ลกู เสอื -- - เนตรนารี -- - ยวุ กาชาด -- - ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ -- - รักษาดินแดน (ร.ด.) 33 38 - กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม 25 -1  กจิ กรรมแนะแนว  กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 36

4. จำนวนครู จำแนกตามระดบั และกลุ่มสาระการเรียนรู้ กรณที ี่ 1 ครสู อนหลายระดบั ช้นั ใหก้ รอกข้อมลู ในระดบั ทม่ี จี ำนวนช่ัวโมงสอนมากทีส่ ุด กรณีท่ี 2 ครูท่จี บวชิ าเอกการประถมศกึ ษาถอื ว่าตรงเอกสามารถสอนไดใ้ นทุกวชิ า ในระดบั ประถมศึกษา จำนวนครู ระดบั /กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา รวม ตรงเอก ไมต่ รงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก 62 28 ปฐมวยั 41 21 - - - - 36 45 ภาษาไทย - - 14 6 8 - 25 16 คณิตศาสตร์ - - 18 5 12 1 13 17 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - - 23 7 15 - 41 283 สังคมศึกษา ศาสนา วฒั นธรรม - - 5 9 6 5 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา - - 10 - 6 - ศิลปะ - - 8 - 4 1 การงานอาชพี - - 6 - 10 1 ภาษาต่างประเทศ - - 27 2 11 1 รวม 41 21 111 29 72 9 37

5. จำนวนหอ้ งเรียน/ผ้เู รียนจำแนกตามระดับทีเ่ ปดิ สอน ระดบั ที่เปดิ สอน การจดั การเรียนการสอน จำนวนห้องเรยี น จำนวนผเู้ รียนปกติ จำนวนผูเ้ รยี นทีม่ ีความต้องการ รวม พิเศษ เตรียมอนุบาล ชาย หญงิ 42 รวม ชาย หญงิ 42 ระดบั เตรียมอนุบาล อนบุ าลปที ่ี 1 -- 212 อนุบาลปีท่ี 2 หอ้ งเรยี นปกติ 2 27 15 -- 231 อนุบาลปที ี่ 3 321 ห้องเรยี นปกติ 2 27 15 -- 764 รวม -- ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา -- 316 ประถมศึกษาปีท่ี 1 -- 57 ประถมศึกษาปที ี่ 2 ห้องเรียนปกติ 8 102 110 307 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 -- 52 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หอ้ งเรยี นปกติ 8 129 102 -- 403 ประถมศึกษาปที ่ี 5 -- 65 ประถมศึกษาปที ี่ 6 ห้องเรยี นปกติ 9 154 167 -- 459 -- 62 รวม ห้องเรยี นปกติ 25 385 379 -- 465 -- 66 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ระดบั ประถมศกึ ษา -- 455 มัธยมศึกษาปที ่ี 2 -- 69 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 หอ้ งเรียนปกติ 9 182 134 -- 2,776 -- รวม หอ้ งเรยี น EP 2 30 27 -- 295 -- 42 มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ห้องเรียนปกติ 11 159 148 326 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 -- 31 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ห้องเรียน EP 2 24 28 -- 331 -- 20 รวม หอ้ งเรียนปกติ 11 224 179 -- 1,045 -- ห้องเรยี น EP 3 37 28 -- 204 -- 18 หอ้ งเรียนปกติ 12 263 196 221 -- 22 ห้องเรยี น EP 3 41 21 -- 243 -- 11 ห้องเรยี นปกติ 12 233 232 -- 719 -- ห้องเรยี น EP 3 40 26 -- 5,346 -- หอ้ งเรียนปกติ 12 230 225 00 หอ้ งเรียน EP 3 40 29 ห้องเรียนปกติ 67 ห้องเรยี น EP 16 1503 1273 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ห้องเรยี นปกติ 7 165 130 หอ้ งเรียน EP 2 27 15 ห้องเรยี นปกติ 9 178 148 หอ้ งเรียน EP 2 18 13 ห้องเรยี นปกติ 10 163 168 ห้องเรยี น EP 1 10 10 หอ้ งเรยี นปกติ 26 หอ้ งเรียน EP 5 516 484 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หอ้ งเรียนปกติ 5 103 101 ห้องเรยี น EP 1 13 5 หอ้ งเรียนปกติ 7 111 110 หอ้ งเรยี น EP 1 12 10 หอ้ งเรียนปกติ 7 132 111 หอ้ งเรยี น EP 1 38 ห้องเรียนปกติ 19 ห้องเรียน EP 3 374 345 รวมทัง้ ส้ิน หอ้ งเรยี นปกติ 139 ห้องเรียน EP 24 2,850 2,496 38

39

ส่วนท่ี 3 ผลกำรดำเนนิ งำน 1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปขี องสถานศกึ ษา ยุทธศาสตร์ตาม โครงการ เป้าหมาย ผลสำเร็จ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกบั แผนฯของโรงเรียน รอ้ ยละ ร้อยละ มาตรฐาน นโยบายและจดุ เน้น ผลลพั ธ์ท่พี งึ การศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ประสงคข์ อง สถานศึกษา การศึกษา ตามมาตรฐาน ยทุ ธศาสตร์โรงเรียน 1. โครงการเด็กดีมคี ุณธรรม ระดบั ปฐมวยั 1 1.2 / 2.3 / 2.4 / 2.8 การศกึ ษาของ ที่ 1 จรยิ ธรรม ชาติ พ.ศ. 2561 100 90 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / ปลกู ฝังผู้เรียนเปน็ ผู้มี 2. โครงการหนูทำได้ 2.4 / 2.8 / 3.2 1.1 ถงึ 1.5 คณุ ธรรม จริยธรรม และมี 100 90 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 มาตรฐาน 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 ยทุ ธศาสตรโ์ รงเรยี น 1. โครงการสง่ เสรมิ 95 95 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 3.1 ถงึ 3.3 ที่ 2 ประสบการณ์การเรยี น 95 95 2.4 / 2.5 / 2.8 / 3.2 / 1.1 ถงึ 1.5 100 90 4.2 / 5.1 2.1 ถงึ 2.6 พฒั นาใหผ้ เู้ รียนมี 2. โครงการหนทู ำได้ 3.1 ถงึ 3.4 พฒั นาการทางด้านรา่ งกาย 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.4 / 1.1 ถงึ 1.5 3. โครงการ ส่งเสริม 2.8 / 4.2 / 2.1 ถงึ 2.6 อารมณ์ สังคม และ ประสบการณ์การเรยี นรู้ 3.1 ถงึ 3.4 สติปัญญา 1 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.4 / 1.1 ถงึ 1.5 2.8 / 3.2 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 ยทุ ธศาสตร์โรงเรียน 1. เปดิ โลกการเรียนรู 94 94 1 3 1.2 / 2.2 / 2.3 / 2.4 / 1.2 ถงึ 1.5 2.5 / 2.7 / 2.9 / 3.2 / 2.1 ถงึ 2.7 ท่ี 3 4.2 / 5.1 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 ส่งเสรมิ ทักษะทจ่ี ำเปน็ ตอ่ 3 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.6 2.4 / 2.8 / 3.2 / 4.2 / 3.2 ถงึ 3.3 การดำรงชวี ิตประจำวัน 2. โครงการพัฒนาบุคลากร 100 100 5.1 / 5.2 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 ตามหลกั ปรัชญา ของ แผนกปฐมวัย 2 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 3.2 ถงึ 3.4 2.4 / 2.8 / 5.1 1.1 ถงึ 1.5 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.1 ถงึ 2.6 3.2 ถงึ 3.3 3. โครงการสง่ เสริมและพัฒนา 100 100 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 ศกั ยภาพด้านวชิ าการ 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 ยทุ ธศาสตรโ์ รงเรียน 1. โครงการพฒั นาบคุ ลากร 100 100 2 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.5 ท่ี 4 แผนกปฐมวัย 100 100 2.4 / 2.8 / 3.2 / 4.2 / 3.1 ถงึ 3.4 90 90 5.1 / 5.2 พฒั นาบุคลากรใหม้ คี วามรู้ 2. โครงการพัฒนา ความสามารถในการจดั สภาพแวดล้อมสูห่ ้องเรยี น 2 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / กระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ คณุ ภาพ 2.4 / 2.8 / 5.1 3. โครงการส่งเสริม นำไปสเู่ ปา้ หมาย ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบ้านกับ 3 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / โรงเรียน 2.4 / 2.5 / 2.8 / 3.2 / 4.2 / 5.2 40

ยทุ ธศาสตร์ตาม โครงการ เป้าหมาย ผลสำเร็จ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ แผนฯของโรงเรยี น ร้อยละ ร้อยละ มาตรฐาน นโยบายและจดุ เนน้ ผลลัพธ์ทพ่ี ึง การศึกษาของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประสงคข์ อง สถานศึกษา การศกึ ษา ตามมาตรฐาน ยทุ ธศาสตรโ์ รงเรียน 1. โครงการพัฒนา ระดบั ปฐมวยั 2 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / การศกึ ษาของ ที่ 5 สภาพแวดล้อมสูห่ ้องเรยี น 2.4 / 2.5 / 2.8 / 3.2 / ชาติ พ.ศ. 2561 คุณภาพ 100 100 5.1 จัดสภาพแวดล้อมและ 2. โครงการอนรุ ักษ์พลังงานและ 1.1 ถงึ 1.5 ทรพั ยากรท่ีเอื้อตอ่ การ สิง่ แวดล้อม 100 90 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.2 ถงึ 2.6 2.4 / 3.2 / 4.2 / 5.2 3.1 ถงึ 3.4 เรียนรู้ 1.1 / 1.3 / ยุทธศาสตร์โรงเรยี น 1. โครงการสง่ เสริมและพฒั นา 100 100 2 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 1.5 / 2.4 / 2.8 / 3.2 / 4.2 / 2.1 / 2.4 / ที่ 6 ศักยภาพด้านวชิ าการ 5.1 3.1 / 3.2 / สร้างองคก์ รให้เขม้ แขง็ มี 3 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 3.3 2.4 / 2.8 / 3.2 / 4.2 1.1 ถงึ 1.5 คุณภาพดว้ ยการบริหาร 2.1 ถงึ 2.5 3.1 ถงึ 3.3 แบบมสี ว่ นรว่ ม 1.1 ถงึ 1.5 ยทุ ธศาสตร์โรงเรยี น 2. โครงการส่งเสรมิ 90 90 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 ที่ 7 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบ้านกับ สง่ เสริมและสรา้ ง โรงเรียน ความสัมพันธท์ ดี่ ีระหวา่ ง โรงเรยี นกับชุมชน ยทุ ธศาสตรต์ าม โครงการ เปา้ หมาย ผลสำเร็จ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกบั แผนฯของโรงเรียน รอ้ ยละ ร้อยละ มาตรฐาน นโยบายและจุดเน้น ผลลัพธ์ทพี่ ึง การศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ประสงค์ของ สถานศกึ ษา การศึกษา ตามมาตรฐาน ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การศกึ ษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 ยุทธศาสตร์โรงเรยี น 1. โครงการพัฒนาการการจดั 95 95 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 1.1 ถงึ 1.5 ที่ 1 การศึกษาอย่างมีคุณภาพ 5.2 2.1 ถงึ 2.4 3.1 ถงึ 3.4 พฒั นาการการจดั 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 1.1 ถงึ 1.5 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 2.1 ถงึ 2.4 การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ 2. โครงการวันภาษาไทย 90 90 5.2 3.1 ถงึ 3.3 1.1 ถงึ 1.5 3. โครงการเสรมิ พลังคลินิก 100 100 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.6 ภาษาไทยอย่างมสี ่วนรว่ ม 98 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 3.1 ถงึ 3.4 95 5.2 1.1 ถงึ 1.5 4. โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนา 98 2.1 ถงึ 2.4 ทกั ษะทางภาษาไทยและพัฒนา 95 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 3.1 ถงึ 3.3 ศกั ยภาพเพือ่ การแขง่ ขนั 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 1.1 / 1.2 / 5.2 1.3 / 1.5 5. ส่งเสรมิ เจตคตทิ าง วทิ ยาศาสตร์ 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 41

ยุทธศาสตร์ตาม โครงการ เป้าหมาย ผลสำเร็จ สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกบั แผนฯของโรงเรียน รอ้ ยละ ร้อยละ มาตรฐาน นโยบายและจุดเน้น ผลลพั ธ์ท่ีพึง การศกึ ษาของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประสงค์ของ สถานศกึ ษา การศึกษา ตามมาตรฐาน ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน การศกึ ษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 6. โครงการสง่ เสริมและพัฒนา 80 82.66 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.4 / 2.5 / 2.8 / 4.2 / 1.1 ถงึ 1.5 ศักยภาพผ้เู รยี นดา้ น 5.2 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 วิทยาศาสตร(์ นทิ รรศการวนั 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 1.1 ถงึ 1.5 วทิ ยาศาสตร์) 5.2 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 7. โครงการนักเรียนแลกเปลีย่ น 90 95 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 1.2 ถงึ 1.5 2.4 / 2.6 / 4.2 / 5.1 / 2.1 ถงึ 2.7 โครงการ AFS 5.2 3.1 ถงึ 3.4 ยทุ ธศาสตร์โรงเรียน 1.1 ถงึ 1.5 1 2 3 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.6 ท่ี 1 8. โครงการพฒั นาการจดั การ 90 90 2.4 /2.5 / 2.8 / 4.2 / 3.1 ถงึ 3.4 พฒั นาการการจัด เรียนการสอนเพาะเล้ยี งเน้ือเย่อื 5.1 / 5.2 1.1 / 1.2 / การศึกษาอย่างมีคณุ ภาพ และระบบปฏกิ รณ์ชวี ภาพ 1.4 / 1.5 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.7 9. โครงการแผนการเรียนบูรณา 95 88 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 3.1 ถงึ 3.4 5.2 1.1 ถงึ 1.5 การ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 2.1 ถงึ 2.7 3.1 ถงึ 3.3 และเทคโนโลยี ITP ป.4-6 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 10. โครงการสง่ เสริมและพัฒนา 95 95 3.1 ถงึ 3.4 ทกั ษะทางภาษาไทย (เพชร 1.1 ถงึ 1.5 2.1 / 2.2 / ภาษา) 2.4 / 2.5 / 11. โครงการอบรมเชงิ 90 90 1 2 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.6 2.4 / 2.6 / 4.2 / 5.1 / 3.1 ถงึ 3.4 ปฏิบัตกิ ารเพาะเลย้ี งเน้อื เยือ่ พชื 5.2 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.5 สำหรบั บคุ คลทั่วไป 1 3 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 3.1 ถงึ 3.4 2.4 / 2.8 / 4.2 1.1 ถงึ 1.5 12. โครงการส่งเสริมและ 95 99.51 2.1 ถงึ 2.5 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 3.1 ถงึ 3.4 พฒั นาสขุ ภาพผเู้ รยี น (กิจกรรม 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 5.2 พัฒนาและสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายด้วยการ ออกกำลังกาย) 13. โครงการวันตรุษจีน 90 90 14. โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนา 95 96 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / ศักยภาพการใชภ้ าษาอังกฤษ 95 95 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 (English Day Camp) 15. โครงการสง่ เสริมความเป็น 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / เลศิ ดา้ นภาษาตา่ งประเทศ 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 (ภาษาองั กฤษและภาษาจนี ) - กิจกรรม ASEAN Gate - แข่งขนั คดั ลายมือ (ภาษาจีน ,ภาษาองั กฤษ) - แข่งขันรอ้ งเพลง 42

ยุทธศาสตรต์ าม โครงการ เป้าหมาย ผลสำเร็จ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ แผนฯของโรงเรยี น ร้อยละ รอ้ ยละ มาตรฐาน นโยบายและจดุ เน้น ผลลพั ธท์ ่ีพึง การศกึ ษาของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ประสงคข์ อง ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สถานศึกษา การศกึ ษา 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / ตามมาตรฐาน 16. โครงการพัฒนาการเรียน 70 96.66 13 2.4 / 2.5 / 4.2 / 5.1 การศึกษาของ การสอนและยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ 100 84.37 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / ชาติ พ.ศ. 2561 95 87.75 13 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 ทางการเรียน 2.1 / 2.2 / 2.4 / 2.5 / 1.1 ถงึ 1.5 95 100 1 2.8 / 4.2 2.1 ถงึ 2.5 17. โครงการกจิ กรรมปรบั 3.1 ถงึ 3.4 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / ยุทธศาสตร์โรงเรยี น พนื้ ฐานนกั เรียนชลประทาน 2.4 / 2.8 1.1 ถงึ 1.5 ที่ 1 วทิ ยา ECP 3 2.1 ถงึ 2.6 18. โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ 1.2 / 2.2 / 2.3 / 2.4 / 3.1 ถงึ 3.4 พฒั นาการการจัด ทางการเรียน ITP 13 2.8 / 4.2 การศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ 1 1.1 / 1.2 / 2.3 / 2.4 / 2.8 / 4.2 / 1.3 / 1.5 19. โครงการเชื่อมสัมพันธฉ์ ันท์ 1 5.1 2.1 ถงึ 2.6 พ่นี ้อง ช.ป.ว. 2 3.1 ถงึ 3.4 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 1.1 ถงึ 1.5 20. โครงการประกวดเด็กเจา้ 90 98.26 2.4 / 2.6 / 4.1 / 5.1 / 2.1 / 2.2 / ระเบียบ 5.2 2.4 / 2.5 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 21. โครงการจดั ซ้ือวสั ดุ-อปุ กรณ์ 80 90 2.4 / 4.2 /2.6 3.1 ถงึ 3.4 22. โครงการกจิ กรรมทศั นศึกษา 100 92.10 1.2 / 2.1 2.2/ 2.3 / 2.4 1.1 ถงึ 1.5 ประถมศกึ ษา-มธั ยมศึกษา 95 / 2.8 2.1 / 2.2 / 1.2 / 2.1 / 2.2 /2.3 / 2.4 / 2.5 23. โครงการเสยี งตามสายเรยี ง 90 2.4 / 4.2 / 5.1 / 5.2 รอ้ ยถ้อยคำไทย /2.6 3.1 ถงึ 3.3 ยุทธศาสตร์โรงเรยี น 24. สง่ เสริมความเป็นเลิศด้าน 80 96.40 1.1 / 1.2 / ท่ี 2 ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ 100 100 1.3 / 1.5 และภาษาจนี ) 2.1 / 2.2 / สร้างองค์ความรู้ ทาง 1. โครงการบรกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ต 2.4 / 2.5 เพอื่ การศกึ ษา /2.6 3.1 ถงึ 3.3 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 2.1 / 2.2 /2.4 / 2.5 / 2.6 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 43

ยทุ ธศาสตรต์ าม โครงการ เปา้ หมาย ผลสำเรจ็ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ แผนฯของโรงเรยี น รอ้ ยละ รอ้ ยละ มาตรฐาน นโยบายและจดุ เนน้ ผลลพั ธ์ทพี่ ึง การศกึ ษาของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ประสงคข์ อง สถานศึกษา การศึกษา ตามมาตรฐาน ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน การศกึ ษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 วทิ ยาศาสตร์ดว้ ย 2. โครงการบำรุงรักษา 100 100 2 1.2 / 2.1 / 2.2 /2.3 / 2.4 / 2.6 / 2.8 / 4.2 / 1.1 ถงึ 1.5 กระบวนการสะเตม็ ศึกษา ซ่อมแซม อุปกรณ์เทคโนโลยี 5.1 / 5.2 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.3 โดยบรู ณาการกับ 2 1.2 / 2.1 / 2.2 /2.3 / 1.1 ถงึ 1.5 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 2.1 ถงึ 2.6 นวตั กรรมและเทคโนโลยี 3. โครงการบำรุงรักษาซ่อมแซม 100 100 5.2 3.1 ถงึ 3.3 1.1 ถงึ 1.5 ตา่ งๆ เพ่ือพฒั นานักเรียน อปุ กรณเ์ ทคโนโลยี 2 1.2 / 2.1 / 2.2 /2.3 / 2.1 ถงึ 2.6 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 3.1 ถงึ 3.4 และเพม่ิ ขีดความสามารถ 5.2 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.7 ในการแขง่ ขัน 4. โครงการจดั ซ้อื วสั ดุ อุปกรณ์ 100 100 2 1.2 / 2.1 / 2.2 /2.3 / 3.1 ถงึ 3.4 2.4 / 2.6 / 2.8 / 4.2 / 1.1 ถงึ 1.5 และวสั ดุส้ินเปลืองทใี่ ชก้ บั 5.1 / 5.2 2.1 / 2.3 / 2.4 / 2.5 / คอมพวิ เตอร์ 2 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.4 / 2.6 / 4.2 / 5.1 / 2.6 5. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ 95 87.75 5.2 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 ทางการเรยี น ITP 2.1 ถงึ 2.7 3.1 ถงึ 3.4 6. โครงการพฒั นาระบบ soft- 100 100 1.1 ถงึ 1.5 ware เพอ่ื การบรหิ ารงานใน 2.1 ถงึ 2.6 โรงเรียน 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 7. โครงการส่งเสรมิ เจตคติทาง 95 96 13 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.6 วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 13 2.4 / 2.8 / 5.1 / 5.2 3.1 ถงึ 3.4 1 1.2 ถงึ 1.5 8. สง่ เสรมิ และพัฒนาส่อื 80 100 13 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.7 นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ 2.4 / 2.8 / 4.2 3.1 ถงึ 3.4 123 9. โครงการ THAILAND STEM 80 97.40 13 1.2 / 2.1 / 2.2 /2.3 / 1.1 ถงึ 1.5 CODING & ROBOTICS 1 2.4 / 2.5 / 2.8 / 5.1 / 2.1 ถงึ 2.6 5.2 3.1 ถงึ 3.4 ยทุ ธศาสตร์โรงเรียน 1. โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม 80 97.92 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 1.1 ถงึ 1.5 ที่ 3 จรยิ ธรรม (กจิ กรรมวันสำคัญ 80 80 2.4 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 2.1 ถงึ 2.6 ทางศาสนา - แห่เทยี นจำนำ 5.2 3.1 ถงึ 3.4 สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม พรรษา) 1.1 ถงึ 1.5 แนวทางการปฏิบัติตน 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 2.1 ถงึ 2.6 ตามหลักปรัชญาของ 2. โครงการงานสวน 2.4 / 2.8 / 5.1 /5.2 3.1 ถงึ 3.4 เศรษฐกจิ พอเพียง พฤกษศาสตร์ 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / 3. โครงการวันวิชาการ 100 100 2.4 / 2.5 / 2.6 / 2.8 / 4.2 / 5.1 /5.2 4. โครงการวนั เฉลิมพระชนมพรรษา 80 94.60 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 / สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ 2.4 / 2.6 / 2.8 / 4.2 / พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราช 5.1 / 5.2 ชนนพี ันปีหลวง วันแมแ่ หง่ ชาติ 44

ยทุ ธศาสตร์ตาม โครงการ เปา้ หมาย ผลสำเร็จ สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกับ สอดคลอ้ งกบั แผนฯของโรงเรยี น ร้อยละ ร้อยละ มาตรฐาน นโยบายและจดุ เนน้ ผลลัพธ์ท่พี งึ การศกึ ษาของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ประสงค์ของ ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สถานศึกษา การศกึ ษา 1.2 / 2.1 /2.2 /2.3 /2.4 ตามมาตรฐาน 5. โครงการสมั ผัสชีวติ คุม้ บุรษุ - 90 90 1 /2.8 / 4.2 / 5.2 การศึกษาของ 1 ชาติ พ.ศ. 2561 ยทุ ธศาสตรโ์ รงเรียน คุ้มสตรี 1.2 / 2.1 /2.2 /2.3 / 1 2.4 / 2.8 1.1 ถงึ 1.5 ท่ี 3 2.1 ถงึ 2.6 1 1.2 / 2.1 / 2.2 / 2.3 3.1 ถงึ 3.4 สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม 6. โครงการคิดดี ทำดี 90 97.33 /2.4 /2.8 / 5.2 1.1 /1.3 1 /1.4 /1.5 แนวทางการปฏบิ ตั ติ น 1.2 / 2.1 /2.2 /2.3 / /2.1 /2.4 13 2.4 / 4.2 / 5.2 /2.5/ 2.6 ตามหลักปรชั ญาของ 1 3.1 ถงึ 3.4 1 1.2 /2.1 /2.2 /2.3/ 2.4 1.1 / 1.3 / เศรษฐกิจพอเพยี ง 13 /5.1 / 5.2 1.5 / 2.1 / 13 2.2 / 2.3/ 7. โครงการพฒั นาคุณธรรม 100 90 1 1.2 / 2.1 /2.2 / 2.3 / 2.4 /2.5 / จรยิ ธรรม(กจิ กรรมคา่ ยพุทธ 2.6 /2.8 /4.2 / บุตร) 2.6 1.2 /2.1 /2.2 /2.3 /2.4 3.1 ถงึ 3.4 8. โครงการสรา้ งเสริมระเบยี บ 90 92.60 /2.6 /2.8 / 4.2 / 5.2 1.1 /1.2 วนิ ยั (กจิ กรรม รด. พชิ ติ ชัย) /1.3 /1.5 1.2 /2.1 /2.2 /2.3 2.2 ถงึ 2.6 9. โครงการส่งเสรมิ สนับสนนุ 100 100 /2.5/2.6 /2.8/ 4.2 3.1 ถงึ 3.4 พฤตกิ รรมนักเรยี น 1.1 /1.2 1.2 / 2.1 /2.2 /2.3 / /1.3 /1.5 10. โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม 92 99.15 2.4 / 2.8 /4.2 / 5.1 / 2.2 ถงึ 2.6 จรยิ ธรรม (กจิ กรรมธรรมะ วัน 80 95 5.2 3.1 ถงึ 3.4 ละนิด ชีวติ เปน็ สุข) 100 92.10 1.2 / 2.1 /2.2 /2.3 /2.4 1.1 ถงึ 1.5 11. โครงการวนั เฉลิมพระ /2.5 / 2.8 / 4.2 / 5.1 / 2.1 ถงึ 2.6 ชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจา้ 5.2 3.1 ถงึ 3.4 สริ ิกติ ติ์ พระบรมราชินีนาถ 1.2 / 2.1 /2.2 /2.3 /2.4 1.1 ถงึ 1.5 12. โครงการกิจกรรมทัศนศกึ ษา /2.8 /5.1 2.1 ถงึ 2.6 ประถมศึกษา-มธั ยมศึกษา 3.1 ถงึ 3.3 1.1 ถงึ 1.5 ยทุ ธศาสตร์โรงเรียน 1. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ 93 95 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 ท่ี 4 ทางการเรียน 1.1 ถงึ 1.4 2.1 ถงึ 2.6 พัฒนาห้องเรียน แหลง่ 3.1 ถงึ 3.4 1.1 ถงึ 1.5 เรยี นรทู้ ีเ่ อ้ือต่อการจัดการ 2. โครงการพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ 95 95 2.1 ถงึ 2.6 3.1 ถงึ 3.4 เรยี นการสอน เน้นการ 1.1 ถงึ 1.5 2.1 ถงึ 2.6 ปฏบิ ัติจริง 3.1 ถงึ 3.4 3. โครงการห้องปฏบิ ตั ิการ 100 98.50 DIY (Do It Yourself) 45