Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรบ วินัยการเงินการคลังของรัฐ2561

พรบ วินัยการเงินการคลังของรัฐ2561

Published by fah_witchada, 2019-04-07 02:30:45

Description: พรบ วินัยการเงินการคลังของรัฐ2561

Search

Read the Text Version

พระราชบัญญตั ิวนิ ยั การเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 ความเป็ นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 62 “รัฐต้ องรักษาวินัยการเงินการคลังอย่ างเคร่ งครัด เพือให้ ฐานะทางการเงินการคลังของรั ฐ มีเสถียรภาพและมันคงอย่างยังยืนตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ และจัดระบบ ภาษีให้เกดิ ความเป็ นธรรมแก่สังคม” “กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เกียวกับ กรอบการดาเนินการทางการคลงั และงบประมาณของรัฐ การกาหนดวินัยทางการคลัง ด้านรายได้ และรายจ่าย ทังเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรัพย์สินของรัฐและเงินคงคลัง และการบริหารหนีสาธารณะ”

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 278 “ให้ คณะรั ฐมนตรี ดาเนินการให้ หน่ วยงานของรัฐทีคณะรั ฐมนตรีกาหนดดาเนิ นการให้ จัดทาร่างกฎหมายทีจาเป็ นตามมาตรา 58 มาตรา 62 และมาตรา 63 ให้แล้วเสร็จ และเสนอต่อสภา นิติบัญญัติแห่งชาติภายในสองร้อยสีสิบวันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี และให้สภานิติ บญั ญัติแห่งชาติพจิ ารณาให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวนั นับแต่วนั ทไี ด้รับร่างพระราชบัญญัตินัน ในกรณีทีมีหน่วยงานทีเกียวข้องหลายหน่วยงาน ให้คณะรัฐมนตรีกาหนดระยะเวลาทีแต่ ละหน่วยงานต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จตามความจาเป็ นของแต่ละหน่วยงาน แต่ทังนีเมือรวมแล้ว ต้องไม่เกนิ สองร้อยสีสิบวันตามวรรคหนึง ในกรณีทีหน่ วยงานของรัฐตามวรรคหนึงไม่ อาจดาเนินการได้ ภายในกาหนดเวลา ตาม วรรคสอง ให้คณะรัฐมนตรีสังให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐนันพ้นจากตาแหน่ง” พระราชบญั ญัตวิ นิ ัยการเงินการคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 19 เมษายน 2561 มผี ลบังคับใช้ 20 เมษายน 2561

วตั ถุประสงค์ของ พ.ร.บ. วนิ ัยการเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 • เพอื ให้มกี ฎหมายหลกั เกยี วกบั วนิ ัยการเงินการคลังทีชัดเจน • เพอื ให้รัฐต้องรักษาวนิ ัยการเงนิ การคลงั อย่างเคร่งครัดเพอื ให้ เกดิ เสถียรภาพและความมันคงอย่างยงั ยนื ต่อฐานะการเงนิ และการคลงั ของประเทศ • นาบทบญั ญัติทีเกยี วกบั วนิ ัยการเงนิ การคลงั ทีกาหนดไว้ใน กฎหมายต่าง ๆ มากาหนดไว้ในกฎหมายฉบบั เดยี ว โครงสร้างของ พ.ร.บ. วนิ ัยการเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 คานยิ าม และผู้รักษาการตามกฎหมาย หมวด 1 บททวั ไป หมวด 2 นโยบายการเงนิ การคลงั ส่วนที 1 คณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลังของรัฐ ส่วนที 2 การดาเนนิ การทางการคลังและงบประมาณ หมวด 3 วินยั การเงนิ การคลัง ส่วนที 1 รายได้ ส่วนที 2 รายจ่าย ส่วนที 3 การจดั ให้ได้มาซึงทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สินของรัฐ ส่วนที 4 การก่อหนีและการบริหารหนี ส่วนที 5 เงนิ นอกงบประมาณ ส่วนที 6 การคลังท้องถิน หมวด 4 การบญั ชี การรายงานและการตรวจสอบ หมวด 5 การตรวจเงินแผ่นดิน บทเฉพาะกาล

สาระสาคญั ของ พ.ร.บ. วนิ ัยการเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า (1) ส่วนราชการ (2) รัฐวิสาหกจิ (3) หน่วยงานของรัฐสภา ศาลยตุ ธิ รรม ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ องค์กรอสิ ระตามรัฐธรรมนูญ และองค์กรอยั การ (4) องค์การมหาชน (5) ทุนหมุนเวยี นทมี ฐี านะเป็ นนติ บิ ุคคล (6) องค์กรปกครองส่วนท้องถิน (7) หน่วยงานอนื ของรัฐตามทีกฎหมายกาหนด ผู้รักษาการตามกฎหมาย : นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลงั หมวด 1 บททวั ไป คณะรัฐมนตรี มปี ระสทิ ธิภาพ ความค้มุ ค่า ต้นทุน และผลประโยชน์ - ต้องพจิ ารณา ประโยชน์ โปร่ งใส เสถียรภาพและความมนั คงทางเศรษฐกิจและสังคม ทรี ัฐหรือประชาชนจะ ตรวจสอบได้ ความยงั ยนื ทางการคลัง ได้รับ ความคุ้มค่า และ ภาระการเงินการคลงั ที นโยบายการคลัง การจัดทางบประมาณ การก้เู งนิ การลงทุน การตรากฎหมาย เกิดขึนแก่รัฐ ความเสียง และความเสยี หายทีอาจ การจัดหารายได้ การใช้จ่าย การบริหาร การออกกฎ หรือการดาเนินการใด ๆ ทีมีผล เกิดขึนแก่การเงินการคลัง การเงินการคลัง และการก่อหนี ผูกพนั ทรัพย์สนิ หรือก่อให้เกิดภาระทางการเงนิ ของรัฐอย่างรอบคอบ - ไม่บริหารราชการ การคลัง แผ่นดินโดยม่งุ สร้างความ รัฐ นิยมทางการเมือง เสริมสร้ างวินัยให้ประชาชนเสียภาษี คณะรัฐมนตรีต้องรักษาวินัยในกจิ การที อากรในครบถ้วน เกยี วกับเงนิ แผ่นดนิ ตามกฎหมายนีอย่าง เคร่ งครัด

หมวด 2 นโยบายการเงนิ การคลงั ส่วนที 1 คณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลงั ของรัฐ องค์ประกอบ นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั รองประธานกรรมการ ปลดั กระทรวงการคลงั กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ กรรมการ ผอู้ านวยการสานกั งบประมาณ กรรมการ ผวู้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย กรรมการ ผอู้ านวยการสานกั งานเศรษฐกิจการคลงั เลขานุการ และใหส้ านกั งานเศรษฐกิจการคลงั ปฏิบตั ิหนา้ ทีเป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการ หน้าทีและอานาจ (1) กาหนดวนิ ยั การเงินการคลงั เพิมเติมจากทีบญั ญตั ิไวแ้ ลว้ ในพระราชบญั ญตั ินีหรือในกฎหมายอืน เพอื ใหห้ น่วยงาน ของรัฐถือปฏิบตั ิ โดยไม่กระทบต่อความเป็นอิสระในการปฏิบตั ิหนา้ ทีของหน่วยงานของรัฐ (2) จดั ทาและทบทวนแผนการคลงั ระยะปานกลาง (3) เสนอแนะแนวทางการแกไ้ ขปัญหาทีเกียวขอ้ งกบั การงบประมาณ การจดั เก็บรายได้ การบริหารหนีสาธารณะ การบริหารทรพั ยส์ ิน และปัญหาอืนทีเกียวขอ้ งกบั การเงินการคลงั ของรัฐ (4) กาหนดสัดส่วนงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพือกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น สดั ส่วนงบประมาณ เพือการชาระหนีภาครฐั สัดส่วนการก่อหนีผกู พนั งบประมาณรายจ่ายขา้ มปี งบประมาณ สดั ส่วนการก่อหนีผกู พนั เกินกวา่ หรือ นอกเหนือไปจากทีกาหนดไวใ้ นกฎหมายวา่ ดว้ ยงบประมาณรายจ่าย และสดั ส่วนตามทีกาหนดไวใ้ นมาตรา 50 (5) กาหนดนโยบายและกากบั ดูแลการบริหารจดั การความเสียงทางการคลงั (6) กาหนดอตั ราการชดเชยค่าใชจ้ ่ายหรือการสูญเสียรายไดข้ องหน่วยงานของรฐั ในการดาเนินกิจกรรม มาตรการ หรือ โครงการตามทีกาหนดไวใ้ นมาตรา 28 (7) ปฏิบตั ิการอืนใดตามทีพระราชบญั ญตั ินีหรือกฎหมายอืนบญั ญตั ิใหเ้ ป็นอานาจหนา้ ทีของคณะกรรมการ หรือตามที คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลงั ของรัฐ • ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลังของรัฐ เรือง กาหนดสัดส่วนต่าง ๆ เพอื เป็ นกรอบวินัยการเงิน การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 • ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลังของรัฐ เรือง การดาเนินกจิ กรรม มาตรการ หรือโครงการที ก่อให้เกดิ ภาระต่องบประมาณหรือภาระทางการคลงั ในอนาคต พ.ศ. 2561 • ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลงั ของรัฐ เรือง กาหนดอตั ราชดเชยค่าใช้จ่ายหรือการสูญเสียรายได้ ของหน่วยงานของรัฐในการดาเนินกจิ กรรม มาตรการ หรือโครงการตามทีกาหนดไว้ในมาตรา 28 พ.ศ. 2561 • ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ เรือง นโยบายการบริหารจดั การความเสียงทางการคลงั พ.ศ. 2561 • ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ เรือง กาหนดกรอบในการบริหารหนีสาธารณะ พ.ศ. 2561 • ประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ เรือง หลกั เกณฑ์การรายงานสถานะหนีสาธารณะ หนีภาครัฐ และความเสียงทางการคลัง พ.ศ. 2561 การกาหนดสดั ส่วนของคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลงั ของรัฐ สัดส่วนตวั เลขเกยี วกบั การตังงบประมาณ สัดส่วนทีคณะกรรมการฯ กาหนด 1. สัดส่วนงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพือกรณี 2.0 - 3.5 ฉุกเฉินหรื อจาเป็ น 2. สัดส่วนงบประมาณเพอื การชาระคืนตน้ เงินกขู้ องรัฐบาลและหน่วยงาน 2.5-3.5 ของรัฐซึงรัฐบาลรับภาระ 3. สดั ส่วนการก่อหนีผกู พนั งบประมาณรายจ่ายขา้ มปี งบประมาณ 10 4. สดั ส่วนการก่อหนีผกู พนั เกินกวา่ หรือนอกเหนือไปจากทีกาหนดไวใ้ น 5 กฎหมายวา่ ดว้ ยงบประมาณรายจ่าย 5. อตั ราชดเชยคา่ ใชจ้ ่ายหรือการสูญเสียรายไดข้ องหน่วยงานของรัฐใน 30 การดาเนินกิจกรรม มาตรการ หรือโครงการตามทีกาหนดไวใ้ นมาตรา 28

การกาหนดสดั ส่วนของคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลงั ของรัฐ สัดส่วนตัวเลขเกยี วกบั กรอบในการบริหารหนีสาธารณะ สัดส่วนทีคณะกรรมการฯ กาหนด 1. สัดส่วนหนีสาธารณะต่อผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ 60 2. สดั ส่วนภาระหนีของรัฐบาล ตอ่ ประมาณการรายไดป้ ระจาปี 35 งบประมาณ 3. สัดส่วนหนีสาธารณะทีเป็นเงินตราต่างประเทศ ต่อหนีสาธารณะ 10 ทงั หมด 4. สัดส่วนภาระหนีสาธารณะทีเป็นเงินตราตา่ งประเทศต่อรายไดจ้ ากการ 5 ส่งออกสินคา้ และบริการ ส่วนที 2 การดาเนินการทางการคลงั และงบประมาณ • แผนการคลงั ระยะปานกลาง (MEDIUM TERM FISCAL FRAMEWORK : MTFF) - ใช้เป็ นแผนแม่บทหลักสาหรับการวางแผนการดาเนนิ การทางการเงนิ การคลังและงบประมาณของรัฐ แผนการจัดทา งบประมาณรายจ่ายประจาปี และแผนการบริหารหนีสาธารณะ - ให้คณะกรรมการฯ จัดทาแผนการคลังระยะปานกลางให้แล้วเสร็จภายใน 3 เดอื นนับแต่วนั สินปี งบประมาณทุกปี โดยให้เสนอ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาให้ความเห็นชอบ - แผนการคลังระยะปานกลาง ให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี และอย่างน้อยต้องประกอบด้วย (1) เป้ าหมายและนโยบายทางการคลัง (2) สถานะและประมาณการเศรษฐกิจ (3) สถานะและประมาณการการคลัง ซึงรวมถึงประมาณการรายได้ ประมาณการรายจ่าย ดุลการคลัง และการจัดการ กับดุลการคลงั นัน (4) สถานะหนีสาธารณะของรัฐบาล (5) ภาระผูกพนั ทางการเงนิ การคลงั ของรัฐบาล

• แผนการคลังระยะปานกลาง (MEDIUM TERM FISCAL FRAMEWORK : MTFF) คณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ คณะรัฐมนตรี เห็นชอบ ประกอบการพจิ ารณาจดั ทา หน่วยงานของรัฐ กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปี - การจัดเก็บรายได้หรือหารายได้ - การจดั ทางบประมาณ - การก่อหนี การจัดสรรงบประมาณ • ความจาเป็นและภารกจิ รายจ่ายประจาปี • ฐานะเงนิ นอกงบประมาณ • ความสามารถในการใช้จ่ายและการกอ่ หนีผกู พนั • การปฏิบตั หิ น้าทีโดยอสิ ระของรฐั สภา ศาล องค์กรอิสระ และองค์กรอยั การ • สนบั สนนุ อปท. โดยพจิ ารณาความสามารถในการหารายได้ ความเหมาะสม รูปแบบ อปท การตังงบประมาณรายจ่าย • งบประมาณรายจ่ายลงทนุ : ไมน่ ้อยกว่า 20% ของงบประมาณรายจ่ายประจาปี และ ไม่น้อยกวา่ วงเงิน ประจาปี ส่วนทีขาดดลุ • งบประมาณรายจา่ ยเกียวกบั บคุ ลากรของรัฐและสวสั ดิการของบคุ ลากรของรัฐ ตงั ไว้อย่างพอเพียง • งปม.เพือชาระหนีภาครฐั (ชาระคืนต้นเงนิ กู้ ดอกเบยี คา่ ใช้จา่ ยในการก้เู งิน) ตงั ไว้อยา่ งพอเพียง • ภาระทางการเงนิ ทีมีกฎหมายบญั ญัตใิ ห้ส่งเงินเข้าสมทบ/ชดเชย • ภาระทางการเงินเพอื ชดเชยต้นทนุ ทางการเงินและการบริหารจดั การ และความเสียหายจากการดาเนนิ กจิ กรรมฯ

• การตรากฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายประจาปี ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จก่อนวันเริมปี งบประมาณนัน เว้นแต่จะมเี หตจุ าเป็ นหรือเหตุฉุกเฉินทมี อิ าจหลกี เลยี งได้ • การเสนอกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายประจาปี ต้องแสดงแหล่งทมี าและประมาณการรายได้ ผลสัมฤทธิ หรือประโยชน์ทคี าดว่าจะได้รับจากการจ่ายเงิน และความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ และ แผนพฒั นาต่าง ๆ ด้วย การจัดทางบประมาณรายจ่าย การตังงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณให้ การโอนงบประมาณ เพมิ เตมิ รายจ่ายงบกลาง หน่วยงานของรัฐสภา ศาล รายจ่าย องค์กรอสิ ระ อยั การ • เมือมเี หตุผลและความจาเป็ นที • ให้ตงั ได้เฉพาะในกรณที ีมเี หตุผล • การโอนงบประมาณรายจ่าย ต้องใช้จ่ายเงนิ ระหว่าง และความจาเป็ นทไี ม่อาจจัดสรร • เพยี งพอกบั การปฏบิ ตั ิหน้าทีโดย ระหว่างหน่วยงานของรัฐจะ ปี งบประมาณ โดยไม่สามารถรอ หรือไม่สมควรจัดสรร อสิ ระ กระทาไม่ได้ เว้นแต่จะมี งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณรายจ่ายให้แก่ กฎหมายอนุญาตให้กระทาได้ งบประมาณถัดไปได้ หน่วยงานของรัฐทีรับผิดชอบได้ • ยืนคาขอแปรญตั ติต่อ โดยตรง คณะกรรมาธิการ • ให้ระบทุ มี าของเงินทจี ะใช้จ่าย ตามงบประมาณรายจ่ายเพมิ เตมิ • จดั ให้มรี ะบบการจัดทา การใช้ ด้วย จ่ายเงนิ อย่างมปี ระสิทธภิ าพและ สัมฤทธิผล กากบั ดูแลการใช้ จ่ายเงิน และระบบการควบคมุ ภายใน

• การเสนอกฎหมายทีกาหนดให้หน่วยงานของรัฐไม่ต้องนาเงินรายได้หรือเงนิ อนื ใดส่งคลัง ให้กระทาได้เฉพาะใน กรณีทีมคี วามจาเป็ นและเกดิ ประโยชน์ในการทีหน่วยงานของรัฐนันจะมีเงินเกบ็ ไว้เพอื การดาเนินงานตามอานาจ หน้าทขี องตน โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังก่อนเสนอกฎหมายต่อคณะรัฐมนตรี • การเสนอกฎหมายทีมีบทบัญญัติให้จัดเก็บภาษีอากรหรือค่าธรรมเนียมเพิมขึนจากทีกาหนดไว้ในกฎหมาย เพือให้หน่วยงานของรัฐนาไปใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานของรัฐนัน หรือเพือการหนึงการใด เป็ นการเฉพาะ จะกระทามิได้ เว้นแต่กรณีการจัดเก็บภาษีอากรหรือค่าธรรมเนียมเพิมขึนเพือเป็ นรายได้ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน การดาเนินกจิ กรรม มาตรการ หรือโครงการทกี ่อให้เกิดภาระต่อ การมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐดาเนินกิจกรรม มาตรการ หรือ งบประมาณหรือภาระทางการคลงั ในอนาคตตามทีคณะกรรมการกาหนด โครงการ โดยรัฐบาลรับภาระจะชดเชยค่าใช้จ่ายหรือการสูญเสียรายได้ใน (มาตรา 27) การดาเนินการนนั (มาตรา 28) • - ให้หน่วยงานของรัฐ จดั ทาแผนบริหารจดั การกจิ กรรมฯ ประมาณการ • - ให้กระทาได้เฉพาะกรณที อี ยู่ในหน้าทีและอานาจตามกฎหมายและอยู่ รายจ่าย แหล่งเงนิ ทีใช้ และประโยชน์ทีจะได้รับ เสนอขออนุมตั ติ ่อ ภายในขอบแห่งวตั ถุประสงค์ของหน่วยงานของรัฐนัน คณะรัฐมนตรี และในกรณที กี ารดาเนนิ การก่อให้เกดิ การสูญเสียรายได้ ของรัฐหรือของหน่วยงานของรัฐ ให้จดั ทาประมาณการการสูญเสีย • - เพือฟื นฟูหรือกระตุ้นเศรษฐกจิ หรือเพอื เพมิ ขีดความสามารถในการ รายได้และประโยชน์ทีจะได้รับด้วย ประกอบอาชีพหรือยกระดบั คุณภาพชีวิตของประชาชน หรือเพือ ช่วยเหลอื ฟื นฟูผู้ได้รับผลกระทบจากสาธารณภยั หรือการก่อวินาศกรรม • - ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาความจาเป็ นเร่งด่วน ประโยชน์ทีได้รับ และ ภาระทางการคลงั หรือการสูญเสียรายได้ทีจะเกดิ ขนึ ในอนาคตด้วย • - ในการมอบหมาย คณะรัฐมนตรีต้องพจิ ารณาภาระทางการคลงั ของรัฐ ทีอาจเกิดขนึ ทังในปัจจุบันและในอนาคต ผลกระทบต่อการดาเนินงาน • - ให้หน่วยงานของรัฐจดั ทารายงานเปรียบเทียบประโยชน์ทีได้รับกับการ ของหน่วยงานของรัฐ ซึงได้รับมอบหมายนัน และแนวทางการบริหาร สูญเสียรายได้ทเี กิดขนึ จริงกับประมาณการทีได้จัดทาเสนอ จัดการภาระทางการคลงั ของรัฐและผลกระทบจากการดาเนินการ คณะรัฐมนตรีเพอื ทราบเป็ นประจาทุกสินปี งบประมาณ จนกว่าการ ดังกล่าว ดาเนินการดงั กล่าวจะแล้วเสร็จ • - ภาระทรี ัฐต้องรับชดเชยค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ต้องมยี อดคงค้าง ทังหมดรวมกันไม่เกินอัตราทคี ณะกรรมการกาหนด • - ให้หน่วยงานของรัฐจดั ทาประมาณการต้นทนุ ทางการเงินและการ บริหารจัดการทรี ัฐจะต้องรับภาระทังหมด และแจ้งให้คณะกรรมการ และกระทรวงการคลังทราบ

• ให้หน่วยงานของรัฐซึงได้รับมอบหมายให้ดาเนินกิจกรรม มาตรการ หรือโครงการทีก่อให้เกิดภาระต่อ งบประมาณหรือภาระทางการคลังจัดทาบัญชีสาหรับการดาเนินการดังกล่าวแยกต่างหากจากบัญชีการ ดาเนินงานทัวไป พร้อมทังเสนอรายงานผลการดาเนินการตามทไี ด้รับมอบหมายและผลสัมฤทธิต่อรัฐมนตรี เพอื เสนอต่อคณะรัฐมนตรี และเปิ ดเผยให้สาธารณชนทราบ รวมทงั เผยแพร่ผ่านทางสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ด้วย • ให้กระทรวงการคลังและหน่วยงานทีเกียวข้องบริหารจัดการความเสียงทางการคลังให้เป็ นไปตามนโยบาย การบริหารจัดการความเสียงทางการคลังทีคณะกรรมการกาหนด หมวด 3 วนิ ัยการเงนิ การคลงั รายได้ การคลังท้องถิน รายจ่าย เงินนอก ทรัพย์สินและ งบประมาณและ การบริหาร ทุนหมุนเวียน ทรัพย์สินของรัฐ การก่อหนีและ การบริหารหนี

รายได้วนิ ัยการเงนิ การคลัง ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม รายได้รัฐวสิ าหกิจ การกนั เงนิ รายได้ (Earmarked Tax) • จดั เก็บ อาศัยอานาจตาม • จดั เกบ็ ลด ยกเว้น อาศยั อานาจ • จดั สรรเงินกาไรสุทธิเพือนาส่ง กฎหมาย ตามกฎหมาย คลังตามกฎหมายจัดตัง • เพอื ให้หน่วยงานของรัฐนาไปใช้ รัฐวสิ าหกจิ จ่ายตามวัตถุประสงค์ของ • ยกเว้น/ลด อาศยั อานาจตาม หน่วยงานนัน หรือเพือการหนึง กฎหมาย โดยจัดทาประมาณ • ให้รัฐวสิ าหกจิ ทไี ม่ต้องเสียภาษี การใดเป็ นการเฉพาะจะกระทา การการสูญเสียรายได้และ เงินได้นิติบคุ คล จัดสรรกาไร มิได้ เว้นแต่จะอาศยั อานาจตาม ประโยชน์ทจี ะได้รับ สุทธิประจาปี นาส่งคลงั ไม่น้อย กฎหมาย กว่าอตั ราภาษีเงินได้นิติบุคคล • พจิ ารณาถงึ ความเป็ นธรรม เสมอภาค ไม่เลือกปฏบิ ัติ การ • กระทรวงการคลงั กาหนดให้ พฒั นาและสนับสนุนเสถียรภาพ นาส่งคลงั เพิมเติมตามสมควร และความมันคงทางเศรษฐกิจ และสงั คม วินัยการเงนิ การคลัง ด้านรายได้ ภาษีอากร หลกั การ : รายได้แผ่นดินต้อง ค่าธรรมเนียม นาส่งคลงั เงนิ กาไรสทุ ธิ ของ รัฐวิสาหกิจ ส่งคลังเป็ นรายได้แผ่นดิน

รายได้วินัยการเงนิ การคลงั qข้อยกเว้นไม่ต้องนาเงนิ ส่งคลงั  มกี ฎหมายกาหนดเป็ นอย่างอนื  เงนิ ทีมีผู้มอบให้โดยมวี ตั ถุประสงค์เพอื ให้ใช้จ่ายในกจิ การของหน่วยงานของรัฐ  เงนิ ทีได้รับตามโครงการช่วยเหลือ หรือร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศ : รมว.กค. จะกาหนดเป็ นอย่างอนื โดยไม่ต้องนาส่งคลงั ก็ได้ กรณีมีเหตุผลอันสมควร รมว.กค. อนุญาตให้นาเงนิ ทไี ด้รับไปใช้จ่ายได้ - เงนิ ทไี ด้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหายหรือสนิ เปลืองแห่งทรัพย์สนิ - เงนิ รายรับของหน่วยงานของรัฐทเี ป็ นสถานพยาบาล สถานศึกษา หรือสถานอนื ใดทีเป็ นสาธารณประโยชน์ - เงนิ ทีได้รับในลักษณะผลพลอยได้จากการปฏิบตั งิ านตามอานาจหน้าที - เงนิ ทไี ด้รับจากการจาหน่ายห้นุ ในนิตบิ คุ คลเพอื นาไปซือหุ้นในนิติบคุ คลอนื วนิ ัยการเงนิ การคลงั รายจ่าย • หลักการ การก่อหนีผูกพนั หรือจ่ายเงนิ โดยอาศัยอานาจทมี ีอยู่ตามกฎหมาย โดยต้องเป็ นไปอย่าง โปร่งใส คุ้มค่า และประหยัด โดยพจิ ารณาเป้ าหมาย ประโยชน์ทีได้รับ ผลสัมฤทธิ และ ประสิทธิภาพของหน่วยงานของรัฐ และต้องเป็ นไปตามรายการและวงเงนิ งบประมาณรายจ่าย ของหน่วยงานของรัฐนันด้วย • ให้ผู้มีอานาจอนุมตั กิ ารจ่ายเงนิ มีหน้าทใี นการตรวจสอบการใช้จ่ายเงนิ ของหน่วยงานของรัฐให้ เป็ นไปตามทีกาหนดไว้ในกฎหมายหรือกฎ หรือตามทไี ด้รับอนุญาตให้จ่าย

วนิ ัยการเงนิ การคลัง รายจ่าย รมว.กค. กาหนดระเบยี บโดย หน่วยงานของรัฐซึงมิใช่ส่วนราชการ ระเบียบการใช้จ่ายเงนิ ทดรอง ความเหน็ ชอบ ครม. ให้มีการวางหลักเกณฑ์และวธิ ีการ ราชการของส่วนราชการ • การเบกิ เงนิ จากคลัง • การเบิกเงนิ • เป็ นค่าใช้จ่ายปลีกย่อย • การรับเงนิ • การรับเงนิ • เป็ นค่าใช้จ่ายในการปฏบิ ัติ • การจ่ายเงนิ • การจ่ายเงนิ • การเกบ็ รักษาเงนิ • การเกบ็ รักษาเงนิ ราชการในต่างประเทศ • การนาเงนิ ส่งคลัง • เป็ นค่าใช้จ่ายตามข้อผูกพนั ในการก้เู งนิ จากต่างประเทศ • เป็ นกรณีจาเป็ นเร่งด่วนทีไม่ สามารถรอการเบกิ เงนิ จาก งบประมาณได้ วนิ ัยการเงนิ การคลงั รายจ่าย • เงนิ ทขี อเบกิ จากคลัง ถ้าไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมด ให้หน่วยงานของรัฐผู้เบกิ นาส่งคืนโดยไม่ชักช้า • การก่อหนีทผี ูกพนั การใช้จ่ายเงนิ งบประมาณหรือเงนิ อืนของหน่วยงานของรัฐ ต้องพจิ ารณาภาระ ทางการเงนิ ทเี กดิ ขนึ และข้อผูกพนั ในการชาระเงนิ ตามสัญญา และประโยชน์ทรี ัฐจะได้รับด้วย

วินัยการเงนิ การคลัง การจดั ให้ได้มาซึงทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สินของรัฐ เงนิ หรือทรัพย์สินทอี ยู่ใน ทรัพย์สินของแผ่นดินและ การบริหารเงนิ คงคลงั การจดั ซือจัดจ้าง ความครอบครองของหน่วยงาน ทรัพย์สนิ ทตี กเป็ นของแผ่นดนิ • ตามกฎหมายเงนิ คงคลงั • ตามกฎหมายว่าด้วยการจดั ซอื ของรัฐ • กค. รับผิดชอบดแู ลรักษาและ • รักษาไว้ในระดบั ทีจาเป็ น ให้มี จดั จ้างและการบริหารพสั ดุ บริหารทรัพย์สนิ ทีตกเป็ นของ ภาครัฐ • หนว่ ยงานของรัฐรับผิดชอบดแู ล แผน่ ดิน และจดั ทาบญั ชี สภาพคลอ่ งเพียงพอ รักษาและบริหารทรัพย์สนิ ทรัพย์สินของแผน่ ดนิ • คานึงถึงคา่ ใช้จ่ายและต้นทนุ ใน • ดาเนินการด้วยความสจุ ริต ค้มุ คา่ โปร่งใส มปี ระสทิ ธิภาพ • ตามกฎหมาย/กฎ ทีเกยี วข้อง • กรณีมีกฎหมายกาหนดให้ การบริหารสภาพคล่อง ประสทิ ธิผล และตรวจสอบได้ • พจิ ารณาประโยชน์ของรัฐ ความ หนว่ ยงานอนื ของรัฐรับผิดชอบ ดแู ลรักษาและบริหารทรัพย์สิน ค้มุ คา่ ประหยดั ของแผน่ ดิน ให้จดั ทาบญั ชี • รอบคอบ ระมดั ระวงั บริหาร ทรัพย์สนิ และรายงาน กค. ทราบ ตามหลกั เกณฑ์ของ กค. ความเสียงอยา่ งเหมาะสม วินัยการเงนิ การคลัง การก่อหนีและการบริหารหนี • หลักการ เป็ นไปตามกฎหมายและอยู่ภายใต้ขอบวัตถุประสงค์และอานาจหน้าทีของหน่วยงาน ของรัฐผู้กู้ เพือประโยชน์ของประเทศและของหน่วยงานของรัฐ โดยกระทาด้วยความรอบคอบ • การก่อหนีและการบริหารหนี ต้องคานึงถงึ - ความคุ้มค่า - ความสามารถในการชาระหนี - การกระจายภาระการชาระหนี - เสถียรภาพและความยังยืนทางการเงนิ การคลัง - ความน่าเชือถือของประเทศและของหน่วยงานของรัฐผู้กู้

วินัยการเงนิ การคลงั การก่อหนีและการบริหารหนี คณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลงั คณะกรรมการฯ รายงานสดั สว่ นตา่ ง ๆ ทบทวนสดั สว่ นทีกาหนดอยา่ งน้อยทกุ ของรัฐกาหนดสดั ส่วนต่าง ๆ เพือใช้เป็ น ทีกาหนดให้ ครม. ทราบ และเปิ ดเผย 3 ปี และรายงานให้ ครม. ทราบ กรอบในการบริหารหนีสาธารณะ ต่อสาธารณชน วินัยการเงนิ การคลงั การก่อหนีและการบริหารหนี • คณะกรรมการฯ กาหนดสดั ส่วนต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี สัดส่วนหนีสาธารณะต่อผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศ สัดส่วนภาระหนีของรัฐบาลต่อประมาณการรายได้ประจาปี งบประมาณ สัดส่วนหนีสาธารณะทเี ป็ นเงนิ ตราต่างประเทศต่อหนีสาธารณะทงั หมด สัดส่วนภาระหนีสาธารณะทีเป็ นเงนิ ตราต่างประเทศต่อรายได้จากการส่งออกสนิ ค้าและบริการ สัดส่วนอืน ๆ ทคี ณะกรรมการเหน็ สมควร • ให้กระทรวงการคลังรายงานสดั ส่วนหนีทเี กดิ ขึนจริงต่อ ครม. และคณะกรรมการฯ ทกุ 6 เดือน • กรณีทไี ม่สามารถดาเนินการได้ตามสัดส่วนทกี าหนดไว้ ให้ รมว.กค. รายงานเหตผุ ล วธิ ีการ และ ระยะเวลาในการทาให้สัดส่วนดงั กล่าวอยู่ภายในสัดส่วนทีกาหนดเสนอ ครม. และเปิ ดเผยให้สาธารณชน ทราบ

วินัยการเงนิ การคลงั การก่อหนีและการบริหารหนี • การกู้เงนิ ของรัฐบาล และการคาประกันการชาระหนีของหน่วยงานของรัฐโดยรัฐบาล - ให้ปฏบิ ตั ติ ามทบี ญั ญตั ิในกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนีสาธารณะโดยเคร่งครัด - นอกเหนือจากกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนีสาธารณะ จปะรตะ้จอางปดี ไาดเน้ทินกนั กระาทรโรดวยงเกรา่งรดค่วลนังแสลาะมอายร่ถางดตา่อเนเนินือกงาเรพไือดแ้โดกย้ไขกปารัญตหราากวิกฎฤหตมิขาอยงเปป็ นระกเาทรศเฉโพดายะไมแ่อลาะจเฉตพงั งาบะปกรระณมีทามีณีครวาายมจจ่าายเป็ นที เงนิ กู้ วงเงนิ ทกีอฎนหุญมาาตยทใหตี ้ใรชา้จข่าึนยเตง้อนิ งกรู้ ะแบลวุ ะตั หถนุป่วรยะงสางนคข์ขอองงรกัฐาผร้รู กับ้เู ผงนิดิ ชรอะบยะเวลาในการก้เู งนิ แผนงานหรือโครงการทใี ช้จ่าย เว้นแต่จะมีกเฎงหนิ มก้าูทยีไกดา้รหับนใดหเ้ ปก็ นคอ. ยเก่า็บงอรักืนษาไว้เพอื ให้หน่วยงานของรัฐเบกิ ไปใช้จ่ายตามแผนงาน โดยไม่ต้องนาส่งคลัง ชาระหนีนัน- ไกมา่ไรดก้ ่อหนีของหน่วยงานของรัฐทไี ม่เป็ นไปตามหลกั การการก่อหนีและการบริหารหนี รัฐบาลจะคาประกนั การ วินัยการเงนิ การคลัง การก่อหนีและการบริหารหนี การก้เู งนิ เพอื ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ การก้เู งนิ เพือพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม ก่อนเริมปี งบประมาณ หน่วยงานของรัฐ ต้องจัดทาแผนการก้เู งนิ และการบริหารหนีเงนิ กู้ • เมือรายจ่ายสงู กว่ารายได้ • กรณีทีมีความจาเป็ นต้องใช้จ่ายเงิน ส่งให้กระทรวงการคลัง และเมือก้เู งนิ แล้วให้ส่ง • ดาเนินการให้สอดคล้องกับสถานะของเงิน นอกเหนือจากงบประมาณรายจ่าย รายงานให้กระทรวงการคลังทราบด้วย ประจาปี และต้องใช้เป็ นเงินตรา ภายใน 30 วันนับแต่วันสินปี งบประมาณ คงคลัง โดยคานึงถงึ ประมาณการรายได้ ต่างประเทศ ให้หน่วยงานของรัฐจัดทารายงานการกู้เงิน และแผนการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณในแต่ ประจาปี งบประมาณและสถานะหนีเงนิ ก้คู งค้าง ละช่วงเวลา • ให้กระทาได้เฉพาะกรณีทีมีความจาเป็ น เสนอต่อกระทรวงการคลัง • หากระหว่างปี งบประมาณรัฐบาลสามารถ เร่งด่วน/ไม่อาจใช้จ่ายจากเงนิ งบประมาณ จดั เกบ็ รายได้เกนิ กว่าประมาณการ/เบิก รายจ่ายได้ เมือดาเนินการตามแผนงาน/ จ่ายเงนิ ตากว่าประมาณการ ให้ กค. ปรับ โครงการเสร็จสินแล้ว มีเงนิ ลดวงเงนิ ทีจะก้ตู ามความเหมาะสม • ต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ของการใช้ เหลอื /ไม่ได้เบกิ จ่าย ให้นาส่งคลัง • หน่วยงานของรัฐทีเป็ นเจ้าของโครงการ จ่ายเงิน หน่วยงานของรัฐผ้รู ับผิดชอบ ต้องมีความพร้ อมในการดาเนินการแล้ ว แผนงาน/โครงการ จานวนเงนิ กู้ • หน่วยงานของรัฐทีเป็ นเจ้าของโครงการ ต้องมีความพร้ อมในการดาเนินการแล้ ว

วินัยการเงนิ การคลัง เงนิ นอกงบประมาณและทุนหมุนเวียน เงนิ นอก นาหลักการใช้ ทนุ จดั ตงั ตามกฎหมาย - วัตถุประสงค์ชดั เจน งบประมาณ จ่ายเงนิ หมุนเวียน เฉพาะ -กจิ กรรมทีหน่วยงานของรัฐต้องปฏิบตั ิ งบประมาณมาใช้ ตามหน้าทเี พือสาธารณประโยชน์/ มเี ท่าทีจาเป็ น โดยอนุโลม ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ และสงั คม -เหมาะสม ไม่ซาซ้อน ฝากไว้ที กค. เว้นแต่มี การขอจดั ตัง การ กฎหมายว่าด้วยการ กฎหมายกาหนดเป็ น บริหาร การประเมินผล บริหารทนุ หมนุ เวียน อย่างอืน/ขอตกลงกับ การรวม ยบุ เลกิ กค. เงนิ คงเหลือให้นาส่ง คลงั โดยไม่ชกั ช้า กค. เรียกให้หน่วยงานของรัฐทไี ม่ใช่รัฐวสิ าหกิจ/อปท. นาเงนิ นอกงบประมาณเกินสมควรส่งคลัง ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงือนไข ที รมว.กค. กาหนดโดยความเหน็ ชอบ ครม. วินัยการเงนิ การคลงั การคลังท้องถนิ • อปท. ต้องจดั เกบ็ รายได้ให้เพยี งพอในการจดั ทาบริการสาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะ ในกรณีทยี ังไม่สามารถจัดเกบ็ รายได้ให้เพียงพอกบั การดาเนินการ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณเพอื สนับสนุน อปท. เท่าทีจาเป็ นและเหมาะสมไปพลาง ก่อน • การจัดทางบประมาณ การใช้จ่าย การก่อหนีผูกพัน และการบริหารทรัพย์สินของ อปท. ต้องทาอย่างโปร่งใสและ ตรวจสอบได้ โดยต้องพจิ ารณาผลสัมฤทธิ ความคุ้มค่า ความประหยดั และภาระทางการคลังทจี ะเกดิ ขึนในอนาคตด้วย • การจดั ทางบประมาณประจาปี ของ อปท. ให้พจิ ารณาฐานะการคลงั ของ อปท. ความจาเป็ นทตี ้องใช้จ่ายเงินงบประมาณ การจัดเกบ็ รายได้ในปี งบประมาณนัน โดยให้ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตังองค์กรปกครอง ส่ วนท้องถิน และพระราชบัญญตั ินี • การก่อหนีของ อปท. ตามอานาจทีมีอยู่ตามกฎหมายจัดตังองค์กรปกครองส่วนท้องถินนัน ถ้าเป็ นการกู้เงินหรือการ ออกพนั ธบตั ร ให้อย่ภู ายใต้บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตนิ ี และหลกั เกณฑ์ทีเกยี วข้องทีได้กาหนดขึนตามกฎหมายว่า ด้วยการบริหารหนีสาธารณะด้วย สาหรับการกู้เงินของ อปท. ทีเป็ นการกู้เงินจากต่างประเทศหรือกู้เป็ นเงินตรา ต่างประเทศ ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีก่อนด้วย

หมวด 4 การบัญชี รายงาน และการตรวจสอบ • กระทรวงการคลงั กาหนดมาตรฐานการบญั ชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ หน่วยงานของรัฐ • จดั ทาบญั ชีและรายงานการเงินตามมาตรฐานการบญั ชภี าครับและนโยบายบญั ชีภาครัฐ รัฐวสิ าหกิจ • จดั ทาบญั ชแี ละรายงานการเงนิ ตามมาตรฐานการบัญชรี ับรองทัวไป ทนุ หมนุ เวียน • จดั ทาบญั ชีและรายงานการเงินตามทกี ฎหมายว่าด้วยการบริหารทนุ หมุนเวยี นกาหนด • กระทรวงการคลงั กาหนดหลกั เกณฑ์และคุณสมบัตผิ ้ทู าบญั ชี เพอื จัดทาบญั ชีและรายงานการเงิน รายงานการเงนิ ประจาปี งบประมาณ งบแสดงฐานะการเงิน และ งบแสดงผลการดาเนนิ งานทางการเงิน • จดั ทารายงานการเงินประจาปี งบประมาณ ส่ง สตง. ภายใน 90 วนั นับแต่วนั สินปี งบประมาณ /ตามทีตกลงกับ กค. หน่วยงานของรัฐ (ส่ง กค. ด้วย) • ตรวจสอบรายงานการเงินทหี น่วยงานของรัฐส่ง ภายใน 180 วนั นับแต่วนั สินปี งบประมาณ /ตามทีตกลงกบั กค. สตง. • ตรวจสอบและรายงานผลตามนโยบาย หลกั เกณฑ์และมาตรฐานทีคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดินกาหนด • ส่งรายงานการเงนิ ประจาปี และรายงานผลการตรวจสอบของ สตง. ภายใน 30 วนั นับแต่วนั ทไี ด้รับรายงานผลการตรวจสอบจาก สตง. ให้ กระทรวงการคลงั สานักงบประมาณ และกระทรวงเจ้าสังกดั (กรณีหน่วยงานของรัฐสภา ศาล องค์กรอสิ ระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอยั การ ให้ ส่ง คณะรัฐมนตรี กระทรวงการคลงั และสานกั งบประมาณ) หน่วยงานของรัฐ • เปิ ดเผยต่อสาธารณชน/เผยแพร่ผ่านทางสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์

กระทรวงการคลงั รายงานสถานะหนีสาธารณะ/หนีภาครัฐ/ความเสียงทางการคลงั เสนอ ครม. และคณะกรรมการนโยบายฯ ภายใน 60 วนั นับแต่วนั สินปี งบประมาณ บญั ชีการเงินแผ่นดิน รายงานการรับจ่ายเงนิ งบประมาณประจาปี รายงานการเงนิ แผ่นดนิ ประจาปี งบประมาณ • ตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบาย งบประมาณทสี ินสุด • งบแสดงฐานะการเงิน การบัญชภี าครัฐ • เสนอ รมว.กค. ภายใน 45 วัน • งบแสดงผลการดาเนนิ งานทางการเงนิ • เสนอ ครม. ภายใน 60 วัน • งบแสดงการเปลียนแปลงสนิ ทรัพย์สุทธิ • เสนอรัฐสภา ภายใน 90 วัน • งบกระแสเงนิ สด • รายงานการรับจ่ายเงินประจาปี งบประมาณ ส่ง สตง. ตรวจสอบ ภายใน 90 วนั นับแต่วนั สินปี งบประมาณ สตง. จัดทารายงานผลการตรวจสอบรายงานการเงนิ แผ่นดินประจาปี งบประมาณ ให้แล้วเสร็จภายใน 180 วนั นับแต่วนั สินปี งบประมาณ กค. เสนอรายงานการเงนิ แผ่นดนิ ประจาปี งบประมาณ และรายงานผลการตรวจสอบของ สตง. ต่อ ครม. เพอื เสนอรัฐสภา ภายใน 210 วนั นับแต่วนั สินปี งบประมาณ รายงานการเงนิ รวมภาครัฐ รายงานการเงนิ รวมของรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ - รายงานการเงินแผ่นดนิ ประจาปี งบประมาณ - รายงานการเงนิ ของหน่วยงานของรัฐ (ยกเว้นรายงานการเงนิ ของรัฐวสิ าหกิจและ อปท.) รายงานการเงนิ รวมของรัฐวสิ าหกจิ รายงานการเงนิ รวมของ อปท. - เสนอ ครม. ภายใน 210 วนั นับแต่วันสินปี งบประมาณ - หน่วยงานของรัฐใดไม่ส่งรายงานการเงนิ ภายในระยะเวลาทกี าหนด ให้ กค. เปิ ดเผยไว้ในรายงาน และ แจ้งไว้ในรายงานทีเสนอ ครม. - เปิ ดเผยต่อสาธารณชน และเผยแพร่ทางสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ กระทรวงการคลัง จัดทารายงานความเสียงทางการคลังประจาปี ภายในเดอื นมีนาคมของทุกปี เสนอ คณะกรรมการนโยบายฯ เพือประกอบการจดั ทาแผนการคลงั ระยะปานกลาง และเสนอ ครม.เพอื ทราบ

ตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน การบริหารความเสียง หน่วยงานของรัฐ จัดให้มี ตามมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ทกี ระทรวงการคลังกาหนด - การตรวจสอบภายใน - การควบคุมภายใน - การบริหารจดั การความเสียง หมวด 5 การตรวจเงนิ แผ่นดนิ หลกั การ - กระทาด้วยความสุจริต รอบคอบ โปร่งใส เทียงธรรม กล้าหาญ ปราศจากอคติ และเป็ นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล - เป็ นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดนิ กรณีกระทาผดิ วินัยการเงนิ การคลังของรัฐ การสังลงโทษทางปกครองให้เป็ นไปตามกฎหมาย ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

การลงโทษทางปกครอง • มาตรา 80 วรรคสอง ในกรณีมีการกระทาผดิ วินัยการเงินการคลังของรัฐตามทีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี การสังลงโทษ ทางปกครองให้เป็ นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงนิ แผ่นดนิ - กรณไี ม่เกิดความเสียหายแก่รัฐ สตง. แจ้งให้หน่วยงานทราบเพอื กากบั ดูแลไม่ให้เกดิ ข้อบกพร่องอีก - กรณเี กิดความเสียหายแก่รัฐ หรือจงใจไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวนิ ัยการเงินการคลังของรัฐ สตง. แจ้งให้หน่วยงานดาเนินการเพอื ให้มกี ารชดใช้ค่าเสียหาย หรือดาเนินการทางวินยั แล้วแต่กรณี • กรณีทหี น่วยงานของรัฐไม่ดาเนินการตามทสี านักงานการตรวจเงนิ แผ่นดินแจ้ง ให้ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดนิ เสนอคณะกรรมการ การตรวจเงินแผ่นดินเพอื สังลงโทษทางปกครอง • โทษทางปกครอง - ภาคทณั ฑ์ - ตาหนิโดยเปิ ดเผยต่อสาธารณชน - ปรับทางปกครอง ทงั นี จะลงโทษปรับเป็ นเงินเกนิ เงนิ เดือนสิบสองเดอื นของผู้ถูกลงโทษมไิ ด้ สวัสดคี ่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook