Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ

การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ

Description: การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ

Search

Read the Text Version

การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ Motivational Interviewing (MI) สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์

การให้การปรึกษาทั่วไป ต่างจาก การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ อย่างไร ??

องค์ประกอบของ MI

หัวใจหลัก (MI Sprit) การร่วมมือกัน (Collaboration) การดึงความต้องการออกมาจากภายใน (Evocation) การให้ความเชื่อถือ อิสระ กำลังใจ และสนับสนุน (Autonomy)

หลักการสำคัญ (MI Principle) ชี้ความต่างระหว่างสิ่งที่เป็นอยู่ เลี่ยงการโต้เถียง หมุนไปตามแรงต้าน และเป้าหมายที่ต้องการ (Avoid Argumentation) (Roll with Resistance) (Develop Discrepancy) เข้าใจ และยอมรับ สนับสนุนการเชื่อมั่นในตนเองของผู้รับการปรึกษา (Express Empathy) (Support Self – Efficacy)

ทักษะสำคัญ (OARS) การชื่นชม (Affirmation) คำถามปลายเปิด (Open-ended Question) การสรุป (Summarize) การฟังเพื่อสะท้อนความ (Reflective Listening)

ข้อความสะท้อนการเปลี่ยนแปลง (Change Talk) ความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลง ความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง (Desired to Change) (Ability to Change) เหตุผลในการเปลี่ยนแปลง ความจำเป็นที่ต้องเปลี่ยนแปลง (Reasons for Change) (Need to Change) คำมั่นสัญญาที่จะเปลี่ยนแปลง (Commitment to Change)

การถามข้อความจูงใจ (Self-Motivational Statements - SMS) การตระหนักถึงปัญหา ความกังวลในปัญหา (Problem Recognition) (Concern) ความตั้งใจในการเปลี่ยน มีทัศนคติที่ดีต่อการเปลี่ยน (Intention to Change) (Optimism for Change)

การถามหาสิ่งสำคัญในชีวิต (Exploring Goals and Value) “อะไรคือสิ่งที่สำคัญมาที่สุดในชีวิต” “อะไรคือเป้าหมายในชีวิต” ผู้รับการปรึกษาจะมีแรงจูงใจในการแก้ไข เพื่อบรรลุเป้าหมายในชีวิต

ทฤษฏีลำดับขั้นของการเปลี่ยนแปลง 5 6 Stages of change เป็นนิสัย เผลอไป คิดอยู่บ้าง 1 มองไม่ 2 เห็น ทำได้บ่อย ตัดสินใจ (Prochaska และ 4 ทำ 3 DI Clemente 1982)

ลำดับขั้นของการเปลี่ยนแปลง (Stage of Change) ขั้นที่ 1 ไม่สนใจปัญหา ขั้นที่ 4 ขั้นลงมือปฏิบัติ (Pre-contemplation) (Action) ขั้นกระทำต่อเนื่อง ขั้นที่ 2 ลังเลใจ ขั้นที่ 5 (Maintenance) (Contemplation) ขั้นกลับไปมีปัญหาซ้ำ ขั้นที่ 3 ตัดสินใจจริงจังหรือเตรียม ขั้นที่ 6 (Relapse) เปลี่ยนแปลง (Determination or preparation)

แนวทางการจัดการสำหรับขั้นที่ 1 ไม่สนใจปัญหา (Pre-contemplation) การประเมินผลกระทบ การให้ข้อมูลสะท้อนกลับ (Evaluation) (Feed Back) การให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง (Information)

แนวทางการจัดการสำหรับขั้นที่ 2 ลังเลใจ (Contemplation) การพูดคุยถึงข้อดี ข้อเสีย ของพฤติกรรมเดิม และพฤติกรรมใหม่ (Pros & Cons)

การตรวจสอบข้อดี-ข้อเสีย (Exploring Pros and Cons) พฤติกรรมเดิม พฤติกรรมใหม่ ข้อดี ข้อดี ข้อเสีย ข้อเสีย

แนวทางการจัดการสำหรับขั้นที่ 3 ตัดสินใจเปลี่ยนแปลง (Determination or preparation) การให้ทางเลือกในการ เปิดโอกาสให้เลือกได้อย่างอิสระ เปลี่ยนแปลง (Menu) (Freedom of Choice) เชื่อมั่นในศักยภาพที่จะ เน้นความรับผิดชอบในการ เปลี่ยนแปลง (Self-efficacy) ตัดสินใจเอง (Responsibility)

แนวทางในการแก้ไขปัญหา ข้อดี ข้อเสีย ทางเลือกที่ 1 ………… ทางเลือกที่ 2 ………… ทางเลือกที่ 3 …………



แนวทางการจัดการสำหรับขั้นที่ 4 ลงมือปฏิบัติ (Action) กระตุ้นให้ทำตามวิธีการที่ตนเองตัดสินใจเลือกได้ อย่างต่อเนื่อง (Compliance or Adherence) ให้เข้าใจในวิธีการ สามารถขจัดอุปสรรคที่ทำให้กระทำไม่ต่อเนื่อง

แนวทางการจัดการสำหรับขั้นที่ 5 กระทำต่อเนื่อง (Maintenance) ป้องกันการกลับไปทำ ส่งเสริมการใช้ชีวิตที่มีคุณค่า พฤติกรรมเดิมซ้ำ เช่น การออกกำลังกาย การบริหารเวลา การผ่อน (Relapse Prevention) คลายความเครียด ควบคุมสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้กลับไปเป็นแบบเดิม

แนวทางการจัดการสำหรับขั้นที่ 6 กลับไปมีปัญหาซ้ำ (Relapse) ดึงผู้รับการปรึกษากลับไปสู่ การให้ความหวัง (Hope) พฤติกรรมใหม่ให้เร็วที่สุด (Recovery Process) การประคับประคอง การให้ การสนับสนุนศักยภาพใน กำลังใจ (Support) ตัวของผู้รับการปรึกษา (Self-efficacy)

ทฤษฏีลำดับขั้นของการเปลี่ยนแปลง Stages of change Stages of change + Health believe model 6 ตระหนักว่าความเสี่ยง 5 เผลอไป นี้ร้ายแรง เป็นนิสัย คิดอยู่บ้าง 1 มองไม่ 2 เห็น ทำได้บ่อย ตัดสินใจ รับรู้ทางแก้ไข รับรู้ความเสี่ยง 4 ทำ 3 ได้รับผลดีจากการทดลอง

การจัดการแรงต้าน การสะท้อนความ (Reflective listening) เปลี่ยนหัวข้อของการสนทนา (Shifting Focus) เน้นความรับผิดชอบในตนเอง (Responsibility or personal choice) ปรับมุมมองความคิด (Reframing) การขัดเพื่อให้แย้ง เพื่อกระตุ้นจิตใจที่อยากรักษาอย่างต่อเนื่อง (Paradoxical)

แนวทางการพูดคุย สร้างสัมพันธภาพ – ชื่นชม ค้นหาเป้าหมายชีวิต – สร้างแรงจูงใจ แนะนำแบบมีทางเลือก - ให้ทางเลือก

สาธิต การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ

แบ่งกลุ่มฝึก การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ

ซักถาม/เสนอความคิดเห็น

สอบถามเพิ่มเติม