Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore MDES-Village-E-Commerce-Project-Summary.pdf 17.03.64

MDES-Village-E-Commerce-Project-Summary.pdf 17.03.64

Published by วิระ ฉิมชู, 2021-03-17 08:00:12

Description: MDES-Village-E-Commerce-Project-Summary.pdf 17.03.64

Search

Read the Text Version

ปจั จัยในการพฒั นาเป็นศนู ยบ์ ม่ เพาะ และสนับสนนุ การทาการคา้ ออนไลน์ สาหรับชมุ ชน 43 โครงการศนู ยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

ปจั จัยในการพัฒนาเป็นศนู ย์บม่ เพาะและสนบั สนนุ การทาการค้าออนไลนส์ าหรบั ชุมชน การพัฒนากิจกรรมของศูนย์ดิจิทัลชุมชนให้มีการสนับสนุนการทาการค้า ออนไลน์ในระดับชุมชนน้ัน มีปัจจัยหลายประการที่จะทาให้ศูนย์สามารถ ส่งเสริมผู้ประกอบการให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาช่ องทาง การขายสินค้าชุมชน ส่งต่อสินค้าให้กับประชาชนไทยและต่างประเทศได้ โดยมีปจั จยั สาคญั 4 ประการคอื 1. วทิ ยากรผถู้ า่ ยทอดองคค์ วามรแู้ ละใหค้ าปรกึ ษาดา้ นพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ (Village E-Commerce Master) จาเป็นจะต้องมี ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า สิ น ค้ า สู่ ต ล า ด อ อ น ไ ล น์ ตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace) การส่งเสริมการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) การบริหารจัดการร้านค้า (Shop Management) และอ่ืนๆ โด ยจะต้องมีการเพ่ิมพูนความรู้ใหม่ อย่างสม่าเสมอ ให้ทันต่อเทคโนโลยีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมท้ังการมี โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 44

ปฏิสัมพันธ์กับผู้ประกอบการ เพื่อเป็นการโน้มน้าวจิตใจ ความคิดของ ผู้ประกอบการได้ 2. ผปู้ ระกอบการในชุมชน (Village Entrepreneur) จะตอ้ งมี การเปล่ียนความคิด (Mindset) และมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ เทคโนโลยีมาเป็นช่องทางเสริมในการสร้างรายได้อีกช่องทางหน่ึง จึงจาเป็นจะต้องมีการเรียนรู้และปฏิบัติ เพื่อให้สามารถดาเนินการได้ โดยหากผู้ประกอบการมีอายุมาก การเรียนรู้และการเข้าใจไม่ครบถ้วน ควรให้บุตรหลาน หรือหาผู้ที่สามารถช่วยเหลือกิจการได้ช่วยดาเนินการ จะส่งผลให้ประสบความสาเร็จได้อย่างรวดเร็วกว่า อีกท้ัง การบริหาร จัดการเวลาในด้านการผลิต การขาย และการบริหารร้านค้าออนไลน์ ก็เปน็ สิ่งสาคญั ทผ่ี ปู้ ระกอบการจะตอ้ งใหเ้ วลาและจัดแบง่ ความสาคญั ดว้ ย 3. มีทาเลที่ต้ังและอุปกรณ์สนับสนุน (Location & Support) ท า เ ล ที่ ตั้ ง ข อ ง ศู น ย์ ถื อ เ ป็ น ปั จ จั ย ท่ี ส า คั ญ ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม พ า ณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ หากต้ังอยู่ในศูนย์กลางชุมชนท่ีมีผปู้ ระกอบการจานวนมาก ก็จะส่งผลให้เกิดการสะดวกเข้ามาใช้บริการ อีกทั้งมีจานวนอุปกรณ์ ท่ีช่วยสนับสนุน เช่น คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพ เต้นท์ถ่ายภาพ เครื่องพิมพ์ และบริการต่างๆ อาทิ การช่วยบริหารร้านค้า การเป็นจุด รบั ส่งสินคา้ ก็จะสง่ ผลให้กจิ กรรมทางด้านพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ครบวงจร ทาให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าสู่วงจรได้อย่างรวดเร็วย่ิงขึ้น รวมทั้ง สามารถเป็นร้านคา้ สนิ คา้ ชุมชนได้ 4. นโยบายในการสนับสนุนและงบประมาณสนับสนุน (Policy & Budget Support) ผู้บริหารศูนย์จะต้องให้ความสาคัญในการพัฒนา 45 โครงการศูนยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

เศรษฐกิจฐานราก ด้วยการสร้างโอกาสทางด้านพาณิชย์ในระบบ อิเล็กทรอนิกส์ โดยสนับสนุนและส่งเสริมผู้ดูแลศูนย์ในการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับชุมชน อีกท้ังจะต้องผลักดันให้ผู้ดูแลศูนย์มีการพัฒนา และหน่วยงานของภาครัฐ จะต้องให้ความสาคัญในการผลักดัน ผู้ประกอบการให้มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ เช่น พัฒนาผู้ประกอบการ ฐานราก จากกรมการพฒั นาชุมชน และศูนย์ดจิ ทิ ลั ชมุ ชน ใหเ้ กิดอาชีพและ ช่องทางการจัดจาหน่ายท้ังออนไลน์และออฟไลน์ ต่อยอดด้วยการผลักดัน เขา้ ส่เู ชิงพาณิชย์ จากกระทรวงพาณชิ ย์ และกระทรวงอุตสาหกรรม ดังนั้น ศูนย์ดิจิทัลชุมชนจะต้องมีการพัฒนาและมีปัจจัยในการ สนับสนุนในดา้ นตา่ งๆ เพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดศูนย์รวมในการให้บริการด้านพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยในอนาคตต่อไป โดย 4 ปัจจัยข้างต้น เป็นปัจจัยสาคัญจากการดาเนินโครงการ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาด้าน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ยังมีปัจจัยอ่ืนๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนา อาทิ ภาวะ ทางเศรษฐกิจ จากสถานะในปัจจุบันของประเทศและของโลก ด้านนโยบาย ในการผลักดันกระตุ้นเศรษฐกิจและตัวชี้วัดในด้านต่างๆ และนโยบายทางด้านภาษี รวมทั้งด้านเทคโนโลยี ทง้ั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในระบบตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการรับชาระเงิน เป็นต้น จากปัจจัยขา้ งต้น จากโครงการศูนย์ดิจิทัล กิจกรรม Village E-Commerce ได้นา ปัจจัยสนับสนุนดังกล่าว และจากผลการลงพ้ืนที่ห้คาปรึกษา ได้ออกแบบ รูปแบบธุรกิจที่สนับสนุนได้ 3 รูปแบบ เพ่ือขับเคล่ือนและผลักดันด้าน พาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในระดบั ชุมชนของประเทศไทยดงั ตอ่ ไปนี้ โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 46

47 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 48

รปู แบบธรุ กิจส่งเสริมศนู ย์ดิจทิ ัลชุมชน จ า ก ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ น า ร่ อ ง ศู น ย์ บ่ ม เ พ า ะ แ ล ะ สนับสนุนการทาการค้าออนไลน์ในระดับชุมชน จานวน 300 ศูนย์ ท่ัวประเทศ โดยจาแนกรูปแบบธรุ กจิ ตามสถานที่ตั้ง แตเ่ มือ่ มกี ารพิจารณา เวลาในการให้บริการและรูปแบบการปฏิบัติของศูนย์และหน่วยงานต้น สังกัดน้ัน และจานวนผู้ใช้บริการน้ัน การจาแนกตามสถานที่ตั้ง ยังไม่เหมาะสมกับศูนย์ดิจิทัลชุมชน จากการลงพื้นที่ให้คาปรึกษาและ กิจกรรมสารวจสถานภาพศูนย์ จึงได้เสนอรูปแบบธุรกิจ จัดแบ่งตาม ความเจริญของท่ีต้ังศูนย์เป็นหลักซ่ึงนากิจกรรมภายใต้รูปแบบธุรกิจ นาเสนอให้มีความสอดคล้องกับการปฏิบัติงาน จาแนกออกเป็น 3 รปู แบบคอื 1. รู ป แ บ บ ธุ ร กิ จ ส า ห รั บ ศู น ย์ ท่ี มี ศั ก ย ภ า พ ด้ า น พ า ณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ โดยประกอบด้วยปัจจัยเชิงพ้ืนที่ตั้ง จานวนประชากร ในพ้นื ท่ี จานวนผู้ประกอบการในพ้ืนท่ี ความหลากหลายและความโดดเด่น ของสินค้า และสาธารณูปโภคทีส่ นับสนนุ การพัฒนาผู้ประกอบการในพื้นท่ี 2. รูปแบบธุรกิจสาหรับศูนย์ท่ีมีศักยภาพด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยประกอบด้วยสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ของผู้ดูแลศูนย์ อุปกรณ์ อินเทอร์เน็ต และทักษะที่เหมาะสมของผู้ดูแล ศนู ย์ 3. รูปแบบธุรกิจสาหรับวิทยากรอิสระที่มีทักษะเฉพาะด้าน โดยเป็นรูปแบบท่ีสนับสนุนวทิ ยากรอิสระท่ีมีศักยภาพในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อสามารถเข้าถ่ายทอดในระดับ พนื้ ท่โี ดยไม่ยืดถอื สงั กดั หรอื พ้ืนทเี่ ป็นสาคัญ แสดงไดต้ ามรายละเอยี ดดังต่อไปน้ี 49 โครงการศูนย์ดจิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

รปู แบบที่ 1 รูปแบบธุรกจิ สาหรับศนู ยท์ ี่มีศักยภาพ ด้านพาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ศูนยท์ ่มี ศี กั ยภาพด้านพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยปัจจัยเชิงพื้นท่ีตั้ง จานวนประชากร ในพ้ืนที่ จานวนผู้ประกอบการในพ้ืนท่ีมีความ ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ ค ว า ม โ ด ด เ ด่ น ข อ ง สิ น ค้ า แ ล ะ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค ที่ ส นั บ ส นุ น ก า ร พั ฒ น า ผู้ประกอบการในพ้ืนที่ โดยเน้นกิจกรรมหลัก ในการสนับสนุน 5 หมวดหมู่ คือ 1. จุดจาหน่าย สินค้า 2. จุดรับส่งสินค้า 3. ระบบข้อมูลข่าวสาร 4. การฝึกอบรมให้ค วา มรู้ด้าน ดิ จิทั ล แ ละ 5 การขับเคลอ่ื นภาคการเกษตร กำรขบั เคล่อื น จุดจำหน่ำย จดุ รับส่งสินคำ้ ภำคกำรเกษตร สินค้ำ กิจกรรมหลัก ของศูนยฯ กำรฝกึ อบรมให้ ระบบข้อมูล ควำมร้ดู จิ ิทัล ข่ำวสำร แผนภาพกิจกรรมภายใต้รปู แบบธุรกิจที่ 1 โครงการศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 50

รปู แบบท่ี 2 รปู แบบธุรกิจสาหรับศนู ยท์ ่ีมีศักยภาพ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ศูนย์ท่ีมีศักยภาพด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ จะต้องมีผู้ดูแลศูนย์ที่ได้รับการฝึกอบรมทักษะด้านต่างๆ รวมทั้งมีการเช่ือมโยงกับหน่วยงานฝึกอบรมเพ่ือก่อให้เกิดการผลักดัน ประชาชน เกิดการเรียนรู้ ความสนใจ และแรงบันดาลใจในการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Computer Science, Data Science) และยกระดับ ทกั ษะ ความสามารถของ แรงงาน ข้าราชการ นกั เรียน นักศกึ ษา ที่ปฏิบัติ เกี่ยวข้องกับดิจิทัล เพ่ือสร้างโอกาสในการพัฒนานวัตกรรม ขับเคลื่อน ประเทศ ตามกรอบการพัฒนาสมรรถนะทางด้านดิจิทัลของพลเมืองไทย (Thailand Digital Competence Framework for Citizens) โ ด ย ด า เ นิ น ก า ร ใ น รู ป แ บ บ ธุ ร กิ จ ใ น ปั จ จุ บั น ท่ี มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ และความเช่ียวชาญ เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะทางด้านดิจิทัลของ ประชาชนในพื้นที่ ให้ก้าวสพู่ ลเมืองดจิ ทิ ัลอย่างเตม็ รูปแบบต่อไป 51 โครงการศูนย์ดจิ ทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

รปู แบบที่ 3 รูปแบบธุรกจิ สาหรบั วิทยากรอิสระที่มที กั ษะเฉพาะด้าน รูปแบบการดาเนินการโดยวทิ ยากรทีม่ ีทักษะความรู้ความสามารถ สามารถปฏิบัติหน้าที่ในรูปแบบที่เป็น วิทยากรอิสระที่มีศักยภาพในการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพ่ือสามารถ ถา่ ยทอดองค์ความรู้ในระดับพ้นื ที่โดยไม่อ้างอิงสังกดั หรือพนื้ ที่ใดๆ รวมท้ัง สามารถเป็นที่ปรึกษาในการดูแลผู้ประกอบการ โดยตรง ซ่ึงจะสามารถ ก่อให้เกดิ ประโยชน์กับผปู้ ระกอบการได้ง่าย โดยค่าตอบแทนอาจขึ้นอยู่กับ รูปแบบการให้บริการ หรือการเป็นนายหน้าขายสินค้าให้ผู้ประกอบการ รวมทั้งบริการอ่ืนๆ ยกตัวอย่าง เช่น จัดกิจกรรมฝึกอบรมการออกแบบ บรรจภุ ัณฑ์สาหรบั ผลิตภัณฑป์ ระเภทอาหารแปรรูปในชมุ ชนดว้ ยโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ สอนเทคนิคทางดา้ นการตลาดดิจิทลั โดยใชส้ ื่อสงั คมออนไลน์ เปน็ ต้น กรอบการพัฒนาสมรรถนะทางดา้ นดจิ ทิ ัลของพลเมอื งไทย (Thailand Digital Competence Framework for Citizens) โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 52

โดยสามารถดาเนินการตามกรอบแนวทางการพัฒนาบุคลากร ทางด้านดิจิทัล ได้ตามระดับการพัฒนาสมรรถนะทางด้านดิจิทัล มีจานวน 4 ระดับคือ ระดับการเข้าใจพ้ืนฐาน (Basic Literacy - Awareness) ระดับการเข้าใจดิจิทัล (Intermediate – Digital Literacy) ระดับการ มีสมรรถนะ (Competence – Basic Skill) และระดับผู้เช่ียวชาญ (Professional – Special Skill) ท่ีประชาชนไทยควรได้รับการพัฒนา เป็นลาดับข้ัน เพื่อเกิดการถ่ายทอดให้กับผู้ประกอบการได้มีทักษะและ สมรรถนะ สามารถดาเนินการด้านพาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้อย่างมีพ้ืนฐาน ฉะนั้น ผู้ดูแลศูนย์สามารถพัฒนาประชาชนในพื้นที่ตามลาดับขั้น พื้นฐาน ถึงข้ันเช่ียวชาญได้ โดยมีองค์ประกอบตามหัวข้อการเรียนรู้ อาทิ การใช้งานคอมพิวเตอร์ ในระดับพ้ืนฐาน การเข้าใจดิจิทัล ในระดับ การเข้าใจ การใช้เคร่ืองมือสานักงาน ในระดับสมรรถนะ และการพัฒนา นวัตกรรม ในระดับเชียวชาญ เพื่อให้ขับเคล่ือนสอดคล้องกับการพัฒนา พลเมอื งดิจิทัลของประเทศไทย ต่อไป จากผลการดาเนินการตามรูปแบบข้างต้น สามารถสร้างผลลัพธ์ ภายใต้รูปแบบการดาเนินการแบบต่างๆ ของศูนย์ดิจิทัลชุมชน ของกระทรวง โดยจากผลการนาร่องใช้ในศูนย์ดิจิทัลชุมชนจานวน 300 ศนู ยภ์ ายใตโ้ ครงการนี้ เกดิ ความชัดเจนในการบริหารจัดการกจิ กรรม ของศูนย์ได้ดีย่ิงขึ้น ฉะน้ัน ศูนย์ดิจิทัลชุมชนอ่ืนๆ สามารถดาเนินการ ในลักษณะเดียวกนั โดยอาจมีปัจจยั อื่นๆ ที่สนบั สนุนทาให้เกิดความสาเร็จ ในการดาเนินการรูปแบบธุรกิจได้ ดังน้ันผู้บริหารศูนย์ฯ จะต้องพิจารณา ปัจจัยเสริมอ่ืนๆ เพื่อให้สามารถใช้รูปแบบธุรกิจท่ีกาหนดไว้ เพื่อพัฒนา ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม ของประเทศต่อไป 53 โครงการศูนยด์ จิ ิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce

รูปแบบธรุ กิจไปใช้ในการปฏิบตั ิงานสามารถดาวน์โหลดแผนธุรกิจ ไดผ้ า่ นช่องทางเว็บไซตโ์ ครงการฯ http://ecommerce.onde.go.th โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 54

ผลการพัฒนาผปู้ ระกอบการชุมชน 55 โครงการศนู ยด์ ิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ผลการพัฒนาผู้ประกอบการชุมชน ผลการดาเนินการโครงการ มีการดาเนินการใน 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 การส่งเสริมศูนย์ดิจิทัลชุมชนเป็นศูนย์บ่มเพาะฯ พร้อมวิทยากร ประจาศูนย์ ระยะที่ 2 การขยายผลสู่ผู้ประกอบการชุมชน โดยการพัฒนา ให้ความรู้และผลักดันเข้าสู่ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และระยะที่ 3 ระยะการติดตามและช่วยเหลือผู้ประกอบการชุมชน เพ่ือประเมินมูลค่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ท่ีกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย โดยมีกลุม่ เปา้ หมายในการพัฒนาและขบั เคลื่อน ผู้ประกอบการชุมชน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาและขับเคลื่อน วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการชุมชน ผู้ประกอบการ OTOP SMEs บุ ค ล า ก ร ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ศู น ย์ ดิ จิ ทั ล ชุ ม ช น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น พั น ธ มิ ต ร ในการสร้างความเขม้ แขง็ เศรษฐกจิ ฐานรากผ่านเครือข่ายศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน เกษตรกร ผู้ผลิตสินค้าและบริการในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ และประชาชนผู้สนใจท่ัวไป โดยมีผลลัพธ์จาแนกตามระยะการดาเนินการ ได้ดงั รายการต่อไปน้ี โครงการศูนยด์ ิจทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 56

ระยะท่ี 1 การพัฒนาศูนย์บ่มเพาะและสนับสนุนการทาการค้าออนไลน์ ในระดับชุมชน และวิทยากร E-Commerce ชุมชน เพ่ือเป็นรากฐาน ท่ีม่ันคงสาหรับการดาเนินการกับประชาชนในพื้นที่ ดาเนินการ ในระยะแรกของโครงการ ได้ผลการดาเนินการดงั ตอ่ ไปนี้ 1) เกิดการส่งเสริมและพัฒนาศูนย์บ่มเพาะและสนับสนุนการทา การคา้ ออนไลนใ์ นระดบั ชุมชน จานวน 300 แหง่ ทัว่ ประเทศ เพือ่ ส่งเสริม และพฒั นาผ้ปู ระกอบการในชมุ ชน 2) เกิดการพัฒนาวิทยากร E-Commerce ชุมชน เพ่ือเป็น บุคลากรสาคัญท่ีให้ความรู้ ดูแลประชาชน และพัฒนาการทาการค้า ออนไลน์ใหก้ ับผู้ประกอบการชุมชน จานวน 610 คน ทว่ั ประเทศ 57 โครงการศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ระยะท่ี 2 การพัฒนาผู้ประกอบการชุมชน โดยให้วิทยากร E-Commerce ชุมชน ที่ประจาอยู่ในพ้ืนที่ มีความรู้ ความเข้าใจสินค้า ร่วมกับ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ท่ี เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร ทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านหลักสูตรท่ีออกแบบข้ึนสาหรับการพัฒนา ผปู้ ระกอบการชมุ ชนโดยเฉพาะ โดยดาเนนิ การในระยะท่ีสองของโครงการ มีผลการดาเนินการดังตอ่ ไปนี้ 1) เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะของ วิสาหกิจชุมชน ผปู้ ระกอบการชุมชน ผปู้ ระกอบการ OTOP และ SMEs ผ่านการถ่ายทอด ของวิทยากร E-Commerce ชุมชน ในพื้นท่ีของศูนย์บ่มเพาะและ สนับสนุนการทาการค้าออนไลน์ในระดับชุมชน จานวน 6,113 คน ด้วยหลักสูตรสอนชุมชนเปิดร้านค้าออนไลน์ โดยมีเนื้อหาคือ การพัฒนา ผลิตภัณฑ์/บริการชุมชน การเปิดร้านค้าออนไลน์ การส่งเสริมการขาย สินค้าออนไลน์ การบรหิ ารจัดการร้านค้าออนไลน์ และการบรรจแุ ละจดั ส่ง สนิ ค้า โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 58

ระยะท่ี 3 การผลักดันมูลค่าทางด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เกิดข้ึนจาก การส่งเสริมการเรียนรู้การทาการค้าออนไลน์ของวิทยากร E-Commerce ชุมชน ให้ผู้ประกอบการชุมชนสามารถเปิดร้านค้าออนไลน์ จนกระท่ัง ส่งผลลัพธ์ (Outcome) มูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยดาเนินการใน ระยะท่สี ามของโครงการ มีผลการดาเนินการดังตอ่ ไปน้ี 1) เกิดส่งเสริมการเปิดร้านค้าออนไลน์ ผ่านช่องทางต่างๆ ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace) ระบบร้านค้าออนไลน์ (E-Commerce Platform) และช่องทางการตลาดออนไลน์ ผา่ นเครอื ข่าย สังคมออนไลน์ (Social Network) จากผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เกิดร้านคา้ ออนไลนจ์ านวนทัง้ ส้ิน 4,527 รา้ นค้าออนไลน์ 2) เกิดการขับเคลื่อนและผลักดันผู้ประกอบการส่งผลถึงมูลค่า ก า ร ข า ย สิ น ค้ า ท่ี เ กิ ด ข้ึ น กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ชุ ม ช น ไ ด้ จ า น ว น 209,879,979.00 บาท จากผู้ประกอบการที่เปิดร้านค้าออนไลน์ 4,527 ร้านค้า จากการขายสินค้าต่างๆของผู้ประกอบการ อาทิ ผลิตภัณฑ์จากไม้ 59 โครงการศนู ยด์ จิ ิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

อาหารแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากผ้า ข้าวสาร เคร่ืองเบญจรงค์ ผลไม้สด จักสาน เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้เกิดมูลค่าการขายเฉล่ียผู้ประกอบการ ละ 46,362 บาท ก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ให้ชุมชนเกิด รายได้และความยง่ั ยนื ในการพัฒนาสนิ ค้าชุมชนตอ่ ไป ดังนั้นจากผลการดาเนินการโครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชนสะท้อน ต่อวิสัยทัศน์และพันธกิจของสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากมั่นคงด้วยวิถีชุมชน ดิจิทัล โดยสานักงานฯ ยังมีการดาเนินการผลักดันและขับเคล่ือนการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์อีกเป็นจานวนมาก ผู้ที่สนใจสามารถ เข้ารับการพัฒนาด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีดิจิทัลอื่นๆ ได้ที่ศูนย์ดิจิทัลชุมชนใกล้บ้าน และช่องทางการเรียนรู้ออนไลน์ด้วยตนเอง ผ่านระบบ ThaiMOOC ได้โดยสามารถดูช่องทางได้จากเอกสารในส่วน พัฒนาตนเองไดง้ า่ ยๆ ผ่านแหลง่ เรยี นรู้ Online จากการดาเนินการใน 3 ระยะนั้นเป็นรูปแบบการดาเนินการ ที่ประสบความสาเร็จเป็นอย่างยิ่ง ในการพัฒนาผู้ประกอบการชุมชน ให้มีความรู้ความสามารถทางด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงสามารถ พัฒนาผู้ประกอบการภายใต้ระยะเวลาของโครงการ พร้อมพัฒนาต่อเน่ือง ในรูปแบบการดาเนินธุรกิจของศูนย์ฯ ได้อย่างยั่งยืน สามารถนาไป ประยุกต์ใช้กับรูปแบบกิจกรรมที่เป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ ขยายผล การรับรู้ และประเมินวดั ผลลัพธ์ ของโครงการและกจิ กรรมอื่นๆ เพ่อื ให้ได้ ผลลัพธ์สอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย และผลสมั ฤทธท์ิ ีด่ ตี อ่ ไป โดยสามารถแสดง ขอ้ มลู ผลลัพธ์สรปุ ได้ดังแผนภาพตอ่ ไปน้ี โครงการศูนย์ดิจิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 60

61 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 62

พฒั นาตนเองได้ง่ายๆ ผ่านแหลง่ เรียนรู้ Online 63 โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce

พัฒนาตนเองได้งา่ ยๆ ผา่ นแหลง่ เรยี นรู้ Online สาหรับผู้ประกอบการท่ีพร้อมจะเรียนรู้หลักสูตรพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ในรูปแบบออนไลน์ ผู้ประกอบการจะต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ และจาเป็นจะต้องเตรียม อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับการทาร้านค้าออนไลน์น้ัน มีความจาเป็น จะต้องใช้อุปกรณ์ อาทิ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพ เคร่ืองพิมพ์เอกสารท่ีเป็นองค์ประกอบสาหรับการทา ร้านค้าออนไลน์ โดยไม่จาเป็นว่าผู้ประกอบการชุมชนจะต้องมีท้ังหมด ที่กล่าวมาข้างต้น เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ก็สามารถบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ได้ดังน้ัน การใช้ประโยชน์ จากอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ จะทาให้เกิดประโยชน์ในทางธรุ กจิ ได้ คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟนหรอื แทบ็ เล็ต กลอ้ งดจิ ิทลั สาหรบั การเรียนร้แู ละ สาหรับการเรียนรู้และบรหิ าร สาหรับการถ่ายภาพ เปิดร้านคา้ จัดการร้านคา้ สินคา้ /บรกิ าร เม่ือเตรียมอุปกรณ์พร้อม พิจารณาเน้ือหาในการเรียนรู้ 5 ขัน้ ตอนสูก่ ารเปน็ ร้านคา้ ออนไลน์ ดงั ขอ้ มูลต่อไปนี้ โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 64

65 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 66

67 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 68

หลักสูตรการสอน 5 ขั้นตอนสู่การเป็นร้านค้าออนไลน์ สาหรับ ผู้ประกอบการท่ีสนใจ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านระบบการเรียนรู้ ตลอดชีวิต (ThaiMOOC) และสื่อต่างๆ ของโครงการไดด้ ังต่อไปน้ี ThaiMOOC.org สาหรับผู้ประกอบการชุมชนสามารถเข้าถึงสื่อ ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการชุมชนสามารถเข้าใช้บทเรียน ออนไลน์ เรียนรู้ด้วยตนเองได้ท่ี Thaimooc.org ภายใต้รายวิชาชื่อ “สอนชุมชนเปิดร้านค้าออนไลน์ (Village E-Commerce)” สามารถเข้า ใชง้ านระบบ ThaiMOOC โดย Scan QR Code หรอื เขา้ ใช้งานผ่าน URL http://uqr.to/b2pe เพ่อื เขา้ สบู่ ทเรียนออนไลน์ 69 โครงการศูนยด์ จิ ทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce

Ecommerce.onde.go.th อีกช่องทางสาหรับการเรียนรู้ ผ่านเว็บไซต์โครงการ ประกอบด้วย หลักสูตรส่งเสริม E-Commerce ชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ รายช่ือร้านค้าชุมชน เผยแพร่ร้านค้าออนไลน์ ของชุมชน ข้อมูลโครงการ การดาเนินการและการผลักดันของสานักงาน คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการสอน เปิดรา้ นค้าออนไลน์ฟรี โครงการศูนยด์ ิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 70

Facebook : Thailand Village E-Commerce ที่ เ ผ ย แ พ ร่ ข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของโครงการ รวมท้ังเป็น ศูนย์กลางรวบรวมร้านค้าออนไลน์ของชุมชน เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถ เลอื กซ้ือสนิ ค้าได้งา่ ยๆ ผ่านเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ 71 โครงการศนู ยด์ ิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการ ตวั อย่างผปู้ ระกทอบปี่การรทะี่ปสระสบบคคววามาสามเรส็จ าเร็จ โครงการศนู ยด์ ิจทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 72

ภาคเหนือ 73 โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 74

ภาคตะวนั ออกและภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จงั หวัดบรุ ีรัมย์ 75 โครงการศูนย์ดิจทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 76

ภาคกลางและภาคตะวันตก 77 โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 78

ภาคใต้ 79 โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 80

หน่วยงานส่งเสริมพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ หนว่ ยงานสง่ เสริมพาณิชย์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 81 โครงการศนู ยด์ จิ ิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 82

83 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook