Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore MDES-Village-E-Commerce-Project-Summary.pdf 17.03.64

MDES-Village-E-Commerce-Project-Summary.pdf 17.03.64

Published by วิระ ฉิมชู, 2021-03-17 08:00:12

Description: MDES-Village-E-Commerce-Project-Summary.pdf 17.03.64

Search

Read the Text Version

เอกสารบทสรปุ โครงการ (Project Summary Report) 1 โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce



บทสรุปโครงการ (Project Summary Report) โครงการศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce (ศึกษาและพัฒนา Village E-Commerce) พิมพค์ ร้ังที่ 1 มีนาคม 2561 จานวนพมิ พ์ 4,000 เล่ม คณะผูจ้ ดั ทา ที่ปรึกษาโครงการศนู ยด์ จิ ิทลั ชุมชน กจิ กรรม Village E-Commerce (ศกึ ษาและพัฒนา Village E-Commerce) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล โดย สานกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม เลขที่ 120 อาคารรัฐประศาสนภกั ดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพมหานคร 10210 http://www.onde.go.th ก โครงการศูนยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

คานา โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce (ศึกษาและพัฒนา Village E-Commerce) จัดทาขึ้นโดยสานักงาน คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาศูนย์ดิจิทัลชุมชน ให้มีศักยภาพทางด้านการส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้กับชุมชน และสร้างความเข้มแข็งของชุมชนฐานรากซ่ึงเป็นประชาชน ส่วนใหญ่ ของประเทศ ท่ีจะต้องเป็นผู้ได้รับประโยชน์ และเกิดการเปลี่ยนแปลง ในทิศทางที่ดีข้ึนจากนโยบายท่ีสาคัญของประเทศ โดยใช้ศูนย์ดจิ ิทลั ชุมชน ที่มีอยู่ท่ัวประเทศเป็นกลไกสร้างประโยชน์และเกิดความเปล่ียนแปลง ให้ชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้นแก่ประชาชนฐานปิระมิดของป ระเทศ จึงกาหนดใหม้ กี ารศกึ ษาและพฒั นา Village E-commerce ข้ึน เพอ่ื ศกึ ษา บทบาทหน้าที่ของศูนย์ดิจิทัลชุมชนกับการสร้างประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ โดยเฉพาะสง่ เสรมิ การค้าขายออนไลนใ์ ห้แกผ่ ปู้ ระกอบการชุมชน วสิ าหกจิ ชุมชน รวมถึงประชาชนทั่วไปให้เขา้ ใจถึงความสาคัญของเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล และสร้างประโยชน์ได้อย่างสร้างสรรค์ การพัฒนาต้นแบบหมู่บ้าน/ชุมชน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Village E-commerce) ที่สามารถนาไปขยายผล ในเครือข่ายศูนย์ดิจิทัลชุมชนอื่น ๆ ทั่วประเทศ เพื่อให้ชุมชนฐานราก ของประเทศไทย เป็นส่วนหน่ึงของการขับเคล่ือนนโยบายดิจิทัล เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมสรา้ งความเข้มแข็งให้แก่ตนเอง นาไปสู่การพัฒนา ประเทศอยา่ งม่ันคง ม่ังคง่ั และย่ังยนื การสนับสนุนการทาการค้าในรูปแบบธุรกิจกับลูกค้า (Business to Customer : B2C) จึงเป็นรูปแบบที่สาคัญท่ีผู้ประกอบการในประเทศ ไทยสามารถพัฒนาและส่งเสริมได้อย่างง่าย ด้วยลักษณะการเป็น ผู้ประกอบการรายย่อย จัดจาหน่ายให้กับผู้บริโภคท่ีอยู่ท้ังใน ข โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

และต่างประเทศ โดยการสนับสนุนการทาการค้าออนไลน์ได้รับความ ร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ อาทิ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจะร่วมส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้ประกอบ การไทย ก้าวสู่ระดับอุตสาหกรรม ด้วยโครงสร้างพ้ืนฐานด้านดิจิทัล ท่ีมีประสิทธิภาพของประเทศ อย่างต่อเนื่องและย่ังยืน เพื่อขับเคลื่อน เศรษฐกิจฐานรากของประเทศให้พัฒนาตอ่ ไป สานักงานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ กระทรวงดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คม มนี าคม 2561 ค โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

สารบัญ หนา้ ประเทศที่ประสบความสาเร็จดา้ นพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ .................... 1 สาธารณรัฐประชาชนจีน ................................................................. 10 สาธารณรัฐเกาหลี ........................................................................... 14 ประเทศญปี่ ุ่น.................................................................................. 18 ประเทศอนิ เดีย................................................................................ 22 ประเทศไทย.................................................................................... 26 ศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน ส่งเสริมความรู้ร้านคา้ ออนไลน์..............................30 ผลิตภัณฑ/์ บรกิ ารในชมุ ชน...............................................................35 ปัจจยั ในการพัฒนาเป็นศนู ย์บ่มเพาะและสนับสนุน การทาการค้า ออนไลนส์ าหรบั ชุมชน ......................................................................43 รูปแบบธุรกจิ ส่งเสรมิ ศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน..............................................49 ผลการพฒั นาผ้ปู ระกอบการชุมชน ...................................................56 ระยะที่ 1......................................................................................... 57 ระยะท่ี 2......................................................................................... 58 ระยะที่ 3......................................................................................... 59 ง โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

หน้า พฒั นาตนเองไดง้ ่ายๆ ผ่านแหลง่ เรยี นรู้ Online...............................64 ตัวอย่างผูป้ ระกอบการทป่ี ระสบความสาเรจ็ .....................................72 ภาคเหนือ........................................................................................ 73 ภาคตะวนั ออกและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ .................................. 75 ภาคกลางและภาคตะวันตก............................................................. 77 ภาคใต้ ............................................................................................ 79 หนว่ ยงานส่งเสริมพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ..........................................81 จ โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce



ประเทศทปี่ ระสบความสาเร็จด้านพาณิชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ องค์กร E-Commerce Foundation ทาการวิจัยข้อมูลกว่า 40 ประเทศทั่วโลกด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้จัดอันดับประเทศ ท่ีประสบความสาเร็จในการดาเนินการด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พิจารณาจากมูลค่าด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในรูปแบบ B2C มีประเทศ ท่ีประสบความสาเร็จ และสอดคล้องกับการส่งเสริมผู้ประกอบการชุมชน ของประเทศไทย มีประเทศดังต่อไปนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรฐั เกาหลี ประเทศญี่ปุ่น และประเทศอินเดีย โดยมกี ารสรุปมูลค่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของทั้งโลก จากการสารวจในปี 2558 มีมูลค่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2,273 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีจานวนผู้ซ้ือ สินค้าออนไลน์มากถึง 1,436 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 26 ของประชากร ท้ังโลก โดยที่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เปน็ อันดับที่ 1 มีมลู คา่ มากถงึ 1,057 พันล้านดอลลาร์สหรฐั และมจี านวน ผู้ซื้อสินค้าออนไลน์มากถึง 711 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 22 ของประชากร ทอ่ี ายมุ ากกวา่ 15 ปี 1 โครงการศูนยด์ ิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ประเทศท่ีประสบความสาเร็จด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์น้ัน มี ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ส ร้ า ง พ้ื น ฐ า น ท า ง ด้ า น พ า ณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ อาทิ ระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสนับสนุน ระบบขนส่งสินค้า และนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนของภาครัฐ โดยสามารถจาแนก ประเทศทท่ี าการศึกษาออกเป็นรปู แบบเฉพาะ 2 รปู แบบคือ 1) รปู แบบในการขบั เคล่อื นดว้ ยการนาเทคโนโลยี และผสู้ นับสนนุ ภาคเอกชนเข้ามาร่วมขับเคล่ือน โดยตัวอย่างที่สาคัญคือ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ท่ีมีการผลักดันและขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ โดยมีบริษัท Alibaba Group เป็นกาลังสาคัญหลักในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ต่างๆ ให้ประเทศเกิดการพัฒนาและเข้าสู่ระบบนิเวศด้านพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างรวดเร็ว และประเทศญ่ีปุ่น ท่ีมีการพัฒนา แพลตฟอร์มในการให้บริการ พร้อมระบบท่ีมีมาตรฐานในการให้บริการ ให้กับผู้ซ้ือสินค้าออนไลน์อีกด้วย และสาธารณรัฐเกาหลี ที่มีการส่งเสริม การทาพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สก์ ับส่ือ และบรกิ ารผา่ นระบบออนไลน์ 2) รูปแบบการขับเคลื่อนโดยผลักดันอุตสาหกรรมหลักของ ประเทศให้ก้าวสู่ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ประชาชนฐานรากของประเทศให้มีรายได้เพ่ิม ตัวอย่างเช่น สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ท่ีมีการพัฒนาชุมชน Taobao Village เพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนในพื้นที่ ประเทศอินเดีย ที่รัฐร่วมกับเอกชนและพันธมิตร ผลักดันและขับเคลื่อนด้านการเกษตร ให้เกิดความสมดุลกันระหว่าง ความต้องการและกาลังการผลิตของเกษตรกรภายในประเทศ โดยให้ ส่ือสารและพัฒนาการเรียนรู้ผ่านระบบเทคโนโลยีทร่ี ฐั เปดิ ให้บริการ โครงการศูนย์ดจิ ิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 2

ฉะนั้น ปัจจัยสาคัญในการพัฒนาท่ีก่อให้เกิดความ สาเร็จ ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศต่างๆ จะตอ้ งดาเนินการดังต่อไปนี้ ส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลักดันให้ประชาชน สามารถเข้าถึงประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต และเข้าสู่การดาเนินการด้าน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบสารสนเทศ และระบบขนส่งสินค้าได้ โดยปจั จัยในการขับเคลือ่ นประเทศให้ประสบความสาเรจ็ ประกอบดว้ ย 1) นโยบายขับเคลื่อน/เอกชนสนับสนุน (Policy & Driven) กาหนดมาตรการในการขับเคล่ือนและผลักดันของภาครัฐ ท่ีจะต้องมี พันธมิตรในด้านต่างๆ ร่วมกันส่งเสริมการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ภายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ 2) ระบบการชาระเงิน (Payment) โครงสร้างหลักของรูปแบบ การชาระเงินที่มีแนวโน้มในการดาเนินการที่เป็นลักษณะสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) โดยจะต้องมีการวางรูปแบบการบริหารจัดการ ท า ง ด้ า น ก า ร เ งิ น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ื อ ใ ห้ ส นั บ ส นุ น ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ด้านพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ 3) สินค้าและบริการ (Product & Service) สินค้าและบริการ ท่ีสามารถจัดจาหน่ายในรูปแบบการค้าออนไลน์ท่ีจะต้องมีคุณภาพ และเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่น จึงจะส่งเสริมต่อการขายสินค้าออนไลน์ในระบบ พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ได้ 4) ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ( E-Commerce Platform & E-Marketplace) แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม ท่ี ใ ห้ บ ริ ก า ร ห ลั ก ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ จ ะ ต้ อ ง มี ร ะ บ บ ท่ี ส ร้ า ง ค ว า ม เ ช่ื อ ม่ั น ในการซ้ือสินค้า การชาระเงินและการรับประกันสินค้า เพ่ือให้เกิด 3 โครงการศูนย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ความพึงพอใจของผู้บริโภค รวมท้ังการแสดงตัวตนท่ีชัดเจนของ ผปู้ ระกอบการ จะกอ่ ให้เกดิ ความสาเรจ็ ในการทาพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกสไ์ ด้ 5) การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) การดาเนินการด้านการ ส่งเสริมการตลาดดิจิทัล ด้วยเคร่ืองมือท่ีสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายของ ผลิตภัณฑ์ของตนเอง และการส่งเสริมการใช้ส่ือการตลาดดิจิทัล เพอื่ ผลักดันประชาชนเข้าสู่การเป็นพลเมอื งดิจิทัล 6) ระบบการขนส่งสินค้า (Logistic) ระบบการขนส่งสินค้าเป็น โครงสรา้ งพนื้ ฐานที่เป็นปัจจัยหลักในการขับเคล่ือนการขายสนิ ค้าออนไลน์ ด้วยปัจจัยย่อยท่ีประกอบด้วย คุณภาพ ค่าใช้จ่าย ความรวดเร็ว ในการให้บริการ รวมท้ังการจัดส่งรูปแบบเฉพาะต่างๆ ซ่ึงองค์กร ท่ีดาเนินการด้านการขนส่งสินค้าภายในประเทศจะต้องมีการพัฒนา ให้สอดรบั กับการพัฒนาดา้ นพาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ จากข้อมลู ผลการศกึ ษาและปจั จัยทีป่ ระสบความสาเรจ็ น้ี ประเทศไทย สามารถก้าวตามประเทศท่ีประสบความสาเร็จดังกล่าวข้างต้นได้ จะต้องมี การเร่ิมการพัฒนาทีละระดับร่วมกัน จะส่งผลให้ประสบความสาเร็จด้าน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ เพื่อสร้างมูลค่าด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ตาม ประเทศต่างๆ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน มีมูลค่าสูงสุดอันดับที่ 1 เป็นมูลค่า 766.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ สหรัฐอเมริกา 595.1 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ประเทศญ่ีปุ่น มูลค่า 114.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ สาธารณรัฐเกาหลี มูลค่า 64.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศอินเดีย มูลค่า 25.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และประเทศไทย มีมูลค่า 19.64 พนั ลา้ นดอลลาร์สหรฐั ตามลาดับ โดยแสดงไดด้ ังแผนภาพตอ่ ไปน้ี โครงการศูนยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 4

5 โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 6

7 โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 8

รูปภาพจาก Aliresearch-Alibaba 9 โครงการศูนยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนมีประชากรท่ีอายุมากกว่า 15 ปี จานวน มากถึง 1,136.7 ล้านคน มีบัญชีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจานวนท้ังส้ิน 583.1 ล้านบัญชี คิดเป็นร้อยละ 51 ของจานวนประชากร โดยมีจานวน ผู้ซ้ือสินค้าออนไลน์ (e-Shoppers) จานวน 413.3 ล้านคน คิดเป็น รอ้ ยละ 36 ของจานวนประชากร เกิดการซื้อขายสินคา้ มลู คา่ ของพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์เติบโตข้ึนอย่างต่อเนื่องจากปี 2555 – 2559 ในปี 2558 มีมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ B2C เท่ากับ 766.5 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้อัตราผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ การขยายตัวสูง ถงึ ร้อยละ 6.9 สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้รับการจัดอันดับในระดับสากล ท่ีเก่ียวข้องกับด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พบว่า ศักยภาพทางด้านการ ขนส่ง (Logistic Performance Index) จัดอยู่ในลาดับท่ี 28 ของโลก และมีอันดับความยากง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business Index) จัดอยู่ในลาดับท่ี 84 ของโลก และมีส่วนแบ่งผลิตภัณฑ์ มวลรวมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศอยู่ในอันดับที่ 1 ของโลก ในปี 2559 ดงั น้ัน ด้านพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกสข์ องสาธารณรฐั ประชาชนจีน ท่ีมีศักยภาพท้ังด้านมูลค่า และการขนส่งที่เป็นจุดสนับสนุนให้เกิดพาณชิ ย์ อิเล็กทรอนิกส์อย่างสมบูรณ์ได้ มีระบบตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ขนาดใหญ่ สาหรับธุรกิจแบบ B2C คอื เถาเป่า Taobao.com (ภายใตก้ าร ดาเนินงานของ Alibaba Group) ที่มีการบริโภคท้ังภายในประเทศ และต่างประเทศ เป็นต้น อีกท้ังจานวนประชากรจานวนมากทาให้มีอัตรา การบริโภคสูง จึงสะทอ้ นสู่มลู คา่ ด้านพาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์สงู สุดในโลก *ขอ้ มูลข้างต้นอ้างองิ จาก E-Commerce Foundation ปี 2016 โครงการศูนย์ดจิ ทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 10

11 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 12

รปู ภาพจาก Unsplash 13 โครงการศนู ยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

สาธารณรฐั เกาหลี สาธารณรัฐเกาหลีมีประชากรที่อายุมากกว่า 15 ปี จานวน 43.7 ล้านคน มีบัญชีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจานวนทั้งส้ิน 37.1 ล้านบัญชี คิดเป็นร้อยละ 85 ของจานวนประชากร โดยมีจานวนผู้ซื้อสินค้าออนไลน์ (e-Shopper) จานวน 25 ล้านคน คิดเป็นรอ้ ยละ 57 ของจานวนประชากร เกิดการซ้ือขายสินค้า มูลค่าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เติบโตข้ึน อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง จ า ก ปี 2555 – 2559 ใ น ปี 2 5 5 8 มี มู ล ค่ า พ า ณิ ช ย์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รปู แบบ B2C เทา่ กับ 64.8 พนั ลา้ นดอลลารส์ หรัฐ ส่งผล ให้อัตราผลติ ภัณฑ์มวลรวมของประเทศ มีการขยายตัวรอ้ ยละ 2.6 สาธารณรัฐเกาหลี ได้รับการจัดอันดับในระดับสากลท่ีเก่ียวข้อง กับด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พบว่า ศักยภาพทางด้านการขนส่ง (Logistic Performance Index) จัดอยู่ในลาดับที่ 21 ของโลก และมี อันดับความยากง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business Index) จั ด อ ยู่ ใ น ล า ดั บ ที่ 4 ข อ ง โ ล ก แ ล ะ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ว ลรว ม อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศอยู่ในอันดับท่ี 3 ของโลก ในปี 2559 ดังนั้น ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของสาธารณรัฐเกาหลี มีศักยภาพท้ัง ด้านมูลค่า และการขนส่งท่ีเป็นจุดสนับสนุนให้เกิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างสมบูรณ์ได้ อีกท้ังยังมีความพร้อมในการดาเนินการลงทุนธุรกิจใน ประเทศเป็นอันดับต้นๆ โดยระบบตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่เด่น ผลักดันให้เกิดมูลค่า คือ Coupang, Lotte, SSG และ Hmall เป็นต้น ปั จ จั ย ส า คั ญ ท่ี ส า ธ า ร ณ รั ฐ เ ก า ห ลี ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ด้ า น พ า ณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เ กิ ด จ า ก จ า น ว น ผู้ เ ข้ า ถึ ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ป็ น จ า น ว น ม า ก ส่งผลใหเ้ กดิ มีโอกาสในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ในดา้ นการพาณิชย์ได้ *ขอ้ มลู ข้างตน้ อ้างองิ จาก E-Commerce Foundation ปี 2016 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 14

15 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 16

รูปภาพจาก Yamato Transport 17 โครงการศนู ยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

ประเทศญปี่ ุ่น ประเทศญี่ปุ่น มีประชากรที่อายุมากกว่า 15 ปี จานวน 110.3 ล้านคน โดยมีบัญชีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจานวนทั้งสิ้น 100.3 ล้านบัญชี คิดเป็นร้อยละ 91 ของจานวนประชากร โดยมีจานวนผู้ซ้ือสินค้าออนไลน์ (e-Shoppers) จานวน 76.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 70 ของจานวน ประชากร มูลค่าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากปี 2555 – 2559 ในปี 2558 มูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ B2C เท่ากับ 114.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อัตราการเติบโตผลิตภัณฑ์ มวลรวมของประเทศ มีการขยายตัวร้อยละ 0.5 น้อยกว่าค่าเฉล่ียของทวีป เอเชยี แปซฟิ ิกและของโลก ประเทศญี่ปุ่น ได้รับจัดอันดับในระดับสากลที่เก่ียวข้องกับด้าน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พบว่า ศักยภาพทางด้านการขนส่ง (Logistic Performance Index) จัดอยู่ในลาดับท่ี 10 ของโลก และมีอันดับความ ยากง่ายในการประ กอ บธุรกิจ (Ease of Doing Business Index) จัดอยู่ในลาดับที่ 34 ของโลก และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศอยู่ในอันดับที่ 8 ของโลก ในปี 2559 ดังนั้น ด้านพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ มีศักยภาพทั้งด้านมูลค่า และการขนส่ง ซึ่งประชาชนจานวนมากสามารถเข้าถึงอินเทอ ร์เน็ต และยังเป็น ผู้ซ้ือสินค้าออนไลน์เป็นจานวนมากที่สุดประเทศหน่ึง โดยมีตลาดกลาง อิเล็กทรอนิกส์เด่นคือ Amazon, Rakuten เป็นต้น ด้วยจานวนผู้เข้าถึง อินเทอร์เน็ตมีเป็นจานวนมาก อีกท้ังระบบการชาระเงินมีรองรับการทา พาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนิกสอ์ ย่างครบวงจร ก่อให้เกิดการกระต้นุ การทาพาณิชย์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้ *ข้อมูลขา้ งต้นอ้างองิ จาก E-Commerce Foundation ปี 2016 โครงการศูนยด์ ิจิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 18

19 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 20

รูปภาพจาก www.retailnews.asia 21 โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ประเทศอนิ เดยี ประเทศอินเดีย มีประชากรที่อายุมากกว่า 15 ปี จานวน 942.6 ล้ า น ค น โ ด ย มี บั ญ ชี ผู้ ใ ช้ง า น อิ น เ ท อ ร์ เน็ ต จา น ว นทั้งสิ้น 254.5 ล้านบัญชี คิดเป็นร้อยละ 27 ของจานวนประชากร โดยมีจานวน ผู้ซ้ือสินค้าออนไลน์ (e-Shoppers) จานวน 82.3 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 9 ของจานวนประชากร มูลค่าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เติบโตข้ึนอย่าง ต่อเนื่องจากปี 2555 – 2559 ในปี 2558 มูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ B2C เท่ากับ 25.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่มีอัตราการเติบโต จากปีก่อนหน้าเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง อัตราการเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวม ของประเทศ มีการขยายตวั รอ้ ยละ 7.6 ประเทศอินเดีย ได้รับจัดอันดับในระดับสากลท่ีเก่ียวข้องกับ ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พบว่า ศักยภาพทางด้านการขนส่ง (Logistic Performance Index) จัดอยู่ในลาดับที่ 54 ของโลก และมีอันดับความ ยากง่ายในการ ประ กอ บ ธุรกิจ ( Ease of Doing Business Index) จัดอยู่ในลาดับที่ 130 ของโลก และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศอยู่ในอันดับที่ 32 ของโลก ในปี 2559 ดังน้ันด้านพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศอินเดยี มีศักยภาพทั้งด้านมูลค่า และการขนสง่ ท่ียังไม่สามารถสนับสนุนการขับเคลื่อนให้เกิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ อย่างเต็มท่ี โดยมีตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์เด่น คือ Flipkart, infibeam, Amazon, ebay, Myntra, Snapdeal เป็นต้น ประเทศอินเดียมีจุดเด่น ในด้านการทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทางานที่มีการ ซื้อเครื่องนุ่งห่ม และสินค้าทางด้านเทคโนโลยีจึงส่งผลให้เกิดมูลค่า และเกดิ การขบั เคลื่อนวงจรพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ *ขอ้ มูลขา้ งตน้ อา้ งอิงจาก E-Commerce Foundation ปี 2016 โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 22

23 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 24

รปู ภาพจาก Unsplash 25 โครงการศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ประเทศไทย ประเทศไทย มีประชากรจานวน 69.11 ล้านคน โดยมีบัญชี ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจานวนทั้งส้ิน 57 ล้านบัญชี* คิดเป็นร้อยละ 82.47 ของจานวนประชากร มูลค่าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เติบโตข้ึน อย่างต่อเนื่องจากปี 2557 – 2560 ซึ่งในปี 2560 มูลค่าพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ B2C เท่ากับ 28.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มีอัตราการเติบโตจากปีก่อนหน้าเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง จึงส่งผลให้อัตรา การเติบโตของผลิตภัณฑม์ วลรวมของประเทศ มีการขยายตวั ร้อยละ 1.9 ประเทศไทย ได้รับจัดอันดับในระดับสากลท่ีเกี่ยวข้องกับ ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พบว่า ศักยภาพทางด้านการขนส่ง (Logistic Performance Index) จัดอยู่ในลาดับที่ 45 ของโลก** และมีอันดับความ ยากง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business Index) จัดอยู่ ในลาดับที่ 46 ของโลก** ในปี 2559 ดังนั้น ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีศักยภาพในด้านมูลค่า แต่ยังต้องพัฒนาทางด้านการขนส่งและ การประกอบธุรกิจภายในประเทศ เพ่ือให้สามารถสนับสนุนการขับเคลือ่ น ใหเ้ กดิ พาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกสไ์ ดอ้ ย่างเต็มท่ี โดยมตี ลาดกลางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เ ด่ น คื อ Lazada, Shopee, 11 Street, Addpay, Thailandpostmart และ Lnwshop เป็นต้น ประเทศไทยมีลักษณะในด้านการทาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์โดยมกั จะซ้ือผ่านสอ่ื สังคมออนไลน์ มากกว่าบนแพลตฟอร์ม ที่ให้บริการ และนิยมเลือกการเก็บเงินปลายทางมากที่สุดเพ่ือเชื่อม่ันว่า ได้รับของจริง จึงต้องมีการพัฒนาและผลักดันพฤติกรรมให้เข้าสู่ระบบ ดจิ ิทัลทง้ั หมด เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ม่ี ีประสิทธภิ าพ *อา้ งองิ ขอ้ มลู จาก Hoot suite, We are Social 2018 Digital Yearbook ** อา้ งองิ ขอ้ มลู จาก World Bank ปี 2016 โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 26

ปัจจุบันในประเทศไทยมีการขับเคล่ือนจากหน่วยงานท่ีส่งเสริม ดา้ นพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ หลายระดบั โดยสรปุ เป็นกลมุ่ การขับเคลื่อนได้ ดงั ต่อไปนี้ การขับเคล่ือนระดับฐานราก คือ การสร้างให้ประชาชนเกิด อาชีพและการเรียนรู้ โดยมีหน่วยงานส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น ศูนย์ดิจิทัล ชุมชน สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมทางด้านเทคโนโลยี เพ่ือให้ผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์ กศน. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ส่งเสริมการเรียนรู้ การสร้างอาชีพในชุมชน เพื่อต่อ ยอดการผลิตให้จัดจาหน่ายได้ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พัฒนาและผลักดันผู้ประกอบการในพื้นที่ให้มีการผลิตสินค้าและเกิดเป็น สินค้าเอกลักษณ์ประจาตาบล พร้อมส่งเสริมช่องทางการจัดจาหน่าย ทง้ั ในรูปแบบกจิ กรรมและการค้าออนไลน์ การขับเคล่ือนระดับผู้ประกอบธุรกิจ เป็นการขับเคล่ือนและ ผลักดันให้ผู้ประกอบธุรกิจมีศักยภาพทางด้านการผลิต มีมาตรฐาน และเงินทุนที่จะเกิดเป็นอุตสาหกรรมต่อได้ในอนาคต โดยมี กรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ จดทะเบียนพาณิชย์และพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์เพ่ือสร้างความน่าเชื่อถือของร้านค้า และส่งเสริมการรับรู้ ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม พัฒนาและส่งเสริมกระบวนการผลิตเพื่อให้เป็นมาตรฐาน และการส่งเสรมิ การพฒั นาผลิตภณั ฑ์ต่างๆ 27 โครงการศูนย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

การขับเคล่ือนระดับประเทศ มีเป้าหมายในการพัฒนา ด้านมาตรฐานของสินค้าและอัตรากาลังในการผลิตท่ีสม่าเสมอ เพ่ือก้าวสู่ ระดับอุตสาหกรรม พร้อมที่จะผลิตให้เกิดการสอดคล้องกับความต้องการ ภายในประเทศ และส่งออกต่างประเทศ โดยกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ เสรมิ สร้างประสทิ ธิภาพการค้าภายในประเทศให้ดาเนิน ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ในการ ผลักดันการค้าระหว่างประเทศในเชิงรุก เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมสินค้าและ บริการอยา่ งตอ่ เนื่อง ดังน้ัน จึงนับได้ว่าประเทศไทยมีศักยภาพในการขับเคล่ือนด้าน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากองค์ประกอบตามห่วงโซ่อุปทาน และมี หน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการดาเนินการด้านต่างๆ โดยมีการบูรณาการ การส่งเสริมผู้ประกอบการให้ก้าวไปทีละระดับ เพ่ือเป็นการพัฒนาต้ังแต่ ผู้ประกอบการชุมชนให้สามารถเติบโต ก้าวสู่ระดับอุตสาหกรรมใน ระดับประเทศ ไดอ้ ยา่ งม่ันคงและยั่งยืน โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 28

29 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

ศูนย์ดจิ ิทัลชุมชน ส่งเสริมความร้รู ้านคา้ ออนไลน์ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ได้จัดต้ังขึ้นเพ่ือเป็นศูนย์ให้บริการและส่งเสริม การเรยี นร้แู ละการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีดจิ ิทลั ใหก้ ับประชาชนในพ้ืนท่ี โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และการส่งเสริม ทางด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชนและศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศมากถึง 2,280 ศูนย์ เพื่อพัฒนาศูนย์ ให้มีศักยภาพในการขับเคล่ือนและผลักดันผู้ประกอบการเข้าสู่ตลาด พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สร้างโอกาสในการซื้อขายสินค้า และการรับรู้ เรื่องราวของสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ในชุมชนท้องถิ่นของประเทศไทย สอดคล้องกับแนวโน้มการบริโภคของประชาชนท่ีมีการซื้อสินค้าผา่ นระบบ ออนไลน์มากยิ่งขึ้น โดยมีศูนย์ดิจิทัลชุมชนท่ีได้รับการคัดเลือกเป็น โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 30

ศูนย์บ่มเพาะและสนับสนุนการทาการค้าออนไลน์ในระดับชุมชน จานวน 300 ศูนย์ทั่วประเทศ พร้อมให้บริการในด้านต่างๆ เช่น การฝึกอบรมการ เปิดร้านค้าออนไลน์ การเปิดเป็นจุดแสดงและจัดจาหน่ายสินค้าชุมชน การให้บริการข้อมูลข่าวสารภาครัฐที่เป็นประโยชน์ด้านการค้าออนไลน์ การสนับสนุนการกระบวนการขนส่งและบรรจุ และการเป็นศูนย์ การเรยี นรู้ออนไลน์ในหัวข้อเรือ่ งตา่ งๆ ศู น ย์ ดิ จิ ทั ล ชุ ม ช น ท่ี เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร Village E-commerce มีทั้งหมด 300 ศูนย์ ครอบคลุม 67 จงั หวดั โดยอยภู่ ายใต้การดแู ลของหน่วยงาน และสถาบันตา่ งๆ ประกอบด้วย 1) หน่วยงานองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เช่น เทศบาล องค์การ บริหารส่วนอาเภอ และองค์การ บริหารสว่ นตาบล 2) สถาบันการศึกษา เช่น โรงเรียน และสถาบนั การศกึ ษานอกโรงเรียน 3) ชุมชน เช่น กลุ่มอาชีพ หรือการ รวมตัวกันของชุมชน โดยมีประชาชนในพ้ืนท่ีเป็นจิตอาสา ในการขับเคลือ่ นกิจกรรมภายในศนู ย์ 4) ศาสนสถาน ที่เป็นศูนย์กลางในการใช้ ประโยชน์ในพ้ืนท่ี อาทิ ศาลาวัด ห้องสอนศาสนา มสั ยิด 31 โครงการศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce

ซ่ึงนอกจากทางศูนย์ดิจิทัลชุมชนจะมีคอมพิวเตอร์ให้บริการ ประชาชนที่สนใจ ยังมีผู้ดูแลศูนย์ และวิทยากรอิสระที่ดาเนินการ เปน็ จิตอาสา โดยไดร้ บั การอบรมจากโครงการ ให้มีความรูค้ วามสามารถใน การถ่ายทอดความรู้ ไปสู่ผู้ประกอบการให้สามารถเป็นพ่อค้า แม่ค้า ออนไลน์ สรา้ งช่องทางการขายเพ่มิ รายไดใ้ หก้ ับตนเองได้ เ ป้ า ห ม า ย ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ให้กลุ่มเป้าหมายโครงการ กลุ่มต่างๆ ประกอบด้วย วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการชุมชน ผู้ประกอบการ OTOP และ SMEs ให้มีการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลในการทาธุรกิจ โดยมีการดาเนินการภายใต้ศูนย์บ่มเพาะ และสนับสนุนการค้าออนไลน์ในระดับชุมชน ที่กระจายท่ัวประเทศ ผู้ประกอบการชุมชนสามารถติดต่อศูนย์ให้บริการเพื่อขอคาแนะนา ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และบริการอื่นๆ ได้ตามรูปแบบการให้บริการ ของศูนย์ดิจิทลั ชุมชน โดยสามารถตรวจสอบตาแหนง่ ทตี่ ง้ั ศูนย์ได้ท่ีเว็บไซต์ ecommerce.onde.go.th โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 32

ผลติ ภัณฑ์ชุมชน 33 โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

บรกิ ารชมุ ชน ผลติ ภณั ฑ์/บรกิ ารในชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 34

ผลิตภณั ฑ/์ บริการในชมุ ชน ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ชุ ม ช น ท่ี เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร จ า ก ภู มิ ภ า ค ต่ า ง ๆ ทั่วประเทศ มีผลิตภัณฑ์และบริการที่มีอัตลักษณ์และมีความโดดเด่น ของสินค้า สามารถนาผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ มาทาการค้าในรูปแบบ การค้าออนไลน์ เพ่ือขยายตลาดไปยังกลุ่มเป้าหมาย สามารถรับรู้ และเข้าถงึ ได้ โดยมีการจดั เปน็ กลมุ่ สินค้าเดน่ ๆ ได้ดังต่อไปน้ี กลมุ่ สนิ คา้ /บริการ รายการสนิ คา้ ผ้าทอ-เส้ือผา้ - เคร่อื งแต่งกาย- ผ้าทอพื้นเมือง ผ้าไหม ผ้ามัดหมี่ ผ้าย้อมสี สนิ คา้ แฟชนั่ ธรรมชาติ ผ้าย้อมคราม ผ้าย้อมมูลควาย ผ้าทอ จากใยพืช ผ้าโสร่งปาเต๊ะ ผ้าคลุมฮิญาบ ชาเจ๊ะ เคร่ืองประดบั - ผ้าบาตกิ เป็นตน้ จวิ เวอร่ี เครือ่ งใชเ้ งนิ เช่น ขันเงนิ พานเงนิ สินค้าหัตถกรรม- เคร่ืองประดับเงิน เช่น สร้อยเงิน แหวนเงิน ไมแ้ กะสลกั - กาไลเงิน เคร่อื งประดบั จากไข่มุก เช่น สรอ้ ยมุก งานฝีมือ- แหวนมุก รวมถึงเครื่องประดับพวกเพชร ของตกแต่งบ้าน และพลอย เป็นตน้ ผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่จักสาน สินค้าแปรรูปจากกก ผลิตภัณฑ์จากเส่ือกก กระดาษสา ตะกร้าและ กระเป๋าจากเชือกพลาสติก แกะสลักไดโนเสาร์ ของตกแต่งจากไหมพรม ไม้กวาดดอกหญ้า ไม้กวาดทางมะพร้าว มีดเมืองโบราณ กระเป๋า แฟชั่น เครื่องจักสาน กระเป๋าผ้าลายลูกแก้ว เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา เครือ่ งป้นั เซรามิก เฟอร์นเิ จอร์ ไมส้ กั ของตกแต่งบ้านจากปีกไม้สกั เปน็ ตน้ 35 โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

กลมุ่ สินคา้ /บริการ รายการสนิ ค้า ผลิตภัณฑ์ความงาม- ลูกประคบสมนุไพร ใบหญ้าคารักษาโรค สมุนไพร-สปา สมุนไพรรักษาพิษงู เทียนหอม สมุนไพรเสริม ความงาม เช่น สบู่ ครีมพอกผิว แชมพู เซรัม ผลติ ภัณฑ์เสริมความงามจากธรรมชาติ เป็นตน้ ผลิตภัณฑ์อาหาร - ข้าวเม่า ผักปลอดสารพิษ ข้าวหอมมะลิ หม่าวัว อาหารแปรรูป- เห็ดภูฐานดา พืชผัก ชาผักหวานป่า มะม่วง สนิ คา้ เกษตร ต้นทานตะวันอ่อน ข้าวโป่ง ผลไม้ พริก ปลาส้ม ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ มันสาปะหลัง เสาวรส หม่อนมัลเบอร์รี กล้วยฉาบ ข้าวอินทรีย์ ข้าวฮางอก ไวน์หมากเม่า หน่อไม้ ปลานิลแห้ง ไข่เค็ม แหนมเนือง ขนมดงเดียว ต้นไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ เงาะ ทุเรียน ส้มโอทับทิม สยาม ปลาแก้วตากแห้ง ปลาร้าแจ่วบอง แกงไตปลาแห้ง เปน็ ต้น ท่องเทีย่ วและบรกิ าร ถ้าแก่งละหว้า บา้ นแหลมโฮมสเตย์ เปน็ ต้น โครงการศูนยด์ ิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 36

1. กลมุ่ ผา้ ทอ-เสื้อผ้า-เครอ่ื งแตง่ กาย-สินคา้ แฟชน่ั ผ้าไหม เป็นสินค้าที่มีความโดดเด่นของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ซ่ึงมีการเล้ียงตัวไหมและนามาถักทอเส้นใยกลายเป็นผ้าไหม เพื่อนามา ประยุกต์ทาเป็นเครื่องนุ่งห่ม อีกท้ังยังเป็นสินค้าที่สร้างมูลค่าและรายได้ ใหแ้ กผ่ ู้ประกอบการไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ผ้าคลุมฮิญาบ เป็นสินค้าสาหรับชาวมุสลิม มีการจาหน่ายมาก ในภาคใต้ เน่ืองจากเป็นผ้าคลุมศีรษะของผู้หญิงมุสลิม ซึ่งศาสนาอิสลาม ระบุให้ผู้หญิงสวมผ้าคลุมผมจนปิดหน้าอก เพื่อเป็นการปกปิดร่างกายให้ มิดชดิ แสดงถึงการสารวม 37 โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce

2. เคร่ืองประดับ-จิวเวอร่ี เครอื่ งเงิน เคร่อื งเงินถือเปน็ งานหัตถกรรมอยา่ งหนง่ึ ท่ีพบทุกภาค ท่ัวประเทศไทย แต่ภาคเหนือนิยมนามาทาเป็นเครื่องประดับมากท่ีสุด ไม่ว่าจะเป็น อาทิ สร้อย แหวน กาไล ปิ่นปักผม และของใช้ ในชีวิตประจาวัน อาทิ ขนั น้า กระเป๋า เข็มขัด เป็นต้น เคร่ืองประดับพลอย พลอยของประเทศไทยถือเป็นสินค้าท่ีได้รับ ความนยิ มจากต่างประเทศเป็นจานวนมาก โดยมีแหลง่ ผลติ พลอยจากภาค ตะวันออก ด้วยมีแหล่งแร่ท่ีดี และผู้ผลิตท่ีมีฝีมือความประณีตได้รับ มาตรฐานโลก โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 38

3. สนิ ค้าหตั ถกรรม-ไมแ้ กะสลกั -งานฝีมือ-ของตกแตง่ บา้ น เคร่ืองจักสาน มีการนาเอาวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่นมาประยุกต์ รวมกับภูมิปัญญา จากภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยมีวัสดุ ในการจัดทาเป็นจานวนมาก สามารถสร้างสรรค์เป็นของใช้ท่ีสร้างมูลค่า ให้แก่ประชาชนในพ้ืนที่ โดยสามารถนามาประยุกต์เป็นของใช้ อาทิ ที่นง่ึ ขา้ ว ตะกรา้ ใส่ของ กระเปา๋ และเฟอรน์ ิเจอรจ์ กั สาน เป็นตน้ งานแกะสลักจากไม้ ในภาคเหนือมีการนาไม้มาแกะสลัก เพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ โดยใช้จินตนาการและฝีมือของช่างไม้ เป็นผู้สรา้ งสรรค์ โดยสามารถสรา้ งมูลค่าใหก้ บั ช้นิ งานได้อย่างมหาศาล 39 โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce

4. ผลิตภณั ฑ์ความงาม-สมุนไพร-สปา ลูกประคบสมุนไพร หน่ึงในภูมิปัญญาของประเทศไทย มีทุกภูมิภาค มักใชใ้ นชุมชนเพ่ือรักษาอาการเจ็บปวด เคล็ดขดั ยอก โดยอาศยั ความร้อน และคุณสมบัตสิ มุนไพร ทาให้บรรเทาอาการดขี ้นึ เทียนหอม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยเน้นทางด้านความผอ่ นคลาย โดยการ นาเอาน้ามันหอมระเหยมาใส่รวมกับไขผ้ึง เมื่อจุดไฟแล้วสามารถสร้าง ความรู้สึกผ่อนคลายได้เป็นอย่างดี โดยมีการจัดทาทุกภูมิภาคตามรูปแบบ ของตนเอง โครงการศนู ยด์ ิจทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 40

5. ผลิตภณั ฑ์อาหาร-อาหารแปรรปู -สนิ คา้ เกษตร ข้าวอินทรีย์ ปัจจุบันเกษตรกรไทยนิยมผลิตข้าวอินทรีย์ (Organic Rice) จานวนมากข้ึน มีการเพาะปลูกในภาคกลาง และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีคุณค่าท่ีดีต่อร่างกาย อีกทั้งเกษตรกรสามารถ ลดต้นทนุ การใชส้ ารเคมี และเพิ่มมลู คา่ ราคาให้แก่เกษตรกรได้ ส้มโอทับทิมสยาม เป็นพันธุ์ของส้มโอท่ีขึ้นชื่อในภาคใต้ จังหวัด นครศรธี รรมราช เนื่องจากพื้นที่สว่ นใหญ่เปน็ ดินเหนียว อยใู่ กล้ป่าชายเลน ผสานกับส้มโอท่ีเป็นพืชทนเค็มได้เปน็ อย่างดี รวมถึงมีสีของเนอื้ เปน็ สชี มพู และมรี สชาตหิ วาน จึงส่งผลให้สม้ โอพันธ์ทุ บั ทมิ สยามเป็นท่ีนิยม 41 โครงการศูนยด์ จิ ทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce

6. ทอ่ งเทย่ี วและบรกิ าร ท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ เป็นบริการท่ีนารูปแบบการใช้ชีวิต ของชุมชน มาเปิดให้นักท่องเท่ียวเรียนรู้กิจกรรมต่างๆ โดยให้คนในชุมชน เป็นคนบริหารจัดการ ตามศักยภาพ ความพร้อมของชุมชน สร้างเป็น การท่องเที่ยวในชุมชน ก่อให้เกิดรายได้เสริมเพ่ือสนับสนุนรายได้หลัก ของประชาชนในพื้นท่ี โดยมีการดาเนินการทุกภูมิภาคของประเทศไทย เชน่ เท่ียวป่าชายเลน ศูนย์อนรุ กั ษ์ชา้ ง ทาฝาย แปลงเกษตร เป็นตน้ ดังน้ัน ไม่ว่าผู้ประกอบการชุมชนจะมีสินค้าชนิดใด ก็สามารถ ทาการค้าออนไลน์ได้ท้ังสิ้น เพียงแค่ดึงจุดเด่นของผลิตภัณฑ์และบริการ นาเสนอในรูปแบบสื่อ และการเล่าเร่ืองให้ผู้บริโภคเห็น จะช่วยให้มี ช่องทางการจัดจาหน่ายมากยิ่งข้ึน และเพ่ิมโอกาสในการสร้างรายได้เสริม ใหก้ บั ผู้ประกอบการไดม้ ากขน้ึ อีกด้วย โครงการศูนย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook