Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore HappyEasy

HappyEasy

Description: HappyEasy

Search

Read the Text Version

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ฉ บั บ ข ย า ย ค ว า ม พระมหาวเิ ชยี ร ชนิ วโํ ส

ฉสบขุ งั าบยๆข แยคาป ยลคายวจมากู ม โครงการผลติ หนงั สอื ธรรมะเพอื่ การเจรญิ สติ ISBN : ๙๗๘-๙๗๔-๐๙-๖๕๔๔-๒ พมิ พค รง้ั ท่ี ๔ : พฤษภาคม ๒๕๕๒ จำนวนพมิ พ : ๕,๐๐๐ เลม ออกแบบรปู เลม : พชรชน ภาพปก-ภาพประกอบ : นาตยา คำสวา ง พสิ จู นอ กั ษร : ปารชิ าติ เนตรแกว สามารถ เออ้ื มเกบ็ ตดิ ตอ -ประสานงาน : ผศ.ทพิ ยส ดุ า อนิ ทะพนั ธุ สมจติ ร คำมนิ เสก เจา ของ : กองทุนจิตภาวนาชินวงส วดั วงั หนิ ต.พลายชมุ พล อ.เมอื ง จ.พษิ ณโุ ลก พมิ พท ี่ : โฟกสั มาสเตอรพ รนิ้ ต ๑/๒๐ ถ.บรมไตรโลกนารถ อ.เมอื ง จ.พษิ ณโุ ลก โทร.๐๕๕-๒๒๕๐๓๗ Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบง่ ปนั เปน็ ธรรมทาน

อนโุ มทนาบญุ หากทานใด คณะใด มีความประสงคจะพิมพ เผยแผเปนธรรมบรรณาการ โดยไมเรียกรองคาตอบแทน ก็ใหกระทำไดโดยไมตองขออนุญาต และโปรดติดตอ กบั โรงพมิ พโ ดยตรง แตห ากมกี ารจำหนา ยขอสงวนสทิ ธิ์ ขอบุญบารมี กุศลความดีท้ังปวงและความเปน มหามงคลอันสูงสุดท้ังทางโลกและทางธรรม จงบังเกิด มแี กผ บู รจิ าคทรพั ย และผมู สี ว นรว มในการจดั พมิ พห นงั สอื “สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ฉบบั ขยายความ” ฉบบั พมิ พ ครง้ั ที่ ๔ และผทู ก่ี ำลงั เดนิ ทางไปสคู วามพน ทกุ ขท กุ ทา น

คำนำ แมหนังสือเลมนี้ จะพิมพเผยแผแจกจายไปกวา สองหมื่นเลมแลว ก็ยังมีผูสนใจไถถามตองการนำไป แจกจายแกญาติมิตรอยูอยางไมขาดสาย อาจเรียกไดวา เปน หนงั สอื ตดิ อนั ดบั แจกดี ของฟรรี บั ไวก อ น จะอา นหรอื ไม คอ ยวา กนั อกี ที ผูเขียนก็ยังคงต้ังใจอยูเชนเดิมวาจะไมยอมพิมพ หนงั สอื ขาย เพราะธรรมะของพระพทุ ธเจา มคี ณุ คา มหาศาล เกนิ กวา สงิ่ ทส่ี มมตุ กิ นั วา เงนิ มากนกั หากมผี อู า นสกั คนหนงึ่ หันมาฝกจิตตามแนวทางที่ไดเขียนไวนี้ จนพาตนเอง ใหพ น ทกุ ขไ ดก เ็ กนิ คมุ แลว อานแลวลองฝกดูบาง ขอเพียงอดทนหนอย พยายามอกี นดิ ชวี ติ ยอ มดขี นึ้ กวา เดมิ แนน อน ดว ยการณุ ยธรรม พระมหาวเิ ชยี ร ชนิ วโํ ส พฤษภาคม ๒๕๕๒

ขอนอมถวายแด พอแมครูอาจารยของศิษย

สารบญั บนเสนทางสังสารวัฏ ๒ ปรบั ใจกอ นการเจรญิ สติ ๑๐ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ๑๘ เทคนคิ การเจรญิ สตแิ บบงา ย ๆ ๔๔ ธรรมชาติสอนธรรม ๖๔ ไดเ มอื่ ไมเ อา ๗๔ ฝากไวใ หค ดิ ๘๒ เสนทางสรางบุญ ๙๐

๑ บนเสน ทางสงั สารวฏั วนเวียนเวียนวน ชีวิตสับสน บนความมัวเมา รตู วั รตู น หมดความสับสน พนความมัวเมา

บนเสนทาง สงั สารวฏั

๓ บนเสนทางสังสารวัฏ ตามรอยบาทพระบรมครู หากแสนลา แสนหนักพักเสียบาง คอ ยปลอ ยวางตงั้ จติ หยดุ คดิ ถงึ ฟงบทเพลงชีวิตอันติดตรึง เกลยี ด..โกรธขงึ้ ..หลงผดิ ..ตดิ สงิ่ ใด เพยี งรปู นาม..ตามปรมตั ถสจั จะ เพยี งอายตนะ..สืบตออนุสัย เพียงขันธหา..ปรากฏตามเหตุปจจัย เกิด..ตั้งอยู..ดับไป..ใชบังเอิญ หลงตดิ เหยอ่ื โลกไปทำไมกนั อยาก..ยดึ มนั่ ..ลาภ-ยศ-สขุ -สรรเสรญิ ด่ังหาแกน ตนกลว ย...ปว ยการเกิน มัวหลงเพลินความวางเปลา..เขลาสิ้นดี เชญิ เถดิ เพอื่ นเยอื นแดนธรรมอนั ลำ้ คา สมู รรคาแหง ธรรมนำวถิ ี ตามรอยบาทพระบรมครผู ปู ราณี เพื่อชีวีอิสระละบวงมาร ชนิ วงส

คนสว นมากคดิ วา มกี ารศกึ ษาสงู มที รพั ย สมบัติมาก มีครอบครัวท่ีสมบูรณ มีสุขภาพ แข็งแรง และมีเกียรติยศชื่อเสียง จึงจะพบกับ ความสขุ หารไู มว า กำลงั จมอยกู บั อดตี หรอื ตดิ อยู กบั อนาคต เพราะชวี ติ ทส่ี มบรู ณแ บบอยา งนนั้ ไม เคยมี หรอื ถา จะพดู กนั อกี แงห นงึ่ แลว เปา หมาย ชวี ติ ทางโลกทเี่ ราทกุ คนใฝฝ น ถงึ นน้ั ไมเ คยมใี คร เดนิ ถงึ เพราะความตอ งการของมนษุ ยน น้ั ไมเ คย ยตุ ิ เปลย่ี นแปลงอยตู ลอดเวลา ถมเทา ไรไมร จู กั เตม็

๕ บนเสนทางสังสารวัฏ ตามความเปนจริงของชีวิตน้ัน สุขและ ทกุ ขท ท่ี กุ คนกำลงั ประสบอยู เปน เพยี งสง่ิ ชวั่ คราว บนเสน ทางสายสงั สารวฏั นี้ มสี ามชี วั่ คราว มภี รรยา ชว่ั คราว มบี ตุ รธดิ าชว่ั คราว มที รพั ยส มบตั ชิ ว่ั คราว แลว กพ็ ลดั พรากจากกนั ไป เมอื่ เกดิ ในภพชาตใิ หม ก็พากันแสวงหาสุขชั่วคราวและทุกขช่ัวคราวอยู ร่ำไป และยึดเอาส่ิงเหลานั้นวาเปนของตนเอง เกดิ แลว ตายตายแลว เกดิ จำเจซ้ำซากอยา งนา อดึ อดั ระอา ไมร วู า จะหาทางออกจากกบั ดกั คอื การเวยี น วา ยตายเกดิ นไ้ี ดอ ยา งไร ส่ิงที่เปนของเราจริงๆ คือปจจุบันขณะ ซ่ึงไมใชวินาทีหนึ่งดวยซำ้ ไป แตปจจุบันขณะ นนั้ เกดิ และดบั ไปอยา งรวดเรว็ มาก จนทำไดเ พยี ง อยางเดียวเทาน้ันคือ“รู” เพราะกอนหนานี้หน่ึง ขณะจติ กด็ บั ไปแลว หลงั จากนอี้ กี หนง่ึ ขณะจติ กย็ งั ไมเกิดข้ึน

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๖ ความเปนจริงท่ีทารุณตอความรูสึกของ คนทไี่ มเ คยฝก จติ กค็ อื “ตวั เรา-ของเรา” ทแี่ ทจ รงิ น้ันไมมี มีแตเพียงความยึดมั่นถือมั่นในกายใจ หรือรูปนามน้ีวาเปนตัวเรา-ของเราเทานั้น วัตถุที่ ทุกคนแสวงหาในทางโลกทั้งหมด จึงเปนเพียง ความสญู เปลา เทา นน้ั เอง เคยสังเกตใจตนเองบางไหมวา เบอื่ ไดท งั้ วนั แตไมร ูว า เบอื่ อะไร เครียดไดท้ังวัน วุนวายไดทั้งวัน หมดทั้ง พลงั ทางกายและใจแตไ มรตู วั วา เครยี ดอะไร ฟุงซานไดทัง้ วนั ก็ไมร ตู ัววา ฟุง จมอยูกับอดีตเชน ซึม เศรา เหงา แฮงค ไดท ้งั วันแตไมร ูตัว คดิ วนเวยี นซ้ำซากกบั เรอ่ื งเดมิ ๆ และทกุ ข กบั มนั ไดท งั้ วนั โดยไมร ตู วั

๗ บนเสนทางสังสารวัฏ อานหนังสือไปคร่ึงหนาแลว แตไมรูวา อานอะไร หรอื ทานอาหารมอื้ นน้ั จนอมิ่ แปรแ ลว แต ไมร ูวาทานอะไรเขาไปบางฯลฯ ชีวิตของคนสวนมาก จึงตกอยูภายใต อำนาจของความไมรูอยูตลอดเวลา แตหลงเขาใจ ผดิ คดิ วา ตนเองมสี ตริ ตู วั อยู ฉะน้ันชีวิตท่ีแทจริง คือชีวิตท่ีรูอยูกับ ปจจุบันขณะ และคนท่ีมีชีวิตอยูกับปจจุบันขณะ ไดน้ัน คือคนท่ีมีสติรูเทาทันปจจุบันอารมณตาม ความเปน จรงิ อยเู นอื งๆ นน่ั เอง อาจกลา วไดว า ที่ มนุษยจมอยูกับความทุกข ก็เพราะความไมรูใน ปจจุบันขณะนั่นเอง ทำอยา งไรหนอ ทกุ คนจงึ จะเลกิ เดนิ วนอยู ในเขาวงกต ต่ืนข้ึนมาจากฝนกลางวันและมีชีวิต อยกู บั ปจ จบุ นั ขณะใหม ากขนึ้

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๘ พระพุทธเจาทรงสละชีวิตของพระองคท้ัง ชีวิตทดลอง, ศึกษา, ปฏิบัติและสัมผัสผลแหง ความสขุ ถาวร อนั เกดิ จากการรปู จ จบุ นั ขณะ แลว นำมาส่ังสอนแนะนำมนุษย ใหหลุดพนจากเขา วงกตแหงสังสารวัฏมานานกวา ๒๕๐๐ ปแลว และคำสอนเหลาน้ันก็ยังเปนสัจธรรมที่เราทุกคน สามารถพสิ จู นไ ดจ นถงึ วนั น้ี ส่ิงนั้นก็คือการมีสติสัมปชัญญะ“รู”กาย และใจน้ี อันเปนคัมภีรแหงความพนทุกข ซ่ึงแต ละคนแบกคัมภีรเลมนี้กันมาหลายภพหลายชาติ แลว แตไ มเ คยเปด อา นกนั เสยี ที

๙ ปรับใจกอนการเจริญสติ ปรบั เอย ...ปรบั ใจ เรยี นรสู งิ่ ใหม ตามความเปน จรงิ ละสงิ่ สมมติ หยดุ ดรู ยู งิ่ จงึ เหน็ สรรพสง่ิ คอื หนงึ่ เดยี ว...เอย

ปรบั ใจ กอ นการเจรญิ สติ

๑๑ ปรับใจกอนการเจริญสติ นำ้ คา ง หยดนำ้ คา ง ดพู รา งพราว ระยับวาว ระยบิ ไหว สดุ มลงั ..พงั มลาย วะวาบไหว วอดวายวับ รงุ ฤดี พอรอ นแรง ระเหดิ แหง ระเหยกลบั แลวกล่ันเปน เชน พยบั สลายกลับ เกาะก่ิงไกว ประหนงึ่ เปน เชน สงั สาร- วฏั ฏะวาร วนเวยี นวา ย มนษุ ยเ อย ผเู วไนยฯ อยา เยอ่ื ใย จนใจยบั ชินวงส

ผฝู ก เจรญิ สติ มกั มชี อื่ เรยี กตา งๆ กนั ไปเชน โยคี นกั ปฏบิ ตั ธิ รรม ธรรมจารณิ ี ญาตธิ รรมฯลฯ และมีชื่อเรียกวิธีการเจริญสตินั้นวา สติปฏฐาน, สมถกรรมฐาน, วิปสสนากรรมฐาน, จิตภาวนา, การเจรญิ ภาวนาฯลฯแลว แตจ ะเรยี กกนั ไป และมเี พ่อื นนักปฏบิ ตั หิ ลายคนตางยกยอ ง สำนกั ปฏบิ ตั ขิ องตนหรอื ยกยอ งอาจารยข องตนวา สอนถกู ตอ ง สว นสำนกั อนื่ หรอื อาจารยท า นอน่ื ๆ สอนผิด

๑๓ ปรับใจกอนการเจริญสติ บางก็วาสำนักโนนสอนแคสมถะ สำนัก น้ีสอนวิปสสนา คนโนนติดอยูแคสมถะ คนนี้จึง จะชอ่ื วา ปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนาฯลฯ แทจริงแลวในพระไตรปฎกเองไมไดแยก สมถะและวปิ ส สนาออกจากกนั ทา นเรยี กรวมกนั วา วิปสสนาธุระ สมถะกรรมฐานและวิปสสนา กรรมฐานจงึ เปน ของคกู นั ไมส มควรเปน อยา งยง่ิ ทจ่ี ะแยกออกจากกนั และขดั แยง กนั ในเรอ่ื งนี้ เพราะบางคนตองเร่ิมจากการเจริญสมถะ (ใจสงบ) ปูพื้นฐานใจใหมั่นคงเสียกอน แลวจึง ยกขนึ้ สวู ปิ ส สนา (กเิ ลสสยบ) ทำใหก ารปฏบิ ตั ไิ ม แหงแลงเกินไปนัก แตบางคนเริ่มตนจากวิปสสนากอน มี ปญญารูความเกิดดับของรูปนาม พอใจเหน่ือยลา แลวก็จะเขาไปพักในสมถะเปนสุขวิหารธรรม (ธรรมเปน เครอื่ งอยขู องใจอนั เปน สขุ ) พอมกี ำลงั

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๑๔ แลว ใจจงึ จะออกมารบั รรู ปู นามตอ ไป เอาเปน วา สงิ่ ทเ่ี ราปฏบิ ตั อิ ยนู ้ี จะเปน สมถะ หรือวิปสสนาก็ชางเถิด ตองถามตนเองวา เริ่มลง มอื ปฏบิ ตั แิ ลว หรอื ยงั มวั เมาหมกมนุ ในโลกยี วสิ ยั อยางเต็มที่ แลวยังเยาะหยันผูปฏิบัติวางมงายอยู เทาน้ัน ไมวาจะเปนสมถะหรือวิปสสนาก็ตาม ก็ลวนตองมีสติสัมปชัญญะคือมี “ความรูสึกตัว” อยดู ว ยเสมอ หากใครสงบนง่ิ ดงิ่ ลกึ แลว ไมร อู ะไร เลยนนั้ เขาเรยี กวา สมาธหิ วั ตอ และการฝกเจริญสตินั้น ตางจากการทำ การงานทางโลก ทท่ี กุ คนพงึ หวงั ผลประโยชนอ นั สมควรแกตนได แตการเจริญสตินั้นหากใคร คดิ วา จะทำ... เพื่อใหใจสงบ เพื่อใหคลายเครียด

๑๕ ปรับใจกอนการเจริญสติ เพอื่ จะไดเ รยี นเกง เพอื่ จะไดใ บหนา ผอ งใส สวยมากกวา เดมิ เพ่ือจะไดหายจากโรคภัยไขเจ็บตางๆ ท่ี กำลังเปนอยู เพ่ือลดความอวน ไมตองเปลืองสตางค ไปเขาคอรสลดความอวนตามท่ีตางๆ เพ่ือจะไดเปนผูวิเศษ มีหูทิพย ตาทิพย หรอื รใู จ รคู วามคดิ ผอู น่ื หรือแมแตเพ่ือจะละกิเลส ถอดถอน อาสวะ เพอ่ื ประจกั ษแ จง พระนพิ พาน แคคิดก็ผิดแลว! เพราะหากตั้งใจ,พยายาม หรืออยากได อยากดเี กนิ ไป กจ็ ะทำไปดว ยอำนาจของความโลภ แมจ ะเปน ความโลภในทางทด่ี อี ยา งนก้ี ไ็ มค วร ในการฝก เจรญิ สตนิ น้ั ตอ ง ไมเ อา ไมห วงั ไมเ ปน ใดๆ ทง้ั นนั้ ดจุ ดงั พทุ ธพจนท วี่ า

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๑๖ “สัพเพ ธัมมานาลัง อะภินิเวสายะ. ธรรมทง้ั หลายทง้ั ปวง ไมค วรยดึ มนั่ ถอื มนั่ ” เม่ือปรับใจไดถูกตองเชนนี้แลว ใจจะ คอ ยๆ ปลอ ยวางความยดึ มน่ั ถอื มนั่ ในรปู นามนว้ี า เปน เราไปเรอ่ื ยๆ เอง เพราะแทจ รงิ แลว ไมม เี ราท่ี จะละหรอื วางอะไรใดๆ ทง้ั สน้ิ

๑๗ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ไมเ ผลอ ไมเ พง ไมเ พยี ร ไมพ กั ไมห นี ไมส ู ไมอ ยู ไมถ อย ไมค อย ไมต าม ไมท ำอะไร ... แ ค รู ...

เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ

๑๙ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ใบไม ลมพดั ระบดั ใบ ใบไหวๆ ไกวโบกโบย พราวแสงตะวนั โรย จงึ หลน โปรยอยเู รยี งราย วนั วานยงั สดใส ถงึ วนั ใหมไ ยหลน หาย ลวงลับและกลับกลาย เปน เกลอื่ นกลบซบธลุ ี รว งหลน คอื รเิ รมิ่ ชว ยเพมิ่ เตมิ โลกสดสี หลอ เลย้ี งสรรพชวี ี เออื้ โลกนใี้ หง ดงาม ชินวงส

หนงั สอื เลม นี้ ตอ งการสอื่ กบั ผไู มม คี วามรู ทางธรรมะมากนกั จงึ ไมไ ดย กเอาขอ มลู จากคมั ภรี  เลมใดมาอางอิง สิ่งท่ีนำมาเขียนตอไปน้ี เกิดจาก ประสบการณตรง เปนเคล็ด(ไม)ลับ งายตอการ ปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ คอื ๑. รปู จ จบุ นั อารมณต ามความเปน จรงิ ๒. ไมต ดั สนิ อารมณว า ดหี รอื ไมด ี ๓. ไมจ ำเปน วา จติ ตอ งสงบ ๔. ไมค ดิ ตอ ไมเ ลน กบั ความคดิ ๕. อารมณไ หนชดั รอู ารมณน น้ั ๖. “มนั ไมแ น” คาถาแกท กุ ข

๒๑ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ๑.รูปจจุบันอารมณตามความเปนจริง ปจ จบุ นั อารมณ คอื ... “รูปหรือสีตาง ๆ” ท่ีสวยหรือนาเกลียด ซง่ึ กระทบกบั ตาในขณะนนั้ , “เสยี ง” อนั ไพเราะหรอื บาดหู ทด่ี งั กระทบ กับหูในขณะนั้น, “กลิ่น” หอม,เหม็นที่โชยมากระทบกับ จมูกในขณะนั้น, “รส” อรอ ยหรอื จดื ชดื ทก่ี ระทบกบั ลนิ้ ใน ขณะน้ัน,

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๒๒ “ความเยน็ ความรอ น ความนม่ิ นวล ความ หยาบกระดา งทเี่ รยี กวา สมั ผสั ” ซง่ึ กระทบกบั กาย ในขณะนั้น, และ “ความนึก, ความคิด, ความฟุงซาน, ความปรุงแตง ท่ีเรียกวาธรรมารมณ” ที่เกิดขึ้น กระทบกบั ใจในขณะนน้ั อายตนะภายในคอื ตา หู จมกู ลน้ิ กายและ ใจทั้ง ๖ ประการอันรับรูปจจุบันอารมณ คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณนี่แหละ คอื วปิ ส สนาจารยต วั จรงิ ระวงั อยา สง ใจออกนอก และอยา แชน ง่ิ อยภู ายใน เพราะกเิ ลสเกดิ ทใ่ี จนเี่ อง สงใจออกนอกก็คือการปลอยใหใจคิดฟุง ปรุงแตงไปเรื่อยเปอย หรือเพลินกับส่ิงที่เห็น, ไดย นิ ฯลฯโดย“ไมร ”ู ความคดิ ,การเหน็ , การไดย นิ ฯลฯน้ัน ใจแชน ง่ิ อยภู ายใน กค็ อื ใจทขี่ ม , เพง หรอื

๒๓ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ เพลดิ เพลนิ ตดิ อยกู บั ความสงบ, กบั นมิ ติ หรอื กงั วล อยกู บั ทกุ ขเวทนาทเี่ กดิ ขน้ึ โดยไมร บั รอู ารมณอ น่ื ๆ ที่เขามากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ในปจ จบุ นั ขณะนนั้ สง่ิ ทตี่ อ งระวงั อยา งยง่ิ กค็ อื ตอ งรอู ยา งเปน ธรรมชาติหรือรูใหเบาๆ สบายๆ อยาบังคับ “รู”, ตงั้ ใจ, หรอื พยายามมากเกนิ ไป จนกลายเปน “เพง ” อารมณโดยไมตั้งใจ หรือแมแตการบังคับจิตให วาง ใหหยุดคิด หรือใหหยุดฟุงซานก็ลวนแตผิด ทง้ั สน้ิ ขอเพยี งรอู ารมณต ามความเปน จรงิ ทกี่ ำลงั เกดิ ขนึ้ อยเู ทา นน้ั ระวงั ..อวชิ ชากค็ อื รู แตร ตู ามทเ่ี ราอยากให มนั เปน กค็ อื หลงวา รู แต “วชิ ชา” ของพระพทุ ธเจา น้ัน ตองรูตามความเปนจริงเทาน้ัน ก็คือรูวาหลง นั่นเอง จงสังเกตตนเองเถิดวา“รูเนืองๆ อยาง

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๒๔ แทจ รงิ ” หรอื ไม เชน ... รวู า เหน็ โดยไมส นใจวา เหน็ อะไร รวู า ไดย นิ โดยไมม น่ั หมายวา ไดย นิ เสยี ง อะไร รวู า ฟงุ โดยไมต อ งใสใ จวา ฟงุ เรอ่ื งอะไร รวู า คดิ โดยไมต อ งตามรวู า คดิ เรอ่ื งอะไร รูวาหงุดหงิด โดยไมตองคนหาสาเหตุวา หงุดหงิดเรื่องอะไร รูวาใจมีความสุข โดยไมตองสนใจวาสุข เรื่องอะไรฯลฯ รวู า รแู ลว กว็ างลง ไมแ บกยดึ รนู นั้ ไว หรือแมแต ไมรูอะไรเลย ก็รูวาไมรู เทา นนั้ อาการอยางน้ีเรียกวา สักวาเห็น สักวา ไดยิน สักวาคิด สักแตวารู ซึ่งเปนการเริ่มตน การ“ร”ู อยา งถกู ตอ งแลว

๒๕ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ๒. ไมต ดั สนิ อารมณว า ดหี รอื ไมด ี โดยปกติของมนุษยทั่วไป มักชอบตัดสิน ทกุ อยา งทเ่ี หน็ ทไี่ ดย นิ ทร่ี ู วา ดหี รอื ไมด อี ยเู สมอ และทุกคร้ังที่ตัดสิน ก็มักตัดสินไปตาม ความเชอื่ ความเหน็ ของตน ตามทตี่ น ไดย นิ ไดฟ ง ไดเ รยี นรศู กึ ษามา ซงึ่ ไมจ ำเปน วา ตอ งถกู เสมอไป เพราะในเร่ืองเดียวกันหากไปถามคนอ่ืน เขาอาจ คดิ หรอื ตดั สนิ ไมเ หมอื นเรากไ็ ด

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๒๖ กะลาของอปุ าทานทค่ี รอบงำจติ ใจเราคอื ก. การตดิ อยใู นกามคณุ (กามปุ าทาน) เชน ตอ งปฏบิ ตั ทิ ส่ี ำนกั โนน จงึ ดี ตอ งเดนิ จงกรมอยา งนี้ จงึ ถกู , ตอ งบรกิ รรมอยา งนถ้ี งึ จะใชไ ด ข. ความเหน็ ความเชอื่ (ทฏิ ปุ าทาน) ตาม ทไี่ ดเ รยี นรมู า หรอื การคดิ ตคี วามของตนเองบา ง ค. ความยึดถือในขอปฏิบัติ ระเบียบ แบบแผน ประเพณี วฒั นธรรม (สลี พั พตปุ าทาน) ตามทต่ี นคุนชินบาง ง. และโดยเฉพาะอปุ าทานคอื ความ ยดึ มนั่ วา มี “ตวั เรา-ของเรา” (อตั ตวาทปุ าทาน) นแ่ี หละ เปนกะลาที่นากลัวท่ีสุด เพราะครอบงำปญญา ทค่ี วรจะเกดิ ไมใ หเ กดิ ได ภาษานักปฏิบัติธรรมทานเรียกวา“สัญญา เกา” ท่ีครอบงำสรรพสัตวท้ังหลายใหหลงติดอยู คอยตัดสินตนเองและคนรอบขางอยูตลอดเวลา

๒๗ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ยิ่งเปนการเจริญสติดวยแลว ย่ิงตองไม ตดั สนิ ไมเ ปรยี บเทยี บสภาวะทเี่ กดิ ขน้ึ กบั กายและ ใจในขณะน้ัน มิเชนน้ันจะเปนการเปดทางให อุปาทานเขามาบงการใจทันที เพราะการเจริญสตินี้ เพ่ือใหละสิ่งท่ีเปน ทวภิ าวะเหลา นี้ เชน .. บุญและบาป ถาตองการบุญก็ยังมีบาป เปน ของคกู นั ดแี ละชวั่ ถา ตอ งการดี จติ กพ็ รอ มจะใฝช ว่ั ถกู และผดิ เพราะถา ตอ งการถกู กย็ งั มผี ดิ เปนเคร่ืองวัด ชอบและชงั เพราะชอบกบั ชงั คกู นั เสมอ สงบและฟุงซาน เพราะหากตองการ ความสงบ กย็ งั มคี วามฟงุ ซา นเปน เสน ขนาน ยึดม่ันและปลอยวาง หากยังตองการ ปลอ ยวาง กย็ งั ยดึ มนั่ ในความไมย ดึ มน่ั นน่ั แหละ

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๒๘ และที่สำคัญก็คือเหตุและผล เพราะถา ยงั หาเหตผุ ลอยู อปุ าทานในใจกจ็ ะหาคำตอบ ใหเราไดเสมอ อา นมาถงึ ตรงนแ้ี ลว ผไู มเ คยเจรญิ สตอิ าจ แยงวาการปฏิบัติอยางไรเหตุผล ก็เทากับงมงาย เทา นน้ั เอง แตในความเปนจริงแลว มีเหตุผลทาง ธรรมอธิบายไดวา การฝกเจริญสติ ก็เพ่ือหั่นภพ ลบชาตใิ หส น้ั ลง ถายังขืนติดบุญ ติดดี ติดสุข ติดสงบ ติด เหตุผล ใจก็ยังสรางภพชาติแหงความเปนมนุษย เทวดาและพรหมอยู ถาติดบาป ใจก็จะสรางภพ ชาตแิ หง สตั วน รก เปรต อสรุ กายและเดรจั ฉานอยู สวนการเจริญสติน้ัน ก็เพื่อใหใจอยูเหนือ โลก เหนืออารมณ พนจากการเวียนวายตายเกิด ดงั ทไี่ ดก ลา วมาแลว ในบทแรก

๒๙ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ฉะน้ันไมวาจะรูอารมณใดก็ตาม จงหยุด การตัดสินวา อารมณอยางนั้นดี อารมณอยางน้ี ไมดี หรืออารมณไหนกระทบแลวเกิดความสุข จึงดี แตถาอารมณไหนมากระทบแลว เกิดความ ทุกขไมดี เพราะแทที่จริงแลว ไมวาสุขหรือทุกข ชอบหรอื ชงั กล็ ว นเกดิ มาจากเหตอุ นั เดยี วกนั คอื ตณั หาอนั เปน บอ เกดิ แหง ทกุ ขท งั้ สนิ้ และควรปรบั ใจตนเองเสมอวา ไมวาจะมีสภาวะใดเกิดข้ึน สุข หรือทุกขก็ตาม ก็มีคาเทากัน คือมีคาแคใหผู ปฏบิ ตั ไิ ด “ร”ู เทา นนั้

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๓๐ ๓.ไมจ ำเปน วา จติ จะตอ งสงบ วิธีการอยางนี้เหมาะกับผูที่ไมมีเวลาเขา หองกรรมฐานหรือไปปฏิบัติกับสำนักพอแมครู อาจารยท ไ่ี หน แตต อ งการพบสนั ตสิ ขุ และสามารถ นำไปใชก บั ชวี ติ ประจำวนั ได เพราะการปฏิบัติอยางนี้เนนวา ใชเวลา ขณะที่เดินทำงานนั่นแหละ เปนเวลาเดินจงกรม ใชเวลาขณะที่น่ังเรียนหนังสือหรือนั่งทำงาน นน่ั แหละ เปน เวลานง่ั สมาธิ คอื เนน “ร”ู อยตู ลอด ทั้งวัน ยกเวนเวลาหลับเทานั้น ใจจึงอาจไมสงบ เพราะเปน เพยี งขณกิ สมาธคิ อื จติ ตง้ั มนั่ ขณะหนงึ่ ๆ เทาน้ัน

๓๑ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ บางทานปฏิบัติอยางนี้แลว กาวหนามาก กวาผูท่ีเก็บตัวเอาเปนเอาตายอยูในหองกรรมฐาน เสียอีก เพราะไมมีความเพงเล็งอยากไดใครดี จนเกินไปนัก จึงเปนการรูอยางเปนธรรมชาติ ที่สุด เมื่อใจไมสงบก็อยาวิตกกังวลเลย ถาสติ ทำงานเตม็ รอบแลว ใจจะสงบไปเอง แตถ า หากมี เวลาอยูบางก็ควรฝกน่ังสมาธิกอนนอน หรือ ต่ืนนอนตอนเชาใหได อยางนอยวันละครึ่ง ชว่ั โมง โดยเรมิ่ จากเวลา ๑๐ นาที แลว คอ ยๆ เพม่ิ เวลาขนึ้ ทกุ วนั กจ็ ะเหน็ ผลเรว็ ขน้ึ ทต่ี อ งใหน งั่ สมาธิ กเ็ พราะวา บางคนสมาธิ สั้น ความฟุงซานยาว หากจิตสงบในขณะท่ีน่ัง สมาธิบาง ก็จะชวยใหการระลึกรูในขณะทำงาน หรอื ในขณะเรยี นหนงั สอื มปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๓๒ ๔. ไมค ดิ ตอ ไมเ ลน กบั ความคดิ หลายคนบนวาไมใหคิดตอน้ันทำไดยาก เหลือเกิน เพราะใจเคยชินกับการคิด ความฟุง ความปรุงแตงทั้งวันอยูแลว บางคนพอเริ่มฝก ก็ถอดใจ เพราะรูสึกวาตนเองฟุงซานทั้งวัน เมื่อ กอ นไมไ ดป ฏบิ ตั ิ ไมเ หน็ ฟงุ ซา นอยา งน้ี ทจ่ี รงิ แลว ใจทกุ คนฟงุ คดิ ปรงุ แตง อยแู ลว โดยธรรมชาติ เมื่อเร่ิมฝก “รู” จึงเริ่ม เห็นตาม ความเปน จรงิ วา ใจมนั ฟงุ เปน ปกตอิ ยา งนเ้ี อง

๓๓ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ฉะน้ันเมื่อมีความฟุง ความคิด ความปรุง แตง เกดิ ขนึ้ กแ็ ค “รวู า คดิ , รวู า ฟงุ ” แลว ควรกลบั มา“รูลมหายใจ”ตอไปทันที การทำอยา งนไ้ี มใ ชห นอี ารมณ เพราะเมอื่ รู ความคิดน้ันแลว ก็ไมมีความจำเปนท่ีจะตองไป จมแชอยูกับความคิดนั้น อันเปนเหตุใหเผลอคิด ตอ ไดโ ดยงา ย สงั เกตดใู หด กี จ็ ะเหน็ วา ในขณะทใี่ จ“แอบ คดิ ” มักคิดดวยความโลภ ความโกรธ ความหลง และอปุ าทาน(ความยดึ มน่ั ถอื มนั่ ) แตถ า หากตง้ั ใจ คิด เชน วางแผนการทำงานหรือแผนการเรียน มักคิดดวยสัญญา (ความจำไดหมายรู) จากท่ีเคย อาน เคยเรียนรู เคยไดยินไดฟงมา (สุตมยปญญา และจนิ ตามยปญ ญา) แตถาหากไมคิดตอเพียงแค“รูตามความ เปน จรงิ ”ทเ่ี กดิ ขนึ้ แตล ะขณะนนั่ คอื ปญ ญาบรสิ ทุ ธ์ิ

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๓๔ (ภาวนามยปญญา) คือรูอยางที่ไมตองมี“เรารู” เขาไปเกาะเก่ียวดวย พูดงายๆ ก็คือ ถารูไมคิด ถาคิดไมรู อาจมคี ำถามวา ไมค ดิ แลว จะเกดิ ปญ ญาได อยา งไร ขอตอบวา ในโลกน้ีมีนักคิด นักเขียน นักวทิ ยาศาสตร นกั ปรัชญามากมาย แตยังไมเ คย ไดยินวามีทานใดกลาประกาศตนวา รูแจงโลก ตรัสรูถูกตองดวยตนเอง หรือเปนพระอรหันต แมแ ตร ายเดยี ว เหมอื นดง่ั เชน พระพทุ ธเจา เลย และขอยอนถามกลับวา คิดกันมาตั้งแต เกิดแลวไมใชหรือ บัดนี้ความทุกขลดลงเพราะ ความคิดเหลานั้นบางหรอื ไม บางคนอาจสงสยั วา ถา ไมใ หค ดิ กก็ ลวั จะ เปนอัลไซเมอร แลวจะทำงานและเรียนหนังสือ รเู รอื่ งหรอื

๓๕ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ กไ็ มไ ดห า มคดิ ถงึ ปานนน้ั เมอื่ คดิ วางแผน งาน คิดการบานฯลฯ เสร็จเรียบรอยแลว ก็ควร กลบั มา“รลู มหายใจ”ตอไปทันที แลวจะเห็นเองวา ความคิดจะเปนระบบ มากขน้ึ ไมส บั สนปนเปกนั เหมอื นกอ น ทำใหก าร ทำงานหรือการเรียนมีผลดีข้ึน เพราะใจมีสติ สั ม ป ชั ญ ญ ะ เ ข า ไ ป ค ว บ คุ ม ดู แ ล ม า ก ย่ิ ง ขึ้ น ไมปลอยไปตามกระแสของตัณหา มานะ ทิฏฐิ เหมอื นเชน เคย

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๓๖ ๕. อารมณไ หนชดั รอู ารมณน นั้ นักปฏิบัติหลายทานอาจสงสัยวา ตนเคย ปฏบิ ตั แิ บบพองยบุ ,พทุ โธ, เคลอ่ื นมอื สรา งจงั หวะ, สมั มาอรหงั ,ดจู ติ ,ดเู วทนา,รปู นาม,กายคตาสตฯิ ลฯ หากนำวธิ นี ไ้ี ปปฏบิ ตั จิ ะไมส บั สนหรอื รับรองไดวาหากมีพ้ืนฐานการฝกจิต อยางอ่ืนมาแลว ย่ิงทำใหการฝกเจริญสติแบบน้ี งายย่ิงข้ึนและไมไดหมายความวาการเจริญสติ แบบน้ีดีกวาแบบอ่ืน เพียงแตงายตอการนำไปใช ในชวี ติ ประจำวนั เทา นนั้

๓๗ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ยกตัวอยางเชน ในขณะท่ีรูอาการของลม หายใจอยนู น้ั บางครง้ั ลมหายใจละเอยี ดจนกำหนด ไดยากก็ยาย “รู” มาไวท่ีอาการของทองพองยุบ แทน (หากคุนชินกับการปฏิบัติแบบพองยุบอยู แลว) หรอื กำหนดทอ งพองยบุ อยู แตเ มอ่ื นานเขา รูสึกอึดอัด ระลึกรูไดยาก ก็ลองยาย“รู”ไปท่ี ลมหายใจแทน หรือมีทุกขเวทนาอันเกิดจากโรคประจำ ตัว เชนปวดตามขอ ปวดทอง ปวดหัว ก็รูอยูที่ อาการปวดนนั้ มใิ ชร เู พอื่ ใหห ายปวด แตร เู พอื่ ให ใจประจักษความจริงวา ความปวดนั้นเปนกลุม พลังงานหน่ึงที่แทรกอยูในกายนี้ และเกิดดับ เปลยี่ นแปลงไปตามเหตปุ จ จยั เทา นน้ั เอง หากขณะน้ันมีเสียงดังข้ึนมาหรือมีภาพท่ี นาสนใจเกิดขึ้น ใจจะเคล่ือนไปรับรูอารมณนั้น

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๓๘ เองโดยอตั โนมตั ิ และเมอื่ “ร”ู อารมณน น้ั แลว กค็ วร ยา ยกลบั มา“ร”ู ลมหายใจตอ ไปทนั ที หรือบางครั้งโกรธผูรวมงาน ก็ยาย “รู” ไปอยูท่ีอาการขุนมัวในใจน้ัน แลวจึงคอยยาย “รู”กลับมาอยูกับลมหายใจทันที อยางน้ีตลอด ทงั้ วนั

๓๙ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ๖. “มนั ไมแ น” คาถาแกท กุ ข ไมวาจะมีอารมณชนิดใดเกิดข้ึนกระทบ กับกายและใจน้ี เม่ือกระทบแลวก็ลวนแต ดับไปทั้งสิ้น จึงตกอยูในกฎธรรมชาติที่เรียกวา “ไตรลกั ษณ” คอื ไมเ ทย่ี ง (อนจิ จงั ) ทนอยใู นสภาพ เดิมไมได (ทุกขัง) และไมมีอัตตาอันใดใหบังคับ บญั ชาได (อนตั ตา) ทง้ั นน้ั

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๔๐ ซึ่งกฎเกณฑนี้มีอยูแลวโดยธรรมชาติ พระพุทธเจาเปนผูคนพบ, บัญญัติศัพทและนำมา แสดงแกชาวโลกใหงายข้ึนเทานั้น (พุทธะจึง แปลวา ผรู ู มใิ ชผ สู รา ง) ฉะนั้นเมื่อสภาวะสุข ทุกข ชอบ ชังใดๆ เกิดขึ้น ก็ควรตระหนักรูอยูเสมอวา“มันไมแน” เพราะทกุ สง่ิ เกดิ ดบั อยทู กุ ขณะจติ โดยเฉพาะคำวาทุกขในการเจริญสติน้ี มคี วามหมายลกึ ซงึ้ กวา ทกุ ขท ค่ี นทว่ั ไปเขา ใจ ทุกขของคนทั่วไปก็คือ ทุกขจากการเจ็บ ปวยทางกาย ทุกขจากการไมไดด่ังใจ หรือทุกข จากสภาวะบบี คน้ั รอบตวั เปน ตน เหตฯุ ลฯ (ซงึ่ ทกุ ข อยา งนเี้ รยี กวา ทกุ ขเวทนา) แตทุกขในการเจริญสตินี้ คือ ส่ิงที่ทนอยู ในสภาพเดิมไมได เปลี่ยนแปลงเกิดดับอยูตลอด เวลา แมแตสภาวะกายใจท่ีมีความสุข ความสงบ

๔๑ เคลด็ (ไม) ลบั ของการเจรญิ สติ ความเบาสบายก็เปนทุกข เพราะทนอยูในสภาพ เดมิ ไมไ ด สติ สมาธิ ปญ ญา กเ็ ปน ทกุ ขค อื ทนอยู ในสภาพเดิมไมไ ดเ ชนกัน จงึ ไมค วรคดิ วาจะตอ ง สงบหรอื จะตอ งรอู ยตู ลอดเวลา การเจรญิ สติ จงึ เปน การฝก ใจใหค นุ ชนิ กบั ความจริงของชีวิต เขาใจความจริงของธรรมชาติ จนใจยอมรับไดวา ไมสามารถที่จะพึ่งพาอาศัย กายใจหรือรูปนามอันเกิดดับเชนน้ีไดแน ใจก็จะ ละความยึดม่ันถือมั่นวา รูปนามน้ีเปนของตน เสยี ได สภาวะสุขทุกขบางอยาง เกิดจากผลแหง กรรมเกาท่ีตนเคยกระทำมา ผูปฏิบัติควรวางใจ ใหเ ปน กลางกบั ทกุ สภาวะ อยา อยากใหเ ปน อยา งท่ี ตนปรารถนาโดยเดด็ ขาด และควรปลอ ยใหเ กดิ ไป อยา งมสี ตจิ นกวา สขุ ทกุ ขน น้ั จะดบั ไปเอง

สขุ งา ยๆ แคป ลายจมกู ๔๒ มีขอสังเกตคือ การเจริญสติแบบนี้ เปน การปฏิบัติแบบให“เห็นทุกข” ไมใชปฏิบัติให “เปน ทกุ ข” หากมคี วามรสู กึ เครยี ด ขดั แยง เกรง็ เพง บังคับ แทรกแซงอารมณ อันเปนเหตุใหมึน หนัก อึดอัด แนนข้ึนมา ก็ใหรีบผอนคลายและ ปรบั ทา ทขี องการ “เพยี รร”ู ใหมท นั ที

๔๓ เทคนิคการเจริญสติแบบงายๆ เคยอยใู ตก ะลามดื มดิ จงึ คดิ วา ตนยง่ิ ใหญ เมอื่ พน จากกะลาครอบใจ จงึ รไู ดว า ตนกระจดิ รดิ

เทคนิค การเจริญสติแบบงายๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook