บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด ในบทน้ีจะศึกษาเก่ียวกับ เมทริกซ์ การดาเนินการบนเมทริกซ์ เมทริกซ์สลับเปล่ียนเมทริกซ์ผกผนั ตวั กาหนด เมทริกซ์ผูกพนั และการใช้การดาเนินการบนเมทริกซ์ในการหาคาตอบของระบบสมการเชิงเส้น6.1 เมทริกซ์ ในชีวติ ประจาวนั เราจะพบเมทริกซ์อยเู่ สมอ แตเ่ ราอาจจะไมท่ ราบวา่ ส่ิงท่ีพบน้นั เป็นเมทริกซ์เช่น ขอ้ มูลจานวนนกั ศึกษาชายและนกั ศึกษาหญิงของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปางจาแนกตามสาขาวชิ า ดงั ตารางต่อไปน้ี สาขาวชิ า นกั ศึกษาชาย(คน) นกั ศึกษาหญิง(คน)วทิ ยาศาสตร์ทว่ั ไป 12 21คณิตศาสตร์ 46 27คอมพิวเตอร์ 131 218สิ่งแวดลอ้ ม 34 26 จากตารางขา้ งตน้ ถา้ เราตดั หัวตารางและสาขาวิชาออกจะเหลือเพียงตวั เลขแสดงจานวนนกั ศึกษาชายและจานวนนักศึกษาหญิง แบ่งเป็ น 4 แถว แต่ละแถวมี 2 หลัก จากน้ันถ้าใส่วงเล็บปี กกา [ ] คร่อมชุดตวั เลขท้งั หมด เราจะไดเ้ มทริกซ์ดงั น้ี12 21 46 27 131 218 34 26
206 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์บทนิยาม 6.1 เมทริกซ์(matrix) หมายถึง กลุ่มจานวนซ่ึงนามาเรียงเป็ นแถว (row) ตามแนวนอน และเป็ นหลกั ( column) ตามแนวต้งั โดยเขียนเรียงกนั ให้อยใู่ นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ ปิ ดลอ้ มดว้ ยเครื่องหมายวงเลบ็ [ ] หรือ ( ) ถา้ A เป็นเมทริกซ์ท่ี มี m แถว n หลกั นน่ั คือ a11 a12 a1n a22 A a 21 a 2 n [aij ]m n am2 a m1 a mn โดย a ij แทนสมาชิกท่ีอยใู่ นในตาแหน่งแถวท่ี i หลกั ท่ี j เมื่อ i 1 , 2 , 3 , . . . , m และ j 1 , 2 , 3 , . . . , n เราจะเรียก A วา่ เป็นเมทริกซ์ขนาด m nตัวอย่าง 6.1 พิจารณาเมทริกซ์ที่กาหนดใหต้ ่อไปน้ี 1) ให้ A 1 2 3 4 5 0 จะไดว้ า่ A เป็นเมทริกซ์ท่ีมี 2 แถว 3 หลกั หรือ A เป็นเมทริกซ์ขนาด 2 3โดยมี a11 1 , a12 2 , a13 3 , a22 4 , a23 5 a21 0 3 22) ให้ B 1 0 4 1 จะไดว้ า่ B เป็นเมทริกซ์ที่มี 3 แถว 2 หลกั หรือ B เป็นเมทริกซ์ขนาด 3 2โดยมี b11 3 , b12 2 b21 1 , b22 0 b31 4 , b32 1
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 207 10 3) ให้ C 2 5 จะไดว้ า่ C เป็นเมทริกซ์ท่ีมี 3 แถว 1 หลกั หรือ C เป็นเมทริกซ์ขนาด 3 1โดยมี c11 10 , c21 2 , c31 5บทนิยาม 6.2 เมทริกซ์ท่ีมีแถวเดียวเรียกวา่ เมทริกซ์แถว (row matrix) เมทริกซ์ที่มีหลกั เดียวเรียกวา่ เมทริกซ์หลกั (column matrix)บทนิยาม 6.3 เมทริกซ์ที่มีจานวนแถวเท่ากบั จานวนหลกั เรียกวา่ เมทริกซ์จตั ุรัส (square matrix)บทนิยาม 6.4 เมทริกซ์ท่ีทุกจานวนมีค่าเทา่ กบั 0 เรียกวา่ เมทริกซ์ศูนย์ (zero matrix , null matrix) เขียนแทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ [ 0 ]ตัวอย่าง 6.2 กาหนดให้ 1A 3 , B 1 3 5 5 1 6 0 0 0 1C , D 0 0 0 0 จะไดว้ า่ A เป็นเมทริกซ์หลกั B เป็นเมทริกซ์แถว C เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสขนาด 2 2 D เป็นเมทริกซ์ศูนย์บทนิยาม 6.5 ถา้ A เป็ นเมทริกซ์จตั ุรัสใดๆ ที่ aij 0 ทุกค่าท่ี i j และ aij 0 ทุกคา่ ที่ i j แลว้ จะเรียก A วา่ เป็นเมทริกซ์ทแยงมุม (diagonal matrix)
208 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ตัวอย่าง 6.3 พิจารณาเมทริกซ์ต่อไปน้ี 1 0 0 2 0 A 0 2 0 , B 0 2 0 0 3 จะไดว้ า่ A และ B เป็นเมทริกซ์ทแยงมุม เราจะเรียกสมาชิกในแต่ละตาแหน่ง a11 , a22 , . . . , ann ว่าเส้นทแยงมุมหลัก(main diagonal) ของเมทริกซ์จตั ุรัส ซ่ึงจากตวั อยา่ ง 6.3 จะไดว้ า่ เส้นทแยงมุมหลกั ของเมทริกซ์ Aคือ 1 , 2 , 3 และเส้นทแยงมุมหลกั ของเมทริกซ์ B คือ 2 , 2 แต่ถา้ สมาชิกในเส้นทแยงมุมหลกั ของเมทริซ์ใดก็ตามมีค่าเท่ากนั หมด เราจะเรียกเมทริกซ์น้นั วา่ สเกลาร์เมทริกซ์บทนิยาม 6.6 ถา้ A เป็นเมทริกซ์ทแยงมุมใดๆ ที่ aij 1 ทุกคา่ i j และ aij 0 ทุกค่า i j แลว้ จะเรียก A วา่ เมทริกซ์เอกลกั ษณ์ (identity matrix , unit matrix) ซ่ึงเขียนแทนไดด้ ว้ ยสัญลกั ษณ์ In เมื่อ n คือจานวนแถวหรือจานวนหลกั ของ เมทริกซ์ทแยงมุม Aตวั อย่าง 6.3 พจิ ารณาเมทริกซ์เอกลกั ษณ์ต่อไปน้ี1 0 เป็นเมทริกซ์เอกลกั ษณ์เขียนแทนดว้ ย I2 เพราะเป็นเมตริกซ์จตั ุรัสขนาด 22 0 1 1 0 00 1 0 เป็นเมทริกซ์เอกลกั ษณ์เขียนแทนดว้ ย I3 เพราะเป็นเมตริกซ์จตั ุรัสขนาด 33 0 0 1บทนิยาม 6.7 ถา้ A เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสใดๆ ที่มีสมาชิกในตาแหน่งใตเ้ ส้นทแยงมุมหลกั มีค่าเป็น ศูนยท์ ้งั หมด เราจะเรียก A ว่าเมทริกซ์สามเหล่ียมบน(upper triamgular matrix) แต่ถา้ A มีสมาชิกในตาแหน่งเหนือเส้นทแยงมุมหลกั มีค่าเป็ นศูนยท์ ้งั หมด เราจะ เรียก A วา่ เมทริกซ์สามเหล่ียมล่าง(lower triangular matrix)
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 209ตวั อย่าง 6.4 พิจารณาเมทริกซ์ต่อไปน้ี 1 3 2 A 0 4 1 0 0 1จะไดว้ า่ A เป็นเมทริกซ์สามเหลี่ยมบน 1 0 0 0 0 2 0 0 B 1 1 2 0 2 0 0 2 จะไดว้ า่ B เป็นเมทริกซ์สามเหล่ียมล่างบทนิยาม 6.8 ให้ A [aij]mn และ B [bij]mn จะเรียกวา่ เมทริกซ์ A เทา่ กบั เมทริกซ์ B เขียนแทนดว้ ย A B กต็ ่อเม่ือ aij bij เมื่อ i 1 , 2 , 3 . . . , m และ j 1 , 2 , 3 . . . , nตวั อย่าง 6.5 ให้ A 1 3 5 , B 1 3 5 และ C 5 3 1 9 9 7 9 7 0 7 0 0 จะไดว้ า่ A Bเพราะ a11 b11 1 a12 b12 3 a13 b13 5 a21 b21 7 a22 b22 9 a23 b23 0แต่ A Cเพราะ a11 c11 a13 c13
210 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ จากบทนิยาม 6.7 จะไดว้ า่ เมทริกซ์ 2 เมทริกซ์จะเทา่ กนั ไดก้ ต็ อ่ เม่ือ ท้งั สองเมทริกซ์มีขนาดเท่ากนั และสมาชิกในแตล่ ะตาแหน่งเดียวกนั มีค่าเทา่ กนัตัวอย่าง 6.6 กาหนดให้ 3 x 2 3 5 y 1 4 2 4 จงหาค่าของ x และ yวธิ ีทา เมทริกซ์ท้งั สองเมทริกซ์จะเทา่ กนั กต็ ่อเม่ือสมาชิกในตาแหน่งเดียวกนั มีคา่ เทา่ กนัดงั น้นั จะไดว้ า่ x 25 x 7และ y 1 2 y 3นนั่ คือ x 7 และ y 36.2 การดาเนินการบนเมทริกซ์ การดาเนินการบนเมทริกซ์ในหัวขอ้ น้ีจะกล่าวถึง การบวก การลบ การคูณเมทริกซ์ดว้ ยสเกลาร์ การคูณเมทริกซ์ดว้ ยเมทริกซ์ ซ่ึงจะกล่าวดงั ต่อไปน้ี 6.2.1 การบวก การลบ เมทริกซ์ เราสามารถหาผลบวก และผลลบของเมทริกซ์สองเมทริกซ์ใด ๆ ท่ีมีขนาดเท่ากนั ได้ ดงั น้ีบทนิยาม 6.8 ถา้ A [aij]mn และ B [bij]mn แลว้ A B [aij bij]mn ถา้ โดยที่ A B มีขนาด mn นน่ั คือ a11 a12 a1n b11 b12 b1n A a 21 a22 a2n ,B b 21 b22 b 2 n am1 am 2 a mn b m1 bm2 b m n
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 211 จะไดว้ า่ a11 b11 a12 b12 a1n b1n a22 b22 AB a 21 b 21 a2 n b2 n am2 bm2 a m1 b m1 amn amn จากบทนิยาม 6.8 จะได้ว่า เมทริกซ์สองเมทริกซ์ท่ีจะหาผลบวกหรือผลลบของท้งั สองเมทริกซ์ไดก้ ็ตอ่ เมื่อเมทริกซ์ท้งั สองมีขนาดเท่ากนั เมทริกซ์ผลลพั ธ์ก็จะมีขนาดเท่าเมทริกซ์เดิม แต่ถา้ เมทริกซ์ท้งั สองมีขนาดไมเ่ ทา่ กนั แลว้ จะไมส่ ามารถนามาบวกหรือลบกนั ได้ตวั อย่าง 6.6 จงหาผลบวกของเมทริกซ์ต่อปน้ี 1) A 1 0 5 2 ,B 4 3 2 1 2) 3 2 2 5 4 1 6 0 3) วธิ ีทา จงหา A B 1) 1 5 0 2 C 3 2 ,D 4 1 4 7 3 5 จงหา C D A 1 5 4 , B 2 4 1 C 0 1 0 จงหา (A B) C AB 1 (4) 03 5 (2) 2 (1) 3 (2) 25 46 10 3 3 7 1 1 7 1 10
212 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ (1) 0 (5) (2)2) C D 3 (4) 2 1 4 3 (7) 5 1 3 7 1 1 12 3) (A B) C 1 (2) (5) 4 4 (1) 0 1 0 3 9 5 0 1 0 3 8 56.2.2 การคูณเมทริกซ์ด้วยสเกลาร์บทนิยาม 6.9 ให้ A [aij]mn แลว้ ผลคูณของสเกลาร์ k และ A เขียนแทนดว้ ย kA โดย Ak ซ่ึงมีคา่ เทา่ กบั [kaij]mn นนั่ คือ a11 a12 a1n ถา้ A a 21 a22 a 2 n a m 1 am2 a mn แลว้ จะไดว้ า่ ka11 ka12 ka1n kA ka 21 ka22 ka 2 n ka m 1 ka m 2 ka m n
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 213 1 3 0 1 0 0 1 1ตัวอย่าง 6.7 ให้ A 2 2 , B 0 0 0 0 1 1 2และ k 1 2 , k 2 จงหา 1) k1A 2) k2B 1 3 0วธิ ีทา 1) k1A 2 2 1 2 2 6 0 2 4 4 1 1 0 0 2 2) k2A 0 1 0 0 0 1 1 0 0 2 1 0 2 0 1 0 0 2 ทฤษฎบี ท 6.1 ให้ A , B , C และ [ 0 ] เป็นเมทริกซ์ขนาด m n และ k1 , k2 เป็นสเกลาร์ ใดๆ จะไดว้ า่ 1. (A B) C A (B C) 2. A B B C 3. A [ 0 ] A [ 0 ] A 4. A (A) [ 0 ] (A) A 5. k1 ( A B ) k1A k1B
214 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ 6. ( k1 k2 )A k1A k2A 7. (k1k2 )A k1 (k 2A) 8. 1A Aพสิ ูจน์ ให้ A [aij] , B [bij] , C [cij] เป็ นเมทริกซ์ขนาด m n 1. (A B) C A (B C) (A B) C [(aij bij ) cij ] จากนิยาม 6.8 [aij (bij cij )] คุณสมบตั ิการเปลี่ยนกลุ่มสาหรับการบวก A (B C) ดงั น้นั จะไดว้ า่ (A B) C A (B C)2. A B BC AB [aij bij ] จากนิยาม 6.8 คุณสมบตั ิสลบั ท่ีการบวก [bij aij ] BC ดงั น้นั จะไดว้ า่ A B BC3. A [ 0 ] A [ 0 ] A A [ 0 ] [aij 0] จากนิยาม 6.8 [aij ] A เพราะ 0 เป็นเอกลกั ษณ์การบวก [0 aij ] [0] A จากนิยาม 6.8 ดงั น้นั จะไดว้ า่ A [ 0 ] A [ 0 ] Aขอ้ 4 ถึงขอ้ 8 ใหน้ กั ศึกษาพิสูจนเ์ ป็นแบบฝึกหดั
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 2156.2.3 การคูณเมทริกซ์ดวยเมทริกซ์บทนิยาม 6.10 ถา้ A [aij] เป็ นเมทริกซ์ขนาด m p และ B [bij] เป็ นเมทริกซ์ ขนาด p n แลว้ ผลคูณของเมทริกซ์ A และ B เขียนแทนดว้ ย AB [cij] จะเป็นเมทริกซ์ที่มีขนาด m n โดยที่ c ij มีคา่ เท่ากบั ผลบวกของผลคูณของ สมาชิกในแถวท่ี i ของ A กบั สมาชิก ในแ ถวท่ี j ของ B นน่ั คือ a11 a12 a1p b11 b12 b1n ถา้ A a 21 a22 ap ,B b 21 b22 b 2 n a m1 am2 a mp b p1 bp2 b pn c11 c12 c1n แลว้ AB c 21 c22 c 2 n c m1 cm2 c mn โดยที่ cij ai1 b1 j ai2 b2 j . . . aip bpj เมื่อ 1 i m , 1 j n จากบทนิยาม 6.10 การคูณของเมทริกซ์ A กับ B จะสามารถหาผลคูณของท้งั สองเมทริกซ์ไดก้ ็ต่อเมื่อจานวนหลกั ของเมทริกซ์ A เท่ากบั จานวนแถวของเมทริกซ์ B และเมทริกซ์AB ที่ไดจ้ ะมีจานวนแถวเท่ากบั เมทริกซ์ A และมีจานวนหลกั เทา่ กบั เมทริกซ์ B การหาสมาชิกแต่ละตาแหน่งใน AB ทาไดโ้ ดยการนาสมาชิกในแถวของ A จบั คู่คูณกบัสมาชิกในหลกั ของ B ซ่ึงแตล่ ะคูจ่ ะใหค้ า่ ของ C เพยี งหน่ึงค่า ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี 1 2 3 3 1 0 0ให้ A 1 1 และ B 1 1 2 1 2 1เนื่องจาก A มีขนาด 23 และ B มีขนาด 33ดงั น้นั AB จะมีขนาด 23ซ่ึงหา AB ไดด้ งั น้ี
216 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ 1 2 3 3 1 0 0 1 1 1AB 1 2 2 1 1นาหลกั ที่ 1 ของ B มาคูณกบั แถวท่ี 1 ของ A จะได้ c11 คือดงั น้นั c11 ( 1 3 ) ( 2 1 ) ( 3 1 ) 323 8นาหลกั ท่ี 2 ของ B มาคูณกบั แถวท่ี 1 ของ A จะได้ c12 คือดงั น้นั c12 ( 1 (1) ) ( 2 1 ) ( 3 2 ) 1 2 6 7นาหลกั ท่ี 3 ของ B มาคูณกบั แถวที่ 1 ของ A จะได้ c13 คือดงั น้นั c13 ( 1 0 ) ( 2 2 ) ( 3 1 ) 043 7นาหลกั ที่ 1 ของ B มาคูณกบั แถวท่ี 2 ของ A จะได้ c21 คือดงั น้นั c21 ( (1) 3 ) ( 0 1 ) ( 1 1 ) 3 0 2 2นาหลกั ที่ 2 ของ B มาคูณกบั แถวที่ 2 ของ A จะได้ c22 คือดงั น้นั c22 ( (1) (1) ) ( 0 1 ) ( 1 2 ) 102 3นาหลกั ที่ 3 ของ B มาคูณกบั แถวที่ 3 ของ A จะได้ c33 คือดงั น้นั c33 ( (1) 0 ) ( 0 2 ) ( 1 1 ) 001 1
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 217 ดงั น้นั AB c11 c12 c13 c 21 c22 c 23 8 7 7 2 3 1 ตัวอย่าง 6.8 จงหา AB และ BA เมื่อกาหนดให้ 1 2 2 2 1 1 1 A 1 0 และ B 3 3 1 วธิ ีทา เน่ืองจาก A มีขนาด 32 มีขนาด 23 B มีขนาด 33 มีขนาด 22 ดงั น้นั AB และ BA 1 2 2 2 1 0 1 1 หา AB 1 1 3 3 (1 2) (2 3) (1 2) (2 1) (11) (2 1) (1 2) (0 3) (1 2) (0 1) (1 1) (0 1) (3 2) (1 3) (3 2) (11) (31) (1 1) 8 0 1 2 2 1 9 5 2
218 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ 2 2 1 1 2 1 1 1 BA 3 3 0 1 (2 2) (2 0) (11) (2 1) (2 1) (1 3) (3 1) (1 1) ( 1 3) (3 2 ) (1 0 ) ( 1 1) 7 5 1 5 จากตวั อยา่ ง 6.8 จะพบวา่ AB ≠ BAตัวอย่าง 6.9 กาหนดให้ 2 0 1 2 2 1 3 A 0 1 0 ,B 0 0 และ C 0 0 2 4 4 6 จงหา 1) AB 2) A(B C)วธิ ีทา 1) A มีขนาด 23 , B มีขนาด 32 ดงั น้นั AB มีขนาด 22 2 0 1 2 2 1 AB 0 0 0 0 4 4 0 0 (4) 0 4 4 0 (4) 000 000 0 0 2) A มีขนาด 23 (B C) มีขนาด 32 ดงั น้นั A(B C) มีขนาด 22
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 219 2 2 1 3B C 0 0 0 0 4 4 2 6 2 1 2 (3) 00 00 4 2 4 (6) 1 1 0 0 2 2 2 0 1 1 1 1A(B C) 0 0 0 0 2 2 2 0 2 2 0 2 0 0 0 000 0 0 0 0
220 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ 2 0 0 1 0 0ตวั อย่าง 6.10 กาหนดให้ A 0 1 0 ,B 0 2 0 0 0 3 0 0 1 จงหา AB และ BAวธิ ีทา A เป็นเมทริกซ์ขนาด 33 , B เป็นเมทริกซ์ขนาด 33ดงั น้นั AB และ BA เป็ นเมทริกซ์ขนาด 33 2 0 0 1 0 0AB 0 1 0 0 2 0 0 0 3 0 0 1 2 0 0 0 0 0 0 0 0 2 0 0 0 0 0 020 0 0 0 0 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 3 0 0 3เนื่องจาก A , B เป็นเมทริกซ์ทแยงมุม ดงั น้นั ผลคูณของ AB หาไดโ้ ดย การหาผลคูณของสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลกั 2 0 0ดงั น้นั BA 0 2 0 0 0 3ตัวอย่าง 6.10 กาหนดให้ A 2 0 จงหา A 2 และ A 3วธิ ีทา 1 0 เน่ืองจาก A เป็นเมทริกซ์ทแยงมุม การหาผลคูณของ AA หรือ A 2 ทาไดโ้ ดยการหาผลคูณของจานวนในแนวเส้นทแยงมุมหลกั A2 22 0 0 ( 1) ( 1) 4 0 0 1
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 221A3 23 0 0 ( 1)3 8 0 0 1 ทฤษฎบี ท 6.2 กาหนดให้ A , B , C เป็นเมทริกซ์ และ k เป็นสเกลาร์ จะไดว้ า่ 1. A ( BC ) ( AB ) C 2. A ( B C ) AB AC 3. ( A C ) C AC BC 4. k ( AB ) ( kA ) B A ( kB ) การพิสูจนใ์ หท้ าเป็นแบบฝึกหดั6.3 เมทริกซ์สลบั เปลย่ี น สาหรับเมทริกซ์ A ใด ๆ ถา้ นาสมาชิกในแถวที่ 1 ของเมทริกซ์ A มาเขียนเป็ นสมาชิกในหลกั ท่ี 1 ของเมทริกซ์ B ถา้ นาสมาชิกในแถวที่ 2 ของเมทริกซ์ A มาเขียนเป็ นสมาชิกในหลกั ที่ 2ของเมทริกซ์ B ทาเช่นน้ีไปจนครบทุกแถวของเมทริกซ์ A เราจะไดเ้ มทริกซ์ B ซ่ึงมีสมาชิกในหลกัที่ i เหมือนกบั สมาชิกในแถวท่ี i ของเมทริกซ์ A เราจะเรียกเมทริกซ์ B ที่เกิดจากการสลบั ที่แถวเป็นหลกั ของเมทริกซ์ A น้ีวา่ เมทริกซ์สลบั เปล่ียนของเมทริกซ์ Aบทนิยาม 6.11 ถา้ A [aij ]mn แลว้ เมทริกซ์สลบั เปลี่ยน (transpose of matrix) ของ เมทริกซ์ A เขียนแทนดว้ ย AT โดยที่ AT [a ji ] nmตัวอย่าง 6.11 กาหนดให้ A 3 1 2 จงหา AT 0 1 4 วธิ ีทา AT เกิดจากการสลบั แถวและหลกั ของ Aแถวท่ี 1 ของ A คือ 3 , 1 , 2 จะถูกสลบั ใหเ้ ป็นหลกั ท่ี 1 ของ ATแถวที่ 2 ของ A คือ 1 , 0 , 4 จะถูกสลบั ใหเ้ ป็นหลกั ท่ี 2 ของ AT
222 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์เมทริกซ์ A ซ่ึงมีจานวนแถว 2 แถว จานวนหลกั 3 หลกัจะไดเ้ มทริกซ์ AT ซ่ึงมีจานวนแถว 3 แถว มีจานวนหลกั 2 หลกัดงั น้ี 3 1 AT 1 0 2 4 4 0 0 2ตวั อย่าง 6.12 กาหนดให้ A 1 2 และ B 1 3 2 1 1 4 จงแสดงวา่ (A B)T AT BTวธิ ีทา 40 02 AB 11 (2) (3) (2) (1) 1 4 4 2 2 5 (A B)T AT BT 3 5 4 2 3 2 5 5 ดงั น้นั ( A B )T 4 1 2 0 1 1 0 2 1 2 3 4 4 0 1 1 (2) (1) 0 2 (2) (3) 14 4 2 3 2 5 5 AT BT
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 223ทฤษฎบี ท 6.3 กาหนดให้ A , B และ C เป็นเมทริกซ์ท่ีสามารถหาผลบวก และผลคูณได้ และ k เป็นสเกลาร์จะไดว้ า่ 1. ( A B )T AT BT 2. ( A B )T AT BT 3. ( k A )T kAT 4. ( AT )T Aพสิ ูจน์ ให้ A [aij ] , B [ bij ] , C [cij ] และ k เป็ นสเกลาร์ 1. จะแสดงวา่ ( A B )T AT BT (A B)T [aij bij ]T จากบทนิยาม 6.8 จากบทนิยาม 6.11 [a ji b ji ] จากบทนิยาม 6.8 [a ji ] [b ji ] จากบทนิยาม 6.11 AT BT ดงั น้นั ( A B )T AT BTขอ้ 2 , 3 และ 4 ใหน้ กั ศึกษาพสิ ูจนเ์ ป็นแบบฝึกหดั
224 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์บทนิยาม 6.12 เมทริกซ์จตั ุรัส A เป็นเมทริกซ์เอกลกั ษณ์อนั ดบั n เขียนแทนดว้ ย In เมื่อ 1 0 0 0 0 แถวท่ี 1 0 1 0 0 0 In 0 0 1 0 0 0 0 0 1 แถวท่ี n หลกั ท่ี 1 หลกั ที่ n 1 เม่ือ i j หรือ In [aij ]nn โดยท่ี a ij 0 เม่ือ i ≠ jตัวอย่าง 6.13 พิจารณาเมทริกซ์เอกลกั ษณ์ต่อไปน้ีI2 1 0 0 1 1 0 0I3 0 1 0 I5 0 0 1 จะไดว้ า่ I2 1 0 0 0 0 I3 0 1 0 0 0 I5 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 เป็นเมทริกซ์เอกลกั ษณ์อนั ดบั 2 เป็นเมทริกซ์เอกลกั ษณ์อนั ดบั 3 เป็นเมทริกซ์เอกลกั ษณ์อนั ดบั 5
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 2256.4 เมทริกซ์ผกผนั เมทริกซ์จตั ุรัสบางเมทริกซ์สามารถหาเมทริกซ์ผกผนั ไดด้ งั บทนิยาม 6.12บทนิยาม 6.12 ถา้ A เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสใดๆ แลว้ A จะมีเมทริกซ์ผกผนั (inverse matrix) A 1ก็ต่อเม่ือ AA1 I A1Aเม่ือ I เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสที่มีขนาดเดียวกบั เมทริกซ์ Aเมทริกซ์ผกผนั ของ A เขียนแทนดว้ ยสญั ลกั ษณ์ A 1ตัวอย่าง 6.14 ให้ A 3 1 และ B 2 1 จงแสดงวา่ 5 2 5 3 วธิ ีทา AB A1 B และ B1 A (3 2) (1 (5)) (3 (1)) (1 3) (5 2) (2 (5)) (5 ( 1)) ( 2 3) BA 6 5 3 3 10 10 5 6 1 0 จะไดว้ า่ ดงั น้นั 0 1 (2 3) (1 5) (21) (2 (1)) ( 5 3) ( 3 5) (51)(3 2) 65 22 15 15 5 6 1 0 0 1 AB I BA A1 B และ B1 A
226 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ เมทริกซ์จตั ุรัสใดๆ อาจไม่จาเป็ นตอ้ งมีเมทริกซ์ผกผนั ก็ได้ ถา้ เมทริกซ์จตั ุรัสใดมีเมทริกซ์ผกผนั เราจะเรียกเมทริกซ์น้นั วา่ เมทริกซ์ไม่เอกฐาน(non-singular matrix) และเรียกเมทริกซ์ท่ีไม่มีเมทริกซ์ผกผนั วา่ เมทริกซ์เอกฐาน(singular matrix)ตวั อย่าง 6.15 กาหนดให้ 1 0 0 2 3 A 1 0 0 , B 1 4 1 0 0 จงแสดงวา่ เมทริกซ์ A , B เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐานหรือเมทริกซ์เอกฐานวธิ ีทา 1) ถา้ A มี A 1 จะไดว้ า่ AA 1 I a b c กาหนดให้ A1 d e f g h i 1 0 0 a b c ทาให้ AA1 1 0 0 d e f 1 0 0 g h i a 0 0 1 0 0 AA1 d 0 0 0 1 0 g 0 0 0 0 1 ดงั น้นั A เป็นเมทริกซ์ท่ีไม่มีเมทริกซ์ผกผนั สรุปวา่ A เป็นเมทริกซ์เอกฐาน 2) ถา้ B มี B1 จะไดว้ า่ BB1 I ถา้ ให้ B1 a b c d
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 227 BB1 1 0a b 0 1 c d 2a 3c 2b 3d 1 0 a 4 c b 4d 0 1 จะไดว้ า่ 2a 3c 1 ………(1) a 4c 0 ……….(2)(1) 2(2) จะได้ (2a 3c)( 2a 8c) 10 11c 1 c 1 11 a 0 4c 4( 1) 4 11 11และจาก 2b 3d 0 ………(3) b 4d 1 ……….(4)(3) 2(4) จะได้ (2b 3d) (2b 8d) 0 2 11d 2 d 2 11จาก (4) b 1 4d 1 4( 2 ) 11 3 11 4 3 จะไดว้ า่ B1 11 11 1 2 11 11 ดงั น้นั B เป็นเมทริกซ์ไมเ่ อกฐาน
228 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์การหาเมทริกซ์ผกผนั ของ A ที่มีขนาด 22 น้ันทาได้โดยการใชบ้ ทนิยาม คือ ถ้า Aสามารถหา A 1 ได้ จะไดว้ า่ AA1 I A1Aจากน้นั กาหนดให้ A 1 a b c d แลว้ แกส้ มการเพื่อหาค่าของ a , b , c และ d ท่ีสอดคลอ้ งกบั คาตอบของสมการ แต่ถา้ไมส่ ามารถหาค่า a , b , c และ d ที่สอดคลอ้ งกบั สมการไดแ้ สดงวา่ ไมส่ ามารถหา A 1 ได้ตวั อย่าง 6.16 จงหาเมทริกซ์ผกผนั ของ A เม่ือกาหนดให้ A 4 1 2 5 a bวธิ ีทา ถา้ A มีเมทริกซ์ผกผนั คือ A 1 แลว้ c d 4 1 a b 1 0 AA1 2 5 c d 0 1 4 1 a bหา AA1 2 5 c d 4a c 4b d 2a 5c 2 b 5d จากสมบตั ิการเทา่ กนั ของเมทริกซ์ จะไดว้ า่ 4a c 1 ………(1) 2a 5c 0 ……….(2)(1) 2 (2) จะได้ (4a c) (4a 10c) 1 11c 1 c 1แทนคา่ c ใน (1) จะได้ 11 4a 1 c 4a 1 ( 1 ) 11
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 229 a 10 ………(3) ……….(4) 11( 4 ) 4b d 5 22 0 2b 5d 1 (3) 2 (4) จะได้ (4b d) (4b 10d) 0 2 11d 2 d 2แทนค่า d ใน (1) จะได้ 11 4b 0d 4b b 2 A1 11 1 22 5 1จะไดว้ า่ 22 22 1 2 11 11 ตวั อย่าง 6.17 กาหนดให้ A a b จงหา A 1 c d e fวธิ ีทา ให้ A1 g h จากบทนิยาม AA 1 Iดงั น้นั a be f 1 0 c d g h 0 1 ae bg af bh 1 0 ce dg cf dh 0 1
230 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์จะไดว้ า่ 1 …………(1) , ad bc ≠ 0 ae bg 0 …………(2) , ad bc ≠ 0 ce dg d …………(3) 0 …………(4)d (1) จะได้ aed bgd db(2) จะได้ ceb dgb d(3) (4) จะได้ aed ceb d ( ad cb ) e ad bc e แทนคา่ e ใน (2) จะได้ dg c( d ) ad bc g c( d ) g d ad bc c af bh cf dh ad bcd (5) จะได้ afd bhd b(6) จะได้ cfb dhb 0 …………(5)(7) (8) จะได้ afd cfb 1 …………(6) f ( ad cb ) d …………(7) 0 …………(8)f b b b ad bcแทนค่า f ใน (5) จะได้ bh a( ad b ) bc h a( b ) b ad bc
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 231 h a ad bc d b จะไดว้ า่ A 1 ad bc ad bc c a ad bc ad bc 1 d b A 1 ad bc c a จากตวั อยา่ ง 6.17 นอกจากการหาเมทริกซ์ผกผนั ของ A โดยใชบ้ ทนิยาม AA1 Iแลว้ ถา้ A เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสขนาด 2 2 เราสามารถหา A 1 ไดจ้ าก A 1 1 d b ad bc c a เม่ือ A a b และ ad bc ≠ 0 c d ซ่ึงวธิ ีการน้ีจะง่ายและสะดวกตอ่ การหา A 1 มากกวา่ วธิ ีการหาโดยใชบ้ ทนิยามตัวอย่าง 6.18 จงหาเมทริกซ์ผกผนั ของเมทริกซ์ A , B เม่ือกาหนด A 2 4 , B 2 6วธิ ีทา 3 1 1 3 หา A 1 เมื่อ A 2 4 3 1 ad bc 2(1) (4)3 2 12 14
232 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ A 1 1 1 4 14 3 2 1 2 14 7 3 1 14 7 หา B1 เม่ือ B 2 6 1 3 ad bc 2(3) 6(1) 6 6 0 เน่ืองจาก ad bc 0 จึงไม่สามารถหา B1 ได้ 1 2 ดงั น้นั A 1 14 7 แต่ B ไม่มีเมทริกซ์ผกผนั 3 1 14 7 ถา้ A และ B เป็ นเมทริกซ์จตั ุรัสขนาดเดียวกนั และมีเมทริกซ์ผกผนั แลว้ สมบตั ิต่อไปน้ีเป็ นจริ ง 1. (A1 )1 A 2. (AT )1 (A1 )T 3. (AB)1 B1A1 4. (A n )1 (A 1 )n A n เม่ือ n เป็ นจานวนเตม็ บวก 5. (kA)1 1 A1 k
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 2336.5 ตัวกาหนด เราสามารถหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ขนาด nn โดยอาศยั บทนิยาม 6.13 ดงั น้ีบทนิยาม 6.13 ให้ A เป็นเมทริกซ์ขนาด nn ตวั กาหนด(determinant)ของ A เขียนแทน ดว้ ย det(A) หรือ | A | โดยที่ 1. ถา้ A [a11 ] แลว้ det(A) a11 2. ถา้ A a11 a12 แลว้ a 21 a 22 det(A) a11a22 a12a21 a11 a12 a13 3. ถา้ A a 21 a22 a 23 a31 a32 a33 แลว้ det(A) a11a22a33 a12a23a31 a13a21a32 a31a22a13 a32a23a11 a33a21a12จากบทนิยาม 6.13 จะไดว้ า่ ถา้ A เป็นเมทริกซ์ขนาด 22 โดยท่ี A a b c d แลว้ det (A) ad bcแต่ถา้ A เป็ นเมทริกซ์ขนาด 33 การหา det(A) อาจทาไดโ้ ดยการเติมหลกั ที่ 1และหลกั ที่ 2 ต่อทา้ ยเมทริกซ์เดิม จากน้นั หา det(A) โดยการหาผลบวกของผลคูณของสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมจากบนซา้ ยมาล่างขวา แลว้ ลบดว้ ยผลคูณของสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมจากล่างซา้ ยไปบนขวา ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ีตวั อย่าง 6.19 จงหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ตอ่ ไปน้ี 1) A 5 2 2) 1 0 2 3 1 B 1 2 1 1 1 1
234 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ 2 4 1 3) C 1 2 0 วธิ ีทา 1) 1 2 2 จาก A 5 2 1 0 det(A) 5(0) (2) (1) 0 (2) 2 2 3 12) B 1 2 1 1 1 1เติมหลกั ที่ 1 และ 2 ต่อทา้ ยเมทริกซ์ B จะได้ 2 3 1 2 3 det(B) 1 2 1 1 2 1 1 1 1 1 det(B) (2)(2)(1) (3)(1)(1) (1)(1)(1) (1)(2)(1) (1)(1)(2) (1)(1)(3) 4 31223 5 ดงั น้นั det(B) 5
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 235 2 4 13) C 1 2 0 1 2 2 เติมหลกั ท่ี 1 และ 2 ต่อทา้ ยเมทริกซ์ B จะได้ det(C) det(C) 2 41 2 4 1 20 1 2 1 2 2 1 2 (2)(2)(2) (4)(0)(1) (1)(1)(2) (1)(2)(1) (2)(0)(2) (2)(1)(4) 8 02208 0 การหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ขนาด 33 นอกจากจะใช้วิธีเพ่ิมหลกั ท่ี 1 และหลกั ท่ี 2แลว้ หาผลบวกของผลคูณของสมาชิกในแนวทแยงมุมบนซ้ายมาล่างขวาลบดว้ ย ผลบวกของผลคูณของสมาชิกในแนวทแยงมุมจากล่างซ้ายมาบนขวา ตามวิธีการขา้ งตน้ แลว้ ยงั สามารถหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ขนาด 33 หรือมากกวา่ โดยวธิ ีการลดทอนอนั ดบั ของตวั กาหนดให้นอ้ ยลงเรื่อยๆ จนสามารถหาตวั กาหนดไดง้ ่ายๆ และรวดเร็ว โดยอาศยั ค่าไมเนอร์และ โคแฟคเตอร์ ดงั จะกล่าวถึงตอ่ ไปน้ีบทนิยาม 6.14 ให้ A [aij ]nn ไมเนอร์(minor) ของ a ij คือตวั กาหนดของสมาชิก A ที่เหลือจากการตดั แถวที่ i และหลกั ท่ี j ของ A ออกไป เขียนแทนดว้ ย M ijตัวอย่าง 6.20 กาหนดให้ A 3 1 จงหาไมเนอร์ของสมาชิก A ท้งั หมดวธิ ีทา 4 2 M11 คือ det(A) เมื่อตดั แถวท่ี 1 และหลกั ที่ 1 ออก M11 -2
236 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ M12 คือ det(A) เมื่อตดั แถวท่ี 1 และหลกั ท่ี 2 ออก M12 4 M 21 คือ det(A) เม่ือตดั แถวท่ี 2 และหลกั ที่ 1 ออก M21 1 M 22 คือ det(A) เมื่อตดั แถวท่ี 2 และหลกั ท่ี 2 ออก M22 3 1 2 4 ตวั อย่าง 6.21 จงหาไมเนอร์ของสมาชิกทุกตวั ใน A เม่ือกาหนดให้ A 3 1 2 0 2 0 1 2 4วธิ ีทา จากกาหนดให้ A 3 1 2 จะได้ 0 2 0 1 2 M11 20 0 (4) 4 M12 3 2 0 0 0 00 M13 3 1 6 0 2 60 M21 24 8 2 0 08 M22 14 0 0 0 00 M23 12 2 0 2 20 M31 24 4 (4) 0 1 2
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 237 M32 14 M33 3 2 2 12 14 12 3 1 1 6 7บทนิยาม 6.15 ให้ A [aij ]nn โคแฟคเตอร์(cofactor) ของ a ij เขียนแทนดว้ ย A ij โดยที่ A ij (1)i j M ijตัวอย่าง 6.22 จงหาโคแฟคเตอร์ของสมาชิกทุกตวั ของ A เม่ือกาหนดให้ A 3 1 4 2 3 1วธิ ีทา จากกาหนดให้ A 4 จะได้ 2 โคแฟคเตอร์ของ 3 A11 (1)2 (1) 1 โคแฟคเตอร์ของ 4 A12 (1)3 (2) 2 โคแฟคเตอร์ของ 2 A21 (1)3 (4) 4 โคแฟคเตอร์ของ 1 A22 (1)4 (3) 3 1 2 4 ตัวอย่าง 6.2 จงหาโคแฟคเตอร์ของสมาชิกทุกตวั ของ A เมื่อกาหนดให้ A 3 1 2 0 2 0 1 2 4 วธิ ีทา จากกาหนดให้ A 3 1 2 จะได้ 0 2 0 A11 (1)2 M11 4 1 2 20
238 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์A12 (1)3 M12 0 3 2 0 0A13 (1)4 M13 6 3 1 02A21 (1)3 M21 8 24 2 0A22 (1)4 M22 0 14 00A23 (1)5 M23 2 12 0 2A31 (1)4 M31 8 24 20A32 (1)5 M32 (2 12) 14 14 3 2
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 239 A33 (1)6 M33 7 12 3 1ตวั อย่าง 6.24 จงหาโคแฟคเตอร์ของ a31 , a43 และ a44 เม่ือกาหนดให้ 2 0 3 1 A 1 1 2 1 3 4 1 2 0 2 3 1 2 0 3 1 วธิ ีทา จากกาหนดให้ A 1 1 2 1 3 4 1 2 0 2 3 1 จะได้ A31 (1)4 M31 0 3 1 0 3 1 2 1 1 2 2 3 1 2 3 063403 2 A43 (1)7 M43 2 0 12 0 1 1 1 1 1 3 423 4 (4 0 4 3 8 0) 11
240 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์A44 (1)8 M44 2 0 3 2 0 1 1 2 1 1 3 4 1 3 4 ( 2 0 12 9 16 0 ) 34 พิจารณาความแตกตา่ งระหวา่ งไมเนอร์ M ij กบั โคแฟคเตอร์ A ij ของสมาชิก a ij ของเมทริกซ์ A ท้งั สองคา่ จะแตกตา่ งกนั ตรงที่โคแฟคเตอร์มี (1)i j ซ่ึงก็คือเครื่องหมายของ M ijนนั่ เอง จะเห็นวา่ ถา้ i j เป็นจานวนคูแ่ ลว้ (1)i j 1 ซ่ึงใหเ้ คร่ืองหมาย แต่ถา้ i jเป็ นจานวนค่ีแลว้ (1)i j 1 ซ่ึงให้เครื่องหมาย ดงั น้นั เครื่องหมายของโคแฟคเตอร์ของสมาชิกแต่ละตวั ของ A เป็นดงั น้ี เม่ือ A มีขนาด 22 เม่ือ A มีขนาด 33 เมื่อ A มีขนาด 44 เราจะใชไ้ มเนอร์และโคแฟคเตอร์ในการหาตวั กาหนดของเมทริกซ์จตั ุรัสขนาด nn(n 2 ) โดยวธิ ีการลดทอนโดยอาศยั บทนิยามตอ่ ไปน้ี
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 241บทนิยาม 6.16 ถา้ A เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสขนาด nn (n 2 ) แลว้ det(A) จะมีค่าเท่ากบั ผลบวก ของผลคูณของสมาชิกในแถวใดแถวหน่ึง หรือ หลกั ใดหลกั หน่ึง กบั โคแฟคเตอร์ ของสมาชิกตวั น้นั นนั่ คือ a11 a12 a1j a1n a 21 a22 a2 j a 2 n ถา้ A a i1 ai2 a ij a in a n1 a n 2 a nj a nn ถา้ เลือก แถวที่ i det(A) ai1A i1 ai2A i2 aijA ij ain A in ถา้ เลือกหลกั ที่ j det(A) a1 jA1 j a2 jA2 j aijAij anjA njตวั อย่าง 6.25 จงหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ตอ่ ไปน้ี 1. 2. A 3 4 3. 2 1 1 2 4 A 3 1 2 0 2 0 2 0 3 1 A 1 1 2 1 3 4 1 2 0 2 3 1
242 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์วธิ ีทา A 3 4 จะหา det(A) โดยวธิ ีการลดทอน 1. 1 2 ถา้ เลือกแถวท่ี 1 det(A) 3A11 4A12 3(1)2 (1) (4)(1)3 (2) 3 8 5 ถา้ เลือกหลกั ที่ 2 det(A) 4A12 (1)A22 4(1)3 (2) (1)(1)4 (3) 8 (3) 5 จะเห็นวา่ ไม่วา่ จะเลือกแถวใดหรือหลกั ใดก็ตาม ค่าของ det(A) จะมีค่าเท่ากนั คือ เทา่ กบั 5 1 2 4 2. A 3 1 2 จะหา det(A) โดยการลดทอน 0 2 0 เลือกแถวท่ี 3 det(A) (0)A31 2A32 (0)A33 0 2(1)5 1 4 0 3 2 2 ( 2 12 ) 28
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 243 หรือ เลือกแถวที่ 1 det(A) 1A11 2A12 4A13 1(1)2 1 2 2(1)3 3 2 4(1)4 3 1 2 0 0 0 0 2 det(A) (0 4) (2)(0) 4(6 0) 4 0 24 28 หรือ เลือกหลกั ที่ 3 det(A) 4A13 (2)A23 (0)A33 4(1)4 3 1 (2)(1)5 1 2 0 2 0 2 0 4(6 0) 2(2 0) 0 24 4 28 ดงั น้นั det(A) 28 2 0 3 1 3. A 1 1 2 1 3 4 1 2 0 2 3 1 เลือกแถวท่ี 1 det(A) 2A11 (0)A12 (3)A13 1A14 2A11 0 3A13 A14
244 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ 1 2 1 เลือกแถวที่ 1A11 (1)2 4 1 2 231 (1)(1)2 1 2 2(1)3 4 2 (1)(1)4 4 1 3 1 2 1 2 3 (1 6) 2(4 4) (12 2) 7 0 14 7 1 1 1 เลือกแถวท่ี 3A13 (1)4 3 4 2 0 2 1 0 2(1)5 1 1 (1)(1)6 1 1 3 2 3 4 0 2(2 3) (4 3) 10 7 17 1 1 2 เลือกแถวที่ 1A14 (1)5 3 4 1 02 3 ( 1(1)2 4 1 3(1)3 1 2 2 3 2 3 0) ( 1(12 2) 3(3 4) ) ( 14 21) 7คา่ det(A) 2A11 3A13 A14 2(7) 3(17) 7 44
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 245ถา้ A เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสขนาด nn โดยเฉพาะ ถา้ n 3 แลว้ เราสามารถใชค้ ุณสมบตั ิต่อไปน้ีเพอื่ ช่วยในการหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ใหไ้ ดง้ ่ายข้ึน ดงั น้ี1. ถา้ สมาชิกแถวใดแถวหน่ึงหรือหลกั ใดหลกั หน่ึงของ A มีคา่ เป็น 0 หมดแลว้ det(A) 0เช่น1.1 เมื่อ A 0 1 0 3 01 จะได้ det(A) 0 3 0 0 0 01.2 เมื่อ A 1 2 3 4 5 6 000 จะได้ det(A) 1 2 3 เลือกแถวท่ี 1 456 (0)A11 (0)A12 (0)A13 02. ถา้ สมาชิกใน 2 แถวใดๆ (หรือ 2 หลกั ใดๆ) ของ A มีคา่ เท่ากนั แลว้ det(A) 0 เช่น 121det(A) 1 3 1 เลือกหลกั ท่ี 1 111 1(1)2 3 1 1(1)3 2 1 1(1)4 2 1 1 1 1 1 3 1 (3 1) (2 1) (2 3) 211 0
246 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์3. ถา้ สมาชิกในแถว(หรือหลกั ) หน่ึงเป็น k เท่าของอีกแถว(หรือหลกั )หน่ึง โดยท่ี k ≠ 0 แลว้ det(A) 0 เช่น 1 3 2A 3 9 6 เลือกหลกั ท่ี 1 3 1 1 6 2 3 2det(A) 9 1 3 1 9 6 1(1)2 1 3(1)3 1 2(1)4 (9 6) 3( 3 2) 2(18 18) 15 15 0 04. ถา้ เมทริกซ์ B ไดจ้ ากการสลบั ท่ี 2 แถวใดๆ(หรือ 2 หลกั ใดๆ) ของเมทริกซ์ A แลว้ det(B) det(A) เช่น 1 2 0 3 2 1A 3 2 1 , B 1 2 0 2 3 1 2 3 1จะเห็นวา่ B เกิดจากการสลบั ท่ีของ แถวที่ 1 และ 2 ของ Adet(A) 1(1)2 2 1 2(1)3 3 1 0(1)4 3 2 3 1 2 1 2 3 (2 3) 2( 3 2) 5 10 5det(B) 1(1)3 2 1 2(1)4 3 1 0(1)5 3 2 3 1 2 1 2 3 (2 3) 2( 3 2) 5 10 5 จะไดว้ า่ det(B) det(A)5. ถา้ เมทริกซ์ B ไดจ้ ากการนาสเกลาร์ k คูณแถวใดแถวหน่ึง (หรือหลกั ใดหลกั หน่ึง)ของ A แลว้ det(B) k det(A)
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 247 1 1 2 3 3 6 A 3 2 2 , B 3 2 2 2 0 1 2 0 1 จะเห็นวา่ B เกิดจากการนา 3 คูณในแถวท่ี 1 ของ Adet(A) 2(1)4 1 2 0 1(1)6 1 1 2 2 3 2 2(2 4) (2 3) 4 5 1det(B) 2(1)4 3 6 0 1(1)6 3 3 2 2 3 2 2(6 12) (6 9) 12 15 3จะไดว้ า่ det(B) 3 det(A) จากสมบตั ิขอ้ น้ี ถา้ B kA เมื่อ A เป็นเมทริกซ์ขนาด nnจะไดว้ า่ det(B) det(kA) knAเช่น A 1 2 , B 4 8 3 1 12 4 det(A) (1 6) 5det(B) (16 96) 80 16(5) 42 (5)เน่ืองจาก B 4A และ A เป็นเมทริกซ์ขนาด 22 det(B) 42 det(A)
248 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์6. ถา้ แยกสมาชิกในแถว(หรือหลกั )ใดๆ ออกมาเป็ นผลบวกของจานวนใดๆแล้ว det(A) สามารถแยกออกเป็นผลบวกของตวั กาหนด 2 จานวน เช่น 23 4 11 21 22det(A) 0 1 5 0 1 5 0 2 1 0 2 1 12 2 11 2det(B) 0 1 5 0 1 5 0 2 1 02 1det(A) 2(1)2 1 5 2 1 0 0 2 ( 1 10) 22det(B) ( 1(1)2 1 5 0 0 ) ( 1(1)2 1 5 2 1 2 1 0 0 ) ( 1 10) ( 1 10) 22 det(A) จะไดว้ า่ det(A) ( 11) ( 11) 227. ถ้าเมทริกซ์ B ไดจ้ ากการนาสเกลาร์ k ใดๆ ไปคูณแถวใดแถวหน่ึง(หรือหลกั ใด หลกั หน่ึง) แลว้ นาไปบวกกบั อีกแถวหน่ึง(หรือหลกั หน่ึง) แลว้ det(A) det(B) เช่น 0 1 1A 2 3 2 1 1 3นา 2 ไปคูณกบั แถวท่ี 3 แลว้ นาไปบวกกบั แถวท่ี 2 ใหเ้ ป็นเมทริกซ์ B จะได้แถวที่ 2 ของเมทริกซ์ B มีสมาชิกเป็น 2(1) 2 0 , 2(1) 3 5 ,2(3) 2 4 ดงั น้ี
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 249 0 1 1 B 0 5 4 1 1 3 011det(A) 2 3 2 1 1 3 0 1(1)3 2 2 1(1)4 2 3 1 3 1 1 (6 2) ( 2 3) 4 (5) 9 01 1det(B) 0 5 4 1 1 3 0 0 1(1)4 1 1 5 4 ( 4 5) 9 นน่ั คือ det(A) det(B)8. ถา้ A และ B เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสที่มีขนาดเทา่ กนั แลว้det(AB) det(A) · det(B)เช่น A 1 2 , B 1 0 3 4 2 1 1 4 0 2 3 2AB 3 8 0 4 5 4 det(A) (4 6) 2det(B) (1 0) 1det(AB) (12 10) 2
250 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ ดงั น้นั det(AB) det(A) · det(B) จากสมบตั ิขอ้ น้ี ถา้ B A n เมื่อ n เป็นจานวนเตม็ บวกแลว้ det(A n ) (det(A))n9. ถา้ a เป็นเมทริกซ์สามเหล่ียมใดๆ(สามเหล่ียมบนหรือสามเหล่ียมล่าง) แลว้ det(A) จะเทา่ กบั ผลคูณของสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลกั เช่น1 2 1 1 0 0A 0 2 1 , B 1 2 0 0 0 3 3 0 4 A เป็นเมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง , B เป็นเมทริกซ์สามเหลี่ยมบนdet(A) 3(1)6 1 2 0 2det(A) 3( 2 0) 6พิจารณาสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลกั ไดแ้ ก่ 1 , 2 , 3 และ 123 6 det(A) 1 0 0det(B) 1 20 3 04 4(1)6 1 0 1 2 4( 2 0) 8พจิ ารณาสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลกั ไดแ้ ก่ 1 , 2 , 4และ 1 2 4 8 det(B) จากสมบตั ิขอ้ น้ี พจิ ารณาเมทริกซ์เอกลกั ษณ์ In ซ่ึงเป็นเมทริกซ์สามเหล่ียมขนาด n n ซ่ึงมีสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลกั เป็น 1 ทุกตวั ดงั น้นัจะไดว้ า่ det(I) 1
บทที่ 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 25110. det(AT ) det(A) เม่ือ A เป็ นเมทริกซ์จตั ุรัสใดๆ เช่น 3 1 4A 2 0 3 1 1 2 3 2 1 จะไดว้ า่ A AT 1 0 1 4 3 2 det(A) 24และ det(AT ) 24ดงั น้นั det(AT ) det(A)11. ถา้ A เป็นเมทริกซ์จตั ุรัสที่ไม่เอกฐาน หรือ A เป็นเมทริกซ์ที่มีเมทริกซ์ผกผนัแลว้ det(A 1 ) 1 เช่น det( A ) 1 2A จะได้ det(A) ( 4 6 ) 2 3 4 1 4 2และ A1 2 3 1 2 1 3 1 2 2 ดงั น้นั det(A 1 ) (2)( 1) 3 1 2 22 1นน่ั คือ det(A 1 ) det( A ) เราจะใชค้ ุณสมบตั ิต่างๆท้งั 11 ขอ้ น้ีมาช่วยในการหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ที่กาหนดให้ไดง้ ่ายข้ึน ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี
252 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ตวั อย่าง 6.26 จงหาตวั กาหนดของเมทริกซ์ A และ B ต่อไปน้ี 1) 3 4 1 2 0 6 4 3 0 0 A 2 0 0 0 0 1 4 0 0 0 3 3 2 1 6 1 1 1 3 2) B 2 2 3 1 2 1 0 1 1 3 2 2 วธิ ีทา det(A) 3 4 1 2 0 1) 6 4 3 0 0 2 0 0 0 0 1 4 0 0 0 3 2 3 1 6 สลบั ที่แถวที่ 3 กบั 1 แทนดว้ ย R3 R1 2 0 0 0 0 6 4 3 0 0 det(A) () 3 4 1 2 0 1 4 0 0 0 3 2 3 1 6
บทท่ี 6 เมทริกซ์ และตวั กาหนด 253สลบั ท่ีแถวที่ 4 กบั 2 แทนดว้ ย R4 R2 2 0 0 0 0 1 4 0 0 0det(A) ()() 3 4 1 2 0 6 4 3 0 0 3 2 3 1 6สลบั ที่แถวท่ี 3 กบั 4 แทนดว้ ย R4 R3 0 0 2 0 0 0 0 0 1 4 0 0 6det(A) ()()() 6 4 3 0 3 4 1 2 3 2 3 1จะไดเ้ มทริกซ์สามเหลี่ยมบน หาผลคูณของสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลกั det(A) (2)(4)(3)(2)(6) 288
254 คณิตศาสตร์สาหรับคอมพวิ เตอร์ 1 1 1 32) det(B) 2 2 3 1 det(B) 0 1 2 1 1 det(B) 1 3 2 2 5 det(B) 1 1 1 3 5 0 1 2 1 R3 R2 () 2 2 3 1 1 3 2 2 1 1 1 3 0 1 2 1 () 0 0 5 7 R3 2R1 R3 1 3 2 2 1 1 1 3 0 1 2 1 R4 R1 R4 () 0 0 5 7 02 1 5 1 1 1 3 0 1 2 1 () 0 0 5 7 R 4 (2)R 2 R 4 0 0 3 7 1 1 1 3 0 1 2 1 1 R 3 5 () 0 0 1 7 5 0 0 3 7 1 1 1 3 0 1 2 1 R4 3R3 R4 () 0 0 1 7 5 0 0 0 14 5
Search