Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มคอ3 วิชาคณิตสำหรับเทคโนโลยี

มคอ3 วิชาคณิตสำหรับเทคโนโลยี

Published by ratchanee.k2512, 2018-06-25 03:24:55

Description: มคอ3 วิชาคณิตสำหรับเทคโนโลยี

Search

Read the Text Version

รายละเอยี ดของรายวิชาช่อื สถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ลาปางคณะ/ภาควิชา คณะวทิ ยาศาสตร์ สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์ หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป1. รหัสและช่ือรายวิชา 4091612 คณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ (Mathematics for Information Technology)2. จานวนหนว่ ยกิต (ชัว่ โมงบรรยาย – ปฏิบตั ิการ - ค้นควา้ ดว้ ยตนเอง) 3 หน่วยกิต (3-0-6)3. หลักสตู รและประเภทของรายวิชา หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ รายวิชาเฉพาะดา้ น4. อาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผูส้ อน อาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบรายวชิ า ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์รัชนี คะระวาด อาจารย์ผู้สอน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์รัชนี คะระวาด ภาคการศึกษา / ชัน้ ปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 1/ ช้ันปีที่ 15. รายวิชาท่ตี ้องเรยี นมากอ่ น (Pre-requisite) (ถ้าม)ี ไมม่ ี6. รายวิชาทตี่ ้องเรียนพร้อมกนั (Co-requisites) (ถา้ มี) ไมม่ ี7. สถานท่ีเรยี น อาคาร 38. วนั ท่จี ัดทาหรือปรบั ปรุงรายละเอยี ดของรายวิชาคร้งั ล่าสุด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2561

มคอ.3 รายวิชาคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 2 หมวดท่ี 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์1. จดุ มงุ่ หมายของรายวิชา 1. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งเซต ความสมั พนั ธแ์ ละฟังก์ชัน ตรรกศาสตร์ ระบบเลขฐาน ระบบจานวน กราฟและรปู ต้นไม้ เมทริกซ์ 2. เพอื่ นาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใชก้ ับการศึกษาด้านคอมพวิ เตอร์ 3. เพ่อื สามารถเชอื่ มโยงความรู้ด้านคณติ ศาสตรก์ บั ดา้ นคอมพิวเตอร์ได้2. วตั ถปุ ระสงค์ในการพัฒนา/ปรบั ปรุงรายวิชา เป็นวชิ าทีใ่ ช้เป็นความรู้ทางคณิตศาสตร์พ้ืนฐานท่ีจาเปน็ สาหรับการเรยี นรู้ด้านคอมพวิ เตอร์ สามารถ เชอื่ มโยงความรดู้ า้ นคณิตศาสตรก์ บั ด้านคอมพิวเตอร์ สามารถนาความรู้ด้านคณติ ศาสตรไ์ ปประยุกตใ์ ชใ้ น การเรยี นด้านคอมพวิ เตอร์ได้ หมวดท่ี 3 ลักษณะและการดาเนนิ การ1. คาอธิบายรายวิชา พน้ื ฐานทางคณติ ศาสตร์ เซต ความสมั พันธแ์ ละฟงั ก์ชัน ระบบจานวน เมทรกิ ซ์ตรรกศาสตร์ ระบบเลขฐานต่าง ๆ บทนยิ ามของกราฟ และรูปตน้ ไม้ การประยกุ ตใ์ ช้คณติ ศาสตรส์ าหรบั เทคโนโลยีสารสนเทศ2. จานวนชั่วโมงทใ่ี ช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย สอนเสรมิ การฝึกปฏิบตั ิ/ การศึกษาดว้ ยตนเอง งานภาคสนาม/การ 90ชั่วโมง45ชว่ั โมง - ฝึกงาน -3. จานวนชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ที่อาจารยใ์ ห้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแกน่ ักศกึ ษาเปน็ รายบุคคล 1. อาจารย์ผสู้ อนแจ้งเวลาให้คาปรึกษาในชัว่ โมงแรกของการเรียน 2. กรณนี ักศึกษามปี ญั หาการเรียนสามารถติดต่อกบั อาจารย์ผู้สอนโดยอาจารย์จดั เวลาให้คาปรกึ ษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ตามความต้องการของผูเ้ รยี นโดยผเู้ รียนตอ้ งแจ้งลว่ งหนา้ ก่อน 2 วนั

มคอ.3 รายวิชาคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 3 หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา1 . คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1 คุณธรรม จรยิ ธรรมทต่ี ้องพฒั นา นักศึกษาต้องมีคณุ ธรรม จริยธรรมเพ่ือให้สามารถดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างราบร่ืน และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากน้ันคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยในชีวิต ความสาเร็จทางธุรกิจ ผู้พัฒนาหรือผู้ประยุกต์โปรแกรมจาเป็นมีความ/รับผิดชอบต่อผลท่ีเกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพใน สาขาอ่ืนๆ อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเร่ืองที่เกี่ยวกับส่ิงต่อไปนี้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวทิ ยาการต่างๆ ทศ่ี กึ ษา รวมท้งั อาจารยต์ อ้ งมีคณุ สมบัติดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม อยา่ งน้อยตามที่ระบุไว้และซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ๑) คุณธรรมตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม ความมีจิตอาสา รู้จักเสียสละ ๒) มวี ินยั ตรงตอ่ เวลา และความรับผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม ๓) เคารพกฎระเบียบและขอ้ บังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม1.2 วธิ ีการสอน อาจารย์ผสู้ อนปฏิบัติตนให้เป็นตวั อยา่ งในการตรงต่อเวลาและชใี้ หเ้ หน็ ผลดีของการมรี ะเบยี บวนิ ยั การเคารพกฏระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั ความตรงตอ่ เวลาในการเข้าเรยี นและการสง่ งานทไ่ี ด้รบั มอบหมายและกาหนดกตกิ าให้ปรับตกเมื่อนกั ศึกษาทจุ ริตในการสอบ ในการเรียนการสอนอาจารย์ผ้สู อนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมท่ีพึงมี1.3 วิธีการประเมนิ ผล สงั เกตการแต่งกายและพฤติกรรมการเขา้ เรียน ความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียนและการส่งงาน ความซอ่ื สตั ย์สจุ รติ ในการสอบ ประเมินผลโดยผสู้ อน2. ความรู้ ๒.๑ ผลการเรยี นร้ดู ้านความรู้ นักศึกษาต้องมีความรู้เก่ียวกับสาขาวิชาท่ีศึกษาในสาขาคอมพิวเตอร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เก่ียวกับสาขาวิชาที่ศึกษานั้นต้องเป็นสิ่งท่ีนักศึกษาต้องรู้เพ่ือใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคมดงั นนั้ มาตรฐานความรูต้ ้องครอบคลุมสงิ่ ตอ่ ไปน้ี ๑) มีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒) รู้ เข้าใจและสนใจพฒั นาความรู้ ความชานาญทางดา้ นคอมพวิ เตอร์อย่างต่อเนอ่ื ง ๓สามารถบรู ณาการความรใู้ นสาขาวชิ าทศี่ ึกษากับความร้ใู นศาสตร์อ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง (

มคอ.3 รายวิชาคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 4การทดสอบมาตรฐานน้ีสามารถทาได้โดยการทดสอบจากข้อสอบของแต่ละวิชาในชั้นเรียนตลอดระยะเวลาที่นกั ศึกษาอยใู่ นหลักสตู ร๒.๒ กลยทุ ธก์ ารสอนทใ่ี ช้พัฒนาการเรียนรดู้ า้ นความรู้ อาจารยผ์ ู้สอนสอนเน้ือหาความรู้ของรายวิชาซง่ึ เป็นความรู้คณติ ศาสตร์พนื้ ฐานท่ีนักศึกษาจาเป็นตอ้ งนาไปใช้หรอื เป็นพน้ื ฐานในการเรยี นรดู้ า้ นคอมพิวเตอรใ์ นรายวชิ าอืน่ ตอ่ ไป โดยมวี ธิ ีการสอนดงั น้ี 1. อาจารย์ผูส้ อนบรรยายประกอบแผ่นใส / Power Point 2. กาหนดหัวขอ้ /แบบฝึกหัด ให้นักศกึ ษาไดศ้ กึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเองทั้งเป็นกล่มุ หรือรายบุคคล 3. ใหน้ ักศึกษานาเสนอหน้าช้ันเรียนโดยอาจารย์และเพอ่ื นนักศึกษารว่ มกันอภิปราย ซักถาม ให้ ขอ้ เสนอแนะ 4. ใหน้ กั ศึกษาทาแบบฝกึ หัด/แบบทดสอบย่อยแต่ละเนือ้ หา/แบบทดสอบกลางภาค ปลายภาค๒.๓ กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรียนรดู้ า้ นความรู้ ประเมนิ จากผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและการปฏิบัติของนักศึกษา ในดา้ นต่างๆ คอื ๑ (การทดสอบย่อย ๒การสอบกลางภาคเรยี นและปลายภาคเรยี น ( ๓ (ประเมินจากชนิ้ งานผลงานทนี่ ักศึกษาจดั ทา/ ๔/ประเมนิ จากแผนงาน (โครงการทีน่ าเสนอ ๕ประเมินจากการนาเสนอในชั้นเรยี น โดยพิจารณาจากประเด็นท่นี ักศึกษาอภิปรายและวเิ คราะห์ (ปญั หาและสถานการณ์ต่างๆทีก่ าหนดให้ และพิจารณาจากประเด็นท่ีนกั ศกึ ษานาเสนอทัง้ ในสถานะทีเ่ ป็นผู้วิพากษ์และผู้ถูกวิพากษ์3. ทกั ษะทางปัญญา๓.๑ ผลการเรียนรู้ดา้ นทักษะทางปญั ญา เม่ือจบการศึกษาแล้ว นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเอง ไปสู่การประกอบวิชาชีพโดยพึ่งตนเองได้ดังนั้นจึงจาเป็นต้องพัฒนานักศึกษาในทักษะด้านทางปัญญา ไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เก่ียวกับสาขาวิชาท่ีศึกษา ในขณะท่ีสอนนักศึกษา อาจารย์ต้องเน้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจา นักศึกษาต้องมีคณุ สมบตั ติ ่างๆ จากการสอนเพอ่ื ให้เกิดทกั ษะทางปญั ญาดังนี้ ๑คิดอย่างมวี จิ ารณญาณและอย่างเป็นระบบ ( ๒แก้ไขปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์สามารถสบื คน้ ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพอ่ื ใชใ้ นการ ( ๓.๒ กลยทุ ธ์การสอน ท่ใี ชใ้ นการพัฒนาการเรยี นรูด้ า้ นทักษะทางปญั ญา๑ (การวิเคราะห์กรณีศกึ ษาและอภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็๒ (การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามแนวคดิ จติ ตปัญญาศึกษา (Contemplative Education)

มคอ.3 รายวชิ าคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 5๔ (การเรียนแบบเน้นปัญหาเป็นฐาน (Problem - Based Learning) ๕) การเรยี นแบบร่วมมอื (Cooperative Learning) ๓.๓ กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะทางปัญญา๑ (การทดสอบ๒ผลงานท่นี ักศึกษาจัดทา/ประเมนิ จากชิน้ งาน (๓ประเมนิ จากแผนงานหรือโครงการท่ีนาเส (นอ๔ ประเมนิ จากการนาเสนอในช้ันเรียน (โดยพจิ ารณาจากพฤตกิ รรมการอภิปราย วเิ คราะห์ปญั หาและสถานการณต์ ่างๆการใหข้ ้อเสนอแนะเชิงวิพากษ์ โดยมีการประยุกต์ความรเู้ พ่ือใช้ในการแก้ปัญหาตลอดจนข้อโตแ้ ย้งในสถานการณท์ ่ีกาหนดใหอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ ๔๑. ผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตัวบุคคลและความสามารถในการรับผดิ ชอบ การท่ีนักศึกษา จบจากการศึกษาและออกไปประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่จะต้องพบปะผู้คนที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน ความสามารถในการปรับตัว (หรือผู้ใต้บังคับบัญชา ,ผู้บังคับบัญชาคนใหม่ ,คนท่ีจบมาจากสถาบันอื่นๆ)ให้เขา้ กับกลุ่มคนต่างๆ เปน็ เรอื่ งจาเป็นอย่างย่ิง ดังนั้นอาจารยต์ อ้ งสอดแทรกวิธกี ารที่เก่ยี วขอ้ งกับกลุ่มคนต่างๆต่อไปนี้ ให้นักศึกษาระหว่างท่ีสอนวิชา หรืออาจจะให้นักศึกษาไปเรียนวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวกับคุณสมบตั ติ า่ งๆ ดงั นี้๑มคี วามรบั ผิดชอบในการกระทาของตนเองและรบั ผดิ ชอบงานในกลมุ่ ( ๔.๒ กลยุทธ์การสอนทใี่ ชใ้ นการพัฒนาการเรยี นร้ดู ้านทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลและความ รบั ผิดชอบ สาหรับการสอนอาจารยม์ อบหมายใหน้ ักศึกษาทางานกลมุ่ โดยใหน้ กั ศึกษาแบง่ หนา้ ท่ีความ รับผดิ ชอบและการใหค้ วามรว่ มมือกับสมาชกิ ในกลุ่มโดยอาจารย์ใหข้ อ้ แนะนาในคุณลักษณะท่ีดีไดแ้ ก่ ความสามารถในการส่ือสารกับบคุ คลอนื่ ๆ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม บุคลิกภาพทีเ่ หมาะสมสาหรับการ ปฏิบัติงาน การรับฟังและตอบสนองต่อบุคคลอนื่ อย่างเหมาะสม บทบาทการเป็นผู้นาผ้ตู ามทด่ี ีจากวิธีการ สอนดังนี้ ๑ (การจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ จิตตปญั ญาศกึ ษา (Contemplative Education) ๒) การเรยี นแบบร่วมมอื (Cooperative Learning) ๓ นฐานการเรียนแบบเน้นปญั หาเป็ ((Problem - Based Learning) ๔ (การเรยี นรูจ้ ากการทางาน (Work - based Learning)

มคอ.3 รายวชิ าคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 6 ๔.๓ กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ ๑ผ้สู อนประเมนิ ผูเ้ รียน โดยพจิ ารณาจากพฤตกิ รรมการทางานหรือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ (ในดา้ นภาวะผนู้ า การบรหิ ารจดั การ การทางานรว่ มกับผอู้ ื่น ๒ผูเ้ รยี นประเมนิ ตนเอง โดยพจิ (ารณาจากพฤติกรรมการทางานหรือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในด้านภาวะผนู้ า การบริหารจัดการ การทางานรว่ มกับผูอ้ น่ื ๓ผู้เรียนประเมินเพ่ือนร่วมงาน โดยพิจารณาจากพฤติกรรมการทางานหรือปฏิบัติ (กิจกรรมต่างๆ ในดา้ นภาวะผ้นู า การบรหิ ารจดั การ การทางานร่วมกบั ผู้อ่ืน๕ ทกั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนักศึกษาต้องมที ักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสือ่ สารเทคโนโลยสี ารสนเทศ ขั้นตา่ ดังน้ี๑ (สามารถนาประเดน็ การแกไ้ ขปัญหาโดยใชส้ ารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาท่ีเก่ียวขอ้ งอย่างสร้างสรรค์๒สามารถส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพท้ังปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบส่ือการนาเสนออย่าง (เหมาะสม ๕.๒ กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ชใ้ นการพัฒนาการเรียนรดู้ ้านทกั ษะในการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การส่ือสารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้วิธีการสอนดังน้ี ๑การฝกึ ปฏิบัตกิ ารวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสารและใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ( ๒ (การอภิปรายวิเคราะห์กรณีศึกษาและสถานการณ์ด้านต่างๆ ๓ (การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา (ContemplativeEducation) ๔ การเรยี นแบบเนน้ ปญั หาเป็นฐาน ((Problem - Based Learning) ๕ (การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Self - Study) ๖ (การเรียนรู้จากการทางาน (Work - Based Learning) ๕.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑ (ประเมินจากการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ไขสถานการณใ์ นชีวิตจริง ๒ (การสงั เกตพฤติกรรมการทางานหรอื ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่างๆ ๓การประเมนิ จากผลการปฏบิ ัตงิ านหรอื กจิ กรรม ( ๔(การสงั เกตพฤติกรรมการนาเสนอและสือ่ สารข้อมูล

หมวดที่ 5 แผนการสอ1. แผนการสอนสัปดาห์ หวั ข้อท่ีสอน จานวน กลยทุ ธ ชั่วโมงท่ี 1. อาจารยแ์ นะนารายวิชา แล 3 ชแ้ี จงเกย่ี วกบั เกณฑก์ ารให้คะแ1 บทท่ี 1 ระบบจานวน 2. อาจารย์บรรยายประกอบ P อภิปรายซกั ถาม 1.1 จานวนและตวั เลข 3. กาหนดโจทย์ปัญหาใหน้ กั ศ ประยุกต์ใชใ้ นการแก้ปญั หา 1.2โครงสร้างของระบบจานวน 4. นักศกึ ษาทาใบงานส่งในช่วั โ สปั ดาหถ์ ดั ไป 1.3 จานวนเชงิ ซ้อน 1.4 ช่วง 1.5 ค่าสัมบูรณ์ 1.6 อสมการ2-3 บทที่ 2 ระบบเลขฐาน 6 1.อาจารยอ์ ธิบายเนือ้ หาระบบ 2.1 คา่ ของจานวนในระบบเลข และการนาไปใช้ในทางคอมพวิ ฐานต่าง ๆ 2. กาหนดโจทยป์ ญั หาให้นักศ 2.2. การเปล่ียนเลขฐานหน่ึงไปเปน็ ประยุกตใ์ ช้ในการแกป้ ญั หา อกี ฐานหน่งึ 3. นักศกึ ษาทาใบงานสง่ ในชั่วโ 2.3 การบวก ลบ คณู และหาร สัปดาห์ถดั ไป จานวนในระบบเลขฐาน 2.4 การลบโดยวิธีการส่วนเตมิ เตม็

อนและการประเมนิ ผลธ์การสอน วิธีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผูส้ อนละเนอื้ หาที่ตอ้ งเรยี นรวมไปถึง 1 .ประเมินผลการแก้ปัญหาแนน 2. การทาแบบฝึกหดัPower Point ยกตวั อยา่ ง 3.การสอบข้อเขียนศกึ ษานาความรทู้ ไี่ ดม้ าโมง และแบบฝกึ หดั สง่ ในบเลขฐาน พร้อมยกตัวอยา่ ง 1 .ประเมินผลการแก้ปญั หา อ.รชั นี คะระวาดวเตอร์ 2. การทาแบบฝกึ หัดศกึ ษานาความรู้ทไ่ี ดม้ า 3.การสอบขอ้ เขียนโมง และแบบฝกึ หดั ส่งใน

สปั ดาห์ หวั ข้อท่ีสอน จานวน กลยทุ ธ ที่ ชวั่ โมง บทที่ 3 เซต 1. ใหน้ กั ศึกษาศกึ ษาเนอ้ื หาเรอ่ื 4-5 3.1 วธิ กี ารเขยี นเซต 6 2. อาจารยบ์ รรยาย อธบิ ายเน 3.2 เซตว่าง เซตจากัดและ เซต 3. ให้นกั ศึกษาทาแบบฝึกหดั โด อนนั ต์ บนกระดาน 3.3 การเทา่ กันและการเทยี บเทา่ กันของเซต 3.4 เซตยอ่ ยและเซตกาลัง 3.5 การดาเนินการของเซต 3.6 การแกโ้ จทย์ปญั หาที่เก่ยี วขอ้ ง กบั เรือ่ งเซตจากัด6-7 บทท่ี 4 ความสมั พันธแ์ ละฟังกช์ นั 6 1. อาจารย์อธิบาย เนือ้ หา พร 4.1 คู่อนั ดับ 2. อาจารยใ์ หน้ ักศกึ ษาทาใบงา 4.2 ผลคณู คารท์ เี ซยี น รว่ มกันเฉลย (โดยนาเสนอเป็น 4.3 ความสัมพันธ์ ซกั ถามข้อสงสัย 4.4 โดเมนและเรนจ์ของ 3.. อาจารยแ์ ละนกั ศึกษา ร่วม ความสมั พนั ธ์ ชวั่ โมงแล้วให้นกั ศกึ ษาสรปุ ด้ว 4.5 ตัวผกผนั ของความสัมพนั ธ์ ชวั่ โมง 4.6 กราฟของความสมั พันธ์ 4. ทาแบบฝึกหดั 4.7 ความสมั พนั ธส์ มมลู

มคอ.3 รายวิชาคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 8ธ์การสอน วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ ผู้สอน องเซตมาล่วงหนา้ ก่อนเรียน 1.ผลการเสนอชิ้นงาน อ.รชั นี คะระวาดนือ้ หา พร้อมยกตวั อย่าง 2.การแสดงความคดิ เหน็ และการมสี ว่ นร่วมดยให้แบง่ เป็นกลมุ่ โดยนาเสนอ ในการนาเสนอช้นิ งาน และการอภิปราย 3. การทาแบบฝึกหัด 4.การสอบขอ้ เขยี นรอ้ มยกตัวอย่าง 1 .การแสดงความคิดเหน็ และการมีส่วนร่วม อ.รชั นี คะระวาดานสง่ ในชว่ั โมงหลงั จากนัน้ ในการนาเสนอชน้ิ งาน และการอภปิ รายนรายบคุ คล/กล่มุ ) อภปิ ราย 2. การทาแบบฝกึ หดั และใบงาน 3.การสอบข้อเขียนมกนั สรุปเนือ้ หา ทเี่ รียนในแตล่ ะวยความเขา้ ใจของตนเองสง่ ใน

สปั ดาห์ หวั ข้อ/รายละเอยี ด จานวน กลยทุ ธ ที่ ช่ัวโมง 4.8 ฟังก์ชนั 4.9 ชนดิ ของฟงั กช์ ัน 6 1.อาจารย์อธิบายเรอ่ื งตรรกศา 4.10 พชี คณติ ของฟงั กช์ ัน พรอ้ มยกตัวอย่าง เพื่อใหน้ ักศกึ 4.11 ฟงั ก์ชันประกอบ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 2. อาจารยอ์ ธบิ ายและยกตวั อ8-9 บทท่ี 5 ตรรกศาสตร์ สมเหตุสมผลโดยใชแ้ ผนภาพจ 5.1 ประพจน์ GSP เพื่อให้นักศึกษาไดเ้ ห็นภา 5.2 ตวั เชอ่ื มประพจน์ 3.กาหนดโจทย์ปญั หาใหน้ ักศึก 5.3 การวิเคราะห์ค่าความจริง การแก้ปัญหา ของประพจน์ 4. นกั ศึกษาทาใบงาน และแบ 5.4 สจั นริ ันดร์ 5.5 การสมมลู และความเป็น เง่อื นไข 5.6 การอา้ งเหตผุ ล 5.7 ประโยคเปแดและวลีบ่ง ปริมาณ

มคอ.3 รายวชิ าคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 9ธก์ ารสอน วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผู้สอนาสตร์ ความเป็นเหตเุ ป็นผล 1 .ประเมนิ ผลการแก้ปัญหา อ.รัชนี คะระวาดกษาเห็นถงึ ประโยชนแ์ ละการ 2. การทาแบบฝกึ หดั 3.การสอบขอ้ เขียนอยา่ งการตรวจสอบความจากสื่อทีผ่ ลติ โดยใช้โปรแกรมาพและทาความเขา้ ใจกษานาทฤษฎีมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นบบฝกึ หัดสง่ ในชั่วโมง

สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน กลยุทธ ท่ี ชว่ั โมง บทที่ 6 เมทริกซ์ 1.อาจารยอ์ ธิบาย พร้อมยกตวั10-12 6.1 เมทรกิ ซ์ 9 เกย่ี วข้องในชวี ติ ประจาวัน 6.2 การดาเนนิ การบน เมท 2. อาจารยบ์ รรยาย อธบิ ายแล ดาเนนิ การบนเมทรกิ ซ์ ริกซ์ 3. อาจารย์สอนใหน้ ักศกึ ษาใช 6.3 เมทริกซส์ ลบั เปลีย่ น แกป้ ัญหาเก่ียวกับเมทรกิ ซ์ โด 6.4 เมทริกซผ์ กผัน ละ 4 คน เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษาได้แ 6.5 ตวั กาหนด การเรยี นรู้ 6.6 เมทริกซผ์ ูกพัน 4.กาหนดโจทยป์ ญั หาให้นกั ศกึ 6.7 การหาตัวผกผันของเมทรกิ ซ์ ประยกุ ตใ์ ช้ในการแก้ปญั หา 4. นักศกึ ษาทาใบงาน และแบ โดยใช้เมทรกิ ซผ์ กู พนั 6.8 การใช้เมทรกิ ซห์ าคาตอบ ของระบบสมการเชิงเส้น13-15 บทที่ 7 กราฟและรูปตน้ ไม้ 9 1. อาจารยบ์ รรยายประกอบ P 7.1 กราฟ อภิปรายซักถามรว่ มกนั ในช้ันเ 7.2 การคานวณระยะทาง 2. แบ่งกลุ่มนักศึกษากลุม่ ละ 5 7.3 การแวะผา่ นกราฟ นกั ศกึ ษานาความรทู้ ไี่ ด้มาประ 7.4 ต้นไม้ นาเสนอเปน็ กล่มุ 7.5 ประเภทของต้นไม้ 3. นกั ศกึ ษาทาแบบฝึกหัดส่งใน 7.5 ต้นไม้ทวภิ าค 7.6 ตน้ ไมค้ น้ หาทวิภาค 16 สอบปลายภาค

มคอ.3 รายวิชาคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 10ธ์การสอน วธิ ีการประเมินผลการเรยี นรู้ ผสู้ อนวอยา่ งและการนาไปใชท้ ่ี 1 .ประเมินผลการแก้ปัญหา อ.รัชนี คะระวาดละยกตวั อย่างในเรอื่ งการ 2. การทาแบบฝึกหดั 3.การสอบขอ้ เขียนช้เครอื่ งคานวณเชงิ กราฟเพ่ือดยแบง่ นักศกึ ษาเป็นกลุ่ม กลมุ่แลกเปล่ยี นและชว่ ยเหลอื กนั ในกษานาความรูท้ ่ไี ด้มาบบฝกึ หัดPower Point ยกตัวอยา่ ง 1 .การแสดงความคดิ เหน็ และการมสี ่วนรว่ มเรยี น ในการนาเสนอชน้ิ งาน และการอภิปราย5 คน กาหนดโจทยป์ ญั หาให้ 2. การทาแบบฝึกหดั และใบงานะยกุ ต์ใช้ในการแก้ปญั หา และ 3.การสอบขอ้ เขียนนสปั ดาห์ถัดไป

2. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ท่ี ผลการเรยี นรู้ 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา2,3,4,5 4 ทักษะความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ ส 5 ทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 2 ความรู้ 3 ทกั ษะทางปัญญา2,3,4,5 4 ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ ส 5 ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ก1 1 คุณธรรม จริยธรรม 1 คุณธรรม จริยธรรม ร 2 ความรู้1,2,3,4,5 3 ทกั ษะทางปญั ญา 4 ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 5 ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ

มคอ.3 รายวชิ าคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 11 วิธีการประเมนิ สปั ดาห์ท่ปี ระเมิน สดั ส่วนของการสอบกลางภาค ประเมินผล 9 25%สอบปลายภาค 16 30% 2-15 10%การเขา้ ช้นั เรยี น 2-15 20% - ความตรงตอ่ เวลา - การแตง่ กายถกู ต้องตามระเบียบของ มหาวทิ ยาลัยรายงานและการนาเสนอหน้าชัน้ เรียน - ความตรงตอ่ เวลา - ความรับผดิ ชอบ - การเลอื กใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ คน้ ควา้ ขอ้ มูลและนาเสนอได้อย่าง เหมาะสม

1 คุณธรรม จริยธรรม ช 2 ความรู้1,2,3,4,5 3 ทกั ษะทางปัญญา 4 ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ 5 ทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ

มคอ.3 รายวิชาคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 12 - ความถกู ต้องในการใช้หรอื ประยุกตใ์ ช้ 2-15 15% ความรูท้ างคณติ ศาสตร์กบั ชีวิตประจาวัน - ความถกู ตอ้ งเหมาะสมในการวเิ คราะห์ เชิงตัวเลข และใช้ภาษาคณติ ศาสตร์ใน การสื่อสารและสือ่ ความหมายชิ้นงาน/ใบงาน/แบบฝกึ หัด - ความตรงตอ่ เวลา 3% - ความครบถว้ น 3% - ความถูกตอ้ งในเรอื่ งการคานวณและ การใชภ้ าษาคณติ ศาสตรใ์ นการสอื่ สาร และส่อื ความหมาย 4%

หมวดท่ี 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน1. ตาราและเอกสารหลัก รชั นี คะระวาด. คณิตศาสตร์สาหรบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ. คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏัลาปาง. ลาปาง. 2555. รชั นี คะระวาด. คณิตศาสตรส์ าหรับคอมพวิ เตอร.์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง. ลาปาง.2547. ราพรรณ จันทววิ ฒั น์. คณิตศาสตรส์ าหรบั คอมพวิ เตอร์. โอเดียนสโตร:์ กรงุ เทพฯ.2543. มูลนิธิ สอวน. โครงสรา้ งขอ้ มูลและอัลกอริทมึ .จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั :กรุงเทพฯ. 2548.2. เอกสารและข้อมูลสาคญั วลั ลภ เฉลมิ สวุ วิ ัฒนาการแมคกรอ .ทฤษฎแี ละตวั อย่างโจทย์คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน .-ฮิลอินเตอร์ เนชัลแนล เอน็ เตอร์ไพร์ส:กรงุ เทพฯ.1997 วิชัย ทิพณีย์ .1234 แบบฝกึ หดั และเทคนคิ การแก้ปัญหาโจทย์แคลคูลสั ที พี พรน้ิ จากดั .:กรงุ เทพฯ. 2535 วริ ัตน์ สุวรรณาภชิ าตแิ คลคูลัส .1สานกั พมิ พ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.: กรงุ เทพฯ.25503.เอกสารและข้อมูลแนะนา- หมวดท่ี 7 การประเมนิ และปรบั ปรุงการดาเนนิ การของรายวิชา1. กลยุทธก์ ารประเมินประสิทธิผลของรายวชิ าโดยนักศึกษา - แบบประเมนิ รายวชิ า2. กลยทุ ธการประเมนิ การสอน - แบบประเมนิ ผูส้ อน - ผลการสอบ3. การปรบั ปรุงการสอน อาจารยผ์ ้สู อนทบทวนและปรับปรุงวธิ กี ารสอนจากผลการประเมนิ ประสทิ ธิผลของรายวิชาแล้วจดั ทา แฟ้มสะสมงานของรายวชิ าและรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ.5) ทุกภาคการศึกษา4. การทบทวนมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ขิ องนักศกึ ษาในรายวิชา กรรมการซ่ึงประกอบดว้ ยอาจารยผ์ ้สู อนทาหน้าที่ทวนสอบผลสมั ฤทธ์ขิ องนักศึกษาโดยประเมินคณุ ภาพของข้อสอบและความเหมาะสมในการใหค้ ะแนน เกณฑ์การพิจารณาคะแนนจากชิ้นงาน/ผลงาน และพิจารณาความเหมาะสมของเกณฑ์ในการตดั สนิ ผลการเรยี น

มคอ.3 รายวชิ าคณิตศาสตร์สาหรับเทคโนโลยสี ารสนเทศหนา้ 145. การดาเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรับปรงุ ประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการทบทวนมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนักศึกษาในรายวิชา และการประเมนิ ประสิทธิผลของรายวชิ าและการประเมนิ การสอน ผู้สอนนาขอ้ มลู ท่ไี ดไ้ ปวางแผนการปรับปรุงการสอน ปรบั ปรุงและพฒั นารายวชิ า โดยมแี ผนท่จี ะปรบั ปรงุ รายวิชาทกุ 3 ปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook