Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัตการศึกษา กลุ่ม 6

ประวัตการศึกษา กลุ่ม 6

Published by pathitta_liw, 2022-01-13 06:50:31

Description: ประวัตการศึกษา กลุ่ม 6

Search

Read the Text Version

สถานศึกษา ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาน้ียงั คงเหมือนกบั สมยั สุโขทยั แต่ท่ีแตกต่างออกไปกค็ ือมี “โรงเรียน มิชชนั นารี” เป็นโรงเรียนท่ีชาวตะวนั ตกไดเ้ ขา้ มาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดียวกนั ก็ สอนวชิ าสามญั ดว้ ย เนื้อหาวชิ าทใี่ ช้ในการเรียนการสอน โดยไดม้ ีการแบ่งออกเป็น วชิ าชีพและวชิ าสามญั มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี 1. วชิ าสามญั 2. วชิ าชีพเรียนรู้กนั ในวงศต์ ระกลู 3. ดา้ นอกั ษรศาสตร์ 4. วชิ าจริยศึกษา 5. วชิ าพลศึกษา

คณติ ศาสตร์ในสมัยกรงุ ศรีอยุธยา มกี ารใชม้ าตราชงั่ บท กลอน

การใช้มาตราชั่ง ๒๐ ดุน เท่ากบั ๑ ทองภารา ๒๐ ชง่ั เท่ากบั ๑ ดุน ๒๐ ตาลึง เท่ากบั ๑ ชงั่ ๔ บาท เท่ากบั ๑ ตาลึง ๑ สลึง ๔ สลึง เท่ากบั ๑ บาท ๒ เฟ้ื อง เท่ากบั ๑ ไพ ๑ กล่อม ๔ ไพ เท่ากบั ๑ เฟ้ื อง ๒ กล่า เท่ากบั ๒ กลอ่ ม เท่ากบั ๑ กล่า ๒ เมลด็ เขา้ เท่ากบั เช่น ทองคาหนกั ๒๐ ชงั่ เรียกวา่ ดุนหน่ึง (ปัจจุบนั สะกด ดุล)

มกี ารใช้มาตราเงิน ๒ โสฬส เท่ากบั ๑ อฐั ๒ อฐั เท่ากบั ๑ ไพ ๔ ไพ เท่ากบั ๑ เฟ้ื อง ๒ เฟ้ื อง เท่ากบั ๑ สลึง ๔ สลึง เท่ากบั ๑ บาท ๔ บาท เท่ากบั ๑ ตาลึง ๒๐ ตาลึง เท่ากบั ๑ ชงั่

การใช้มาตราวัด ไม้ ๑ ยก เท่ากบั กวา้ ง ๑ ศอก ยาว ๑๖ วา ๑ ไร่ เท่ากบั กวา้ ง ๒๐ วา ยาว ๒๐ วา เท่ากบั ๔ งาน (เท่ากบั ๔๐๐ ตารางวา) ๑ งาน เท่ากบั กวา้ ง ๕ วา ยาว ๑ เส้น (เท่ากบั ๑๐๐ ตารางวา) ไม้ ๑ ยก เท่ากบั กวา้ ง ๑ ศอก ยาว ๑๖ วา ๑๐๐ เมลด็ ขา้ ว เป็น ๑ ใจมือ ๔ ใจมือ เป็น ๑ กามือ ๔ กามือ เป็น ๑ จงั ออน ๒ จงั ออน เป็น ๑ แล่ง ๒ แล่ง เป็น ๑ ทะนาน

โจทย์เลขที่พบในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา ชาวอินเดีย เป็นผนู้ าโจทยเ์ ลข คณิตศาสตร์เขา้ มาในประเทศไทย ซ่ึงใน สมยั น้นั เป็นท่ีรู้จกั กนั อยา่ งแพร่หลาย คือ “โจทยเ์ ลขส่ีเหล่ียมมหศั จรรยต์ ามแบบชมพู ทวปี ”

โจทย์เลขส่ีเหลี่ยมมหัศจรรย์ตามแบบ ชมพูทวีป สมยั กรุงศรีอยธุ ยา มีการใชค้ วามรู้ เก่ียวกบั เลขคณิต พชี คณิต และเรขาคณิต มีการใชค้ วามรู้เก่ียวกบั เลขคณิต พชี คณิต และเรขาคณิตดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ และการสร้างพระพทุ ธรูปมีหนงั สือเรียน เล่มแรก “จินดามณี”

สมยั กรงุ ธนบรุ ี

สมยั กรงุ ธนบรุ ี หลงั จากที่กรุงศรีอยธุ ยาไดพ้ ่ายแพใ้ นสงครามคร้ังท่ี 2 และตอ้ งสูญเสียเอกราชน้ี ทาให้กรุงศรี อยุธยาได้รับความเสียหายเป็ นอย่างมากท้ังด้านโครงสร้างเมือง ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม การศึกษาและสภาพจิตใจของประชาชน เม่ือพระเจา้ กรุงธนบุรีได้กอบกู้ อิสรภาพแลว้ จึงตอ้ งเร่ง ฟ้ื นฟูประเทศ เก็บรวบรวมสรรพตาราจากแหล่งต่างๆ ท่ีรอดพน้ จาก การทาลายจากสงครามและ ไดย้ า้ ยเมืองหลวงมาท่ีกรุงธนบุรีและเริ่มตน้ การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวรรณคดีข้ึนใหม่ วดั ยงั เป็ นสถานศึกษาที่ให้การศึกษาแก่ประชาชนส่วนใหญ่ เช่นเดิม ส่วนราชสานกั กเ็ ป็น สถานศึกษาสาหรับบุตรหลานเจา้ นายเช้ือพระวงศแ์ ละบุตรหลาน ของขนุ นาง ขา้ ราชบริพาร คหบดี

สมยั กรงุ ธนบรุ ี โดยแท้ การศึกษาในสมยั กรุงธนบุรี แมจ้ ะไม่เจริญกา้ วหนา้ นกั แต่ก็ เป็ นการเริ่มตน้ ทางการศึกษาท่ีเป็ น พ้ืนฐานให้เกิดความเจริญกา้ วหน้าทางการ ศึกษาในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ - ประเทศไทยอยใู่ นสภาวะสงคราม - การศึกษาไม่ไดร้ ับการพฒั นาเท่าที่ควร - คาดกนั วา่ คงจะมีลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั สมยั กรุงศรีอยธุ ยา

กรงุ รตั นโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1-4 : พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๔๑๐)

กรงุ รัตนโกสินทร์ตอนต้น สมัยรัชกาลท่ี 1 มีการฟ้ื นฟูหนงั สือ ตารา เรียน ภายหลงั สงครามยตุ ิ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ คาดวา่ มีลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั สมยั กรุงศรีอยธุ ยา และกรุงธนบุรีการพฒั นาการศึกษายงั มีไม่ มาก ผลจากสงคราม สมยั รัชกาลที่ 2 มีชาวต่างชาติเข้ามาในประเทศ มากข้ึน มีหลกั ฐานในการเรียนวิชา เลข เบ้ืองตน้ ศิลปวฒั นธรรม วรรณคดี และดนตรีไดร้ ับการเผยแพร่อยา่ งหลากหลายการสร้าง “โรง ทานหลวง” ใชเ้ ป็นสถานศึกษา

กรงุ รัตนโกสินทร์ตอนต้น สมยั รัชกาลท่ี 3 จารึกวิชาความรู้สามญั และวิชาชีพในแผ่นศิลาประดับไวต้ ามระเบียงวดั พระเชตุพน (มหาวิทยาลยั แห่งแรก)เรียบเรียงหนงั สือเรียนจินดามณีข้ึนมาใหม่การใชห้ นงั สือ ประถม ก กา และ ปฐมมาลาการสร้างโรงพมิ พแ์ ห่งแรกในประเทศไทย พ.ศ.2379 สมยั รัชกาลที่ 4 ชาวยุโรป และอเมริกาเริ่มเข้ามาในประเทศหมอศาสนาพฒั นาการศึกษา วิชาการ และศาสนาใชค้ ณิตศาสตร์ในการคานวณทางดาราศาสตร์ “การเกิดสุริยุปราคาเต็ม ดวง” (8 กมุ ภาพนั ธ์ 2379)มีการตีพิมพบ์ ทความคณิตศาสตร์ ในหนงั สือ “วชิรญาณ”

กรงุ รัตนโกสินทรต์ อนต้น “จุดมุ่งหมายของการศึกษาในอดีตจะเห็นไดว้ ่าการจัดการเรียนการ สอนในช่วงตน้ รัตนโกสินทร์คือระหว่างปี พ.ศ. 2325-2426 น้นั ประเทศไทยยงั ไม่มีโรงเรียน แต่มีการเรียนกนั ที่วดั หรือท่ีบา้ น ความมุ่งหมายในสมยั น้นั คือ การ ให้สามารถ อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขได้ นอกจากน้ันอาจมีการเรียน ช่างฝีมือกนั ที่บา้ น...”

กรงุ รัตนโกสินทรต์ อนต้น ความเชื่อท่ีว่าคณิตศาสตร์เป็ นกระบวนการแก้ปัญหาที่มีรูปแบบและข้นั ตอนมาตรฐาน ดงั น้ีคือ (1) หาสิ่งที่ตอ้ งการทราบ (2) วา่ งแผนการแกป้ ัญหา (3) คน้ หาคาตอบ (4) ตรวจสอบ จากข้นั ตอนทางคณิตศาสตร์น้ีเป็นกระบวนการแกป้ ัญหาที่ทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่เป็ น ระบบ เพื่อใหเ้ กิดลาดบั ข้นั ตอนในการแกไ้ ขสิ่งต่างๆท่ีเกิดข้ึน เปรียบเสมือนการแกป้ ัญหาสิ่งๆหน่ึงโดย ใชก้ ระบวนการแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์เพ่ือหาขอ้ คน้ พบและสามารถตรวจสอบขอ้ มูลต่างๆไดอ้ ยา่ งมี ระบบ ระเบียบ

กรงุ รตั นโกสินทรต์ อนต้น การซ้ือขายของ เป็ นการใชห้ ลกั คณิตศาสตร์พ้ืนฐานไดแ้ ก่ การคานวณในเร่ืองของ ตน้ ทุน และการไดก้ าไร การกาหนดราคาเพื่อการตีค่าของราคาท่ีจะขายเพ่ือให้เกิดกาไร ซ่ึง เกี่ยวขอ้ งหลกั เศรษฐศาสตร์เบ้ืองตน้ ในการดาเนินการซ้ือขาย นอกจากน้ียงั มีการทาบญั ชี รายรับรายจ่าย ซ่ึงกไ็ ม่พน้ ในเร่ืองของการใชห้ ลกั คณิตศาสตร์ในการควบคุมการทางาน การสร้างท่ีอยอู่ าศยั เป็นการคานวณอตั ราส่วนของพ้ืนที่ในการการปลูกสิ่งปลูกสร้าง ในท่ีน้ีขอยกตงั อย่างการสร้างท่ีอยู่อาศัย เร่ิมต้งั แต่การคานวณหาพ้ืนที่ในการสร้าง โดย หลกั การวดั พ้นื ที่ (กวา้ ง x ยาว)

กรงุ รัตนโกสินทรต์ อนต้น การเงินการธนาคาร เป็นการออมทรัพยเ์ พ่ือใหเ้ กิดความความมน่ั ของชีวิต มีการ คานวณดอกเบ้ีย ผลกาไร การปันผล การแลกเปลี่ยนเงินตราเพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลประโยชน์ทางการ เงิน โดยมีวธิ ีจูงใจผฝู้ ากในรูปแบบต่างๆ ทางการศึกษา เป็ นการคานวณหาค่าต่างๆทีเก่ียวขอ้ งกบั การให้คะแนน วิจยั การ ทดลองโดยใช้ค่าทางสถิติเพื่อให้เกิดขอ้ คน้ พบต่างๆในเชิงปริมาณเพ่ือหาขอ้ เท็จจริงท่ี เกิดข้ึน จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ จะเห็นถึงความสาคญั ของคณิตศาสตร์เป็นอยา่ งมากไม่วา่ จะ เป็นการคานวณ การวางแผนการทางานในรูปแบบต่างๆ ลว้ นสอดคลอ้ งกบั ชีวติ ประจาวนั เป็นอยา่ งยง่ิ

สรปุ ความรู้ทางคณิตศาสตร์ไทยไดม้ าจากความพยายามเขา้ ใจ โลกกายภาพของคน ไทยในคร่ึงแรกของศตวรรษท่ี ๑๙ การให้ ความสาคญั กบั การพิสูจน์ความจริงทางกายภาพ นบั เป็นจุดเริ่มตน้ ของการหลุดพน้ จากอิทธิพลของศาสตร์ลึกลบั หรืออีกนยั หน่ึงเร่ิมที่ จะ เปล่ียนจากการเป็นฝ่ ายร้องขอต่อธรรมชาติมาเป็นฝ่ายควบคุม ธรรมชาติเสียเอง คณิตศาสตร์ไทยโบราณมีความเหมือนและแตกต่างจาก คณิตศาสตร์ของ ชาวตะวนั ตกร่วมสมยั ดงั น้ี ความเหมือน ๑. กฎเกณฑแ์ ละสูตรการคานวณ ๒. ระบบจานวนของคณิตศาสตร์สมยั ใหม่ของชาวตะวนั ตก

สรปุ จึงไม่น่าจะยาก ที่นักปราชญ์ไทยจะสานต่อความรู้ทางคณิตศาสตร์รากฐาน เดียวกนั น้ี บนพ้นื ฐานของความรู้เดิม ความแตกต่าง ๑. คณิตศาสตร์ไทยโบราณน่าจะลา้ หลงั คณิตศาสตร์ของ ชาวตะวนั ตกไม่เกิน ๑ ศตวรรษ ๒. ขอ้ มูลท่ีมีพบวา่ คณิตศาสตร์ไทยโบราณไม่มีการนิยาม สจั พจนก์ ่อนต้งั โจทย์ ๓. คณิตศาสตร์ไทยโบราณยงั ไม่เพียงพอท่ีจะเป็ นรากฐาน ของการคน้ พบทาง วทิ ยาศาสตร์ได้

สรปุ “คณิตศาสตร์ไม่ไดร้ ับการศึกษาให้ลึกซ้ึงนกั ….พวกทนายหรือ อกั ษรเลขของ ขา้ ราชการช้นั ผใู้ หญแ่ ละเสนาบดีดูเหมือนจะเป็นพวก เดียวที่มีความรู้วชิ าน้ี” การศึกษาใน วงแคบไม่เปิ ดโอกาสให้คนภายนอกมาร่วมตรวจสอบความรู้ ดงั กล่าวได้ เมื่อเทียบกบั ปราชญ์ชาวตะวนั ตก ที่นิยมเผยแพร่และ วิพากษค์ วามรู้ใหม่อยู่ เสมอ ในดา้ นญาณวิทยาพบว่า นกั ปราชญไ์ ทยถนดั ที่จะแสวงหา ความรู้จากประสบการณ์ โดยเนน้ การแกป้ ัญหาเฉพาะกรณี หรืออีก นยั หน่ึง มีความเป็นประสบการณ์นิยมมากกวา่ เหตุผลนิยม อาจเป็ น เพราะนักปราชญไ์ ทยไม่เชื่อว่าจะมีตวั เลขและรูปทรงเรขาคณิตที่ สมบูรณ์แบบในโลกอุดมคติ

Thank You


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook