Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัตการศึกษา กลุ่ม 6

ประวัตการศึกษา กลุ่ม 6

Published by pathitta_liw, 2022-01-13 06:50:31

Description: ประวัตการศึกษา กลุ่ม 6

Search

Read the Text Version

ประวัติการศึกษาคณิตศาสตร์ (สมัยโบราณ ถึง สมยั กรงุ รัตนโกสินทร์ตอนต้น)

การศึกษาของไทยสมยั โบราณ การศึกษาสมยั น้ีเป็นการศึกษาแบบสืบทอดวฒั นธรรมประเพณีที่มีมากแต่เดิม จาเป็นท่ีคนไทยในสมยั น้นั ตอ้ ง ขวนขวายหาความรู้จากผูร้ ู้ในชุมชนต่างๆ ซ่ึงการศึกษาในสมยั น้ีมีบา้ นและวดั เป็ นศูนยก์ ลางของการศึกษา เช่น บา้ นเป็น สถานท่ีอบรมกล่อมเกลาจิตใจของสมาชิกภายในบา้ น โดยมีพ่อและแม่ทาหนา้ ที่ในการถ่ายทอดอาชีพและอบรมลูกๆ วงั เป็นสถานที่รวมเอานกั ปราชญส์ าขาต่างๆ มาเป็นขนุ นางรับใชเ้ บ้ืองพระยคุ ลบาท โดยเฉพาะงานช่างศิลปหตั ถกรรมเพื่อ สร้างพระราชวงั และประกอบพระราชพธิ ีต่างๆ ซ่ึงเป็นสถานท่ีที่ถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ จากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึง ส่วนวัดเป็ นสถานท่ีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พระจะทาหน้าที่ในการอบรมสั่งสอนธรรมะแก่ พทุ ธศาสนิกชน โดยเฉพาะผชู้ ายไทยมีโอกาสไดศ้ ึกษาธรรมะและบวชเรียน ในสังคมไทยจึงนิยมใหผ้ ชู้ ายบวชเรียนก่อน แต่งงานทาให้มีคุณธรรมและจิตใจมน่ั คงสามารถครองเรือนไดอ้ ย่างมีความสุข นอกจากน้ีผูท้ ี่มาบวชเรียนนอกจากมา แสวงหาความรู้เรื่องธรรมะในวดั แลว้ ยงั สามารถแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้ในดา้ นศิลปวิทยาการต่าง ๆ ที่เคยได้ อบรมจาก ครอบครัวมาจะเห็นไดว้ า่ สถาบนั ท้งั สามน้ีลว้ นแต่มี บทบาทในการศกึ ษาอบรมสาหรับคนไทยในสมยั น้นั

ประวัติการศึกษาคณิตศาสตร์สมยั โบราณ ต้งั แต่สมยั โบราณมนุษยไ์ ดม้ ีความตอ้ งการจะนบั และวดั ขนาดของสรรพสิ่งต่างๆ ท่ีอยรู่ ายรอบตวั ดงั น้นั จึงไดค้ ิดวิธีนบั จานวนข้ึนมา เช่น นาหินมาวางเป็นกองๆ หรือใชน้ ิ้วนบั และวิธีน้ีนี่เองท่ีทาใหเ้ รารู้จกั ระบบเลขฐานสิบ สืบเน่ืองจากการที่เรามีนิ้ว 10 นิ้ว ศูนย์กลางการศึกษาคณิตศาสตร์ได้เคล่ือนจากอียิปต์สู่กรี ซในอีก 1,200 ปี ต่อมา เม่ือนัก คณิตศาสตร์คนหน่ึงชื่อ Thales แห่งเมือง Miletus ไดถ้ ือกาเนิด Thales เป็ นปราชญผ์ รู้ อบรู้ในศาสตร์ต่างๆ หลายดา้ นเช่น ไดพ้ บวา่ เวลาเอาแท่งอาพนั ถูดว้ ยขนสตั ว์ จะเกิดปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต และในการศึกษาวิชา เรขาคณิต Thales ไดค้ น้ พบวา่ มุมที่ฐานของรูปสามเหล่ียมคลา้ ยทุกรูปจะเท่ากนั และเวลาเขาลากเส้นผา่ นจุด ศูนยก์ ลางของวงกลมใดๆ Thales สามารถพิสูจน์ไดว้ า่ วงกลมวงน้นั จะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆ กนั

Pythagoras เป็นนกั คณิตศาสตร์กรีกอีกท่านหน่ึงที่มีช่ือเสียง เขาถือกาเนิดบน เกาะ Samos ในทะเล Aegean เมื่อ 30 ปี ก่อนพุทธกาล ในวยั หนุ่ม Pythagoras ไดศ้ ึกษาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ฟิ สิกส์ และทุกวนั น้ีเรารู้จกั ทฤษฎี ของ Pythagoras ดี ซ่ึงทฤษฎีน้ีแถลงว่า พ้ืนท่ีของสี่เหล่ียมจตั ุรัสท่ีอยบู่ นดา้ น ตรงขา้ มมุมฉากของสามเหล่ียม มุมฉากใดๆ จะเท่ากบั ผลบวกของพ้ืนท่ี ส่ีเหล่ียมจตั ุรัสบนอีกสองดา้ นที่เหลือเสมอ

นกั คณิตศาสตร์คนดงั คนแรกของสถาบนั น้ีคือ Euclid ผูเ้ ขียนตาราเรขาคณิตเล่มแรกของโลกช่ือ Elements ในตาราเล่มน้ี Euclid ไดร้ วบรวมความรู้เรขาคณิตของรูปทรงตนั และระนาบต่างๆ ทฤษฎีจานวน และทฤษฎีอตั ราส่วนที่โลกมีขณะน้นั หนงั สือเล่มน้ีจึงจดั เป็นตาราคณิตศาสตร์ที่สาคญั มากท่ีสุดเล่มหน่ึงของ โลก ส่วน Archimedes ซ่ึงเกิดท่ีเมือง Syracuse บนเกาะ Sicily เม่ือปี พ.ศ. 256 กเ็ ป็นนกั คณิตศาสตร์ผู้ ย่ิงใหญ่ที่สุดคนหน่ึงท่ีไดเ้ คยเดินทางมาศึกษาท่ี Alexandria น้ี เขาเป็ นผูพ้ บวิธีคานวณหาพ้ืนท่ีผิวรวมท้งั ปริมาตรของทรงกลม และทรงกระบอก นอกจากน้ี เขาก็ยงั พิสูจน์ไดว้ ่า ¶ มีค่าอยู่ระหวา่ ง 310/71 กบั 31/7 ดว้ ย และในส่วนของคณิตศาสตร์ประยกุ ตน์ ้นั Archimedes ไดพ้ บกฎของคานอยู่ กฎการลอยและจมของวตั ถุ ดว้ ย

ประเทศจีนในสมยั โบราณ กม็ ีนกั คณิตศาสตร์ที่มีความสามารถสูงเช่นกนั แต่เพราะ คนจีนมกั บนั ทึกส่ิงต่างๆ บนกระดาษท่ีทาจากเยอ่ื ไมไ้ ผ่ ในอินเดียเม่ือ 2,250 ปี ก่อน ซ่ึงเป็ นยุคของอโศกมหาราช ก็เป็ นช่วงเวลาท่ี คณิตศาสตร์รุ่งเรืองมาก ในตาราพระเวทมีตวั อยา่ งคณิตศาสตร์ที่แสดงการหารากท่ีสองของ จานวนต่างๆ และทฤษฎีจานวนดว้ ย นกั คณิตศาสตร์อินเดียช่ือ Aryabhata ผถู้ ือกาเนิด ในทวีปอเมริ กากลาง ซ่ึงเป็ นดินแดนของอารยธรรมมายา ก็มีการศึกษา คณิตศาสตร์เช่นกนั แต่คณิตศาสตร์ที่ใช้มกั เก่ียวขอ้ งกบั เวลาเช่น ใชใ้ นการทาปฏิทิน 2 รูปแบบ

Muhanumad ibn Musa al Khwarizmi คือ นักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซีย ผูเ้ คยมีชีวิตอยู่ในช่วงปี 1323-1393 ในกรุงแบกแดด เขาเป็นนกั คณิตศาสตร์ผรู้ ิเริ่มสร้างวชิ าพชี คณิต โดยเรียกชื่อวชิ าวา่ al jabr คาน้ีไดแ้ ปลงมาเป็น algebra ในภาษาองั กฤษ ในเวลาต่อมา Al-Birundi ก็เป็ นนกั คณิตศาสตร์อาหรับอีกท่านหน่ึง ผูม้ ีช่ือเสียงในอีก 200 ปี ต่อมา จาก ผลงานสร้างวชิ าตรีโกณมิติและ Nasir al-Din al-Tusi ผมู้ ีชีวิตในระหว่างปี 1744-1817 กเ็ ป็นนกั คณิตศาสตร์ อาหรับอีกท่านหน่ึงท่ีไดพ้ ฒั นาวิชาตรีโกณมิติและตรรกวิทยา โดยไดพ้ บว่า ถา้ a, b และ c คือดา้ นของ สามเหล่ียมท่ีอยตู่ รงขา้ มกบั มุม A, B และ C ตามลาดบั แลว้ เราจะไดว้ า่ a/sin A = b/sin B = c/sin C

ช่วงปี 1000-1500 เป็นระยะเวลาที่ยโุ รปกาลงั ตกอยใู่ นยคุ มืด เพราะภูมิปัญญาโบราณ ต่างๆ ถูกทอดทิ้ง และอารยธรรมตกต่า แต่ความสนใจในวิทยาการดา้ นคณิตศาสตร์ก็ยงั บงั เกิดข้ึนอีกคารบหน่ึง เม่ือ Gilbert แห่ง Aurillac (พ.ศ. 1481-1546) นาเลขอาหรับมาใชใ้ น วงการวชิ าการของยโุ รป และ Fibonacci แห่งเมือง Pisa ในอิตาลีไดใ้ ชว้ ิธีการคานวณเลขของ ชาวอาหรับในการเรียบเรียงหนงั สือชื่อ Liber a baci ซ่ึงแปลวา่ ตาราคานวณในปี พ.ศ. 1745 หนงั สือเล่มน้ีมีโจทยค์ ณิตศาสตร์และพีชคณิตมากมาย และมีลาดบั Fibonacci (Fibonacci sequence) ดว้ ย ซ่ึงลาดบั น้ีคือ ชุดเลข 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34 โดยต้งั แต่จานวนที่ 3 ไปเป็น เลขที่ไดจ้ ากการรวมเลข 2 ตวั หนา้ ท่ีอยตู่ ิดมนั เช่น 2 = 1+1, 5 = 2+3 และ 34 = 13+21 เป็ น ตน้

ส่วนการประดิษฐ์เครื่องพิมพใ์ นปี พ.ศ. 1983 โดย Johann Gutenbery น้นั กไ็ ดท้ าให้ผลงานวิชาการ ต่างๆ แพร่สู่สังคมไดอ้ ย่างกวา้ งขวางและรวดเร็วและนกั ศึกษาคณิตศาสตร์ในสมยั น้นั ต่างก็ไดอ้ ่านตาราช่ือ Summa de arithmetica geometrica, proportioni et proportionalita ของ Luca Pacioli ซ่ึงหนา 600 หนา้ กนั ทุกคน การรู้จกั ประดิษฐเ์ คร่ืองพิมพ์ จึงทาใหว้ งการคณิตศาสตร์มีมาตรฐานการใชส้ ญั ลักษณ์ เช่น + - เป็น คร้ังแรกในปี พ.ศ. 2032 ตามท่ี Johann Widmanna เสนอ และในปี พ.ศ. 2100 Robert Record ก็เป็ นนัก คณิตศาสตร์คนแรกที่เสนอใชเ้ ครื่องหมาย = แสดงการเท่ากนั ส่วนเคร่ืองหมาย X และ ÷ น้นั William Oughtred และ John Pell คือผทู้ ี่นามาใชเ้ ป็นคร้ังแรกในปี พ.ศ. 2174 และ 2211 ตามลาดบั ในปี พ.ศ. 2157 นกั คณิตศาสตร์ชาวสกอตช่ือ John Napier ไดน้ าเรื่อง logarithm มาใชใ้ นการ คานวณเป็นคร้ังแรก และเทคนิคน้ีไดท้ าใหเ้ กิดอุปกรณ์คานวณซ่ึงเรียกวา่ slide rule

ในสมยั ศตวรรษที่ 22 ประเทศฝร่ังเศสมีนกั คณิตศาสตร์ท่ีมีชื่อเสียงมากมายเช่น Rene Desceutes, Pierre de Fermat และ Blaise Pascal โดยเฉพาะหนงั สือชื่อ Discours de la methode ท่ี Reni Descartes เรียบเรียง น้นั ไดม้ ีการนาพีชคณิตมาใชใ้ นการศึกษาเรขาคณิตเป็นคร้ังแรก และมีการวิเคราะห์สมการของพาราโบลา วงรี และไฮเฟอร์โบลาดว้ ย ส่วน Pierre de Fermat น้นั ก็สนใจ xn+yn ทฤษฎีจานวนและทฤษฎีบทสุดทา้ ยของ Fermat ที่วา่ หากมีสมการ xn + yn = zn แลว้ เราจะไม่สามารถหาเลข x, y, z ที่เป็นจานวนเตม็ มาแทนในสมการ ได้ ถา้ n มีคา่ มากกวา่ 2 กไ็ ดร้ ับการพิสูจนว์ า่ จริง โดย Andrew Wiles ความกา้ วหนา้ ทางคณิตศาสตร์ ในช่วงเวลาน้ีไดพ้ ุ่งสูงสุดเม่ือ Isaac Newton เรียบเรียง Principia mathematica ในปี พ.ศ. 2230 โดย Newton ไดค้ ิดสร้างวิชาแคลคูลสั ข้ึนมาอธิบายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ รอบดวงอาทิตย์ ฯลฯ ถึงแม้ Newton จะอา้ งว่าเขาสร้างวิชาแคลคูลสั ข้ึนมาเป็นคนแรก แต่ gottfred Wilhelm Leibniz กเ็ ป็นบุคคลแรกที่ไดต้ ีพิมพเ์ ร่ืองน้ี และสญั ลกั ษณ์ต่างๆ ท่ี Leibniz ใชเ้ ช่น ∫dx

Carl Friedrich Gauss (พ.ศ. 2320-2398) เป็ นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมนั ผูย้ ่ิงใหญ่ ท่ีสุดคนหน่ึงของโลก เขามีผลงานมากมายจานวนเชิงซ้อน (a+bi) โดยท่ี (i2 = -1) และยงั เป็นผทู้ ี่สามารถสร้างรูป 17 เหลี่ยมดา้ นเท่าได้ โดยใชว้ งเวยี นกบั ไมบ้ รรทดั เท่าน้นั อีกดว้ ย

Srinivasa Ramanujan เป็ นนักคณิตศาสตร์ชาวอินเดียที่ย่ิงใหญ่อีกคนหน่ึง ซ่ึงมีผลงานดา้ นทฤษฎี จานวนและการวิเคราะห์ แต่ไดเ้ สียชีวิต ขณะท่ีมีอายนุ ้อยเพียง 32 ปี และในระหว่างท่ี นอนพกั ในโรงพยาบาลน้นั G.H. Hardy แห่งมหาวิทยาลยั Cambridge ไปเยยี่ มและเอ่ย บอก Ramanujan วา่ รถแทก็ ซี่ท่ีเขาเดินทางมาน้นั มีเลขทะเบียนรถ 1729 ซ่ึงไม่น่าสนใจ เลย แต่ Ramanujan กลบั ตอบวา่ 1729 เป็ นเลขที่น่าสนใจมาก เพราะ 1729 = 103 + 93 และ = 13 +123

คณิตศาสตร์ไทยโบราณเป็นศาสตร์ท่ีใชใ้ นการคานวณโลกกายภาพ อาทิการคา้ ขาย และการก่อสร้าง เป็นตน้ และเป็นศาสตร์คนละชนิดกบั การคานวณดวงดาวทางโหราศาสตร์ แมจ้ ะเป็นหน่ึงในศิลปะวิทยาการที่ รับมาจากอินเดีย แต่หลงั จากน้ัน คนไทยก็น่าจะเป็ นผูพ้ ฒั นาความรู้ทางคณิตศาสตร์ข้ึนมาเองภายใน วิถีการ แสวงหาความรู้ของตน ชาวตะวนั ตกจานวนไม่นอ้ ยต่างช่ืนชมความรู้ทาง คณิตศาสตร์ของคนไทย อยา่ งเช่น มง เซเญอร์ ปาลเลกวั ซ์ นกั บวช ชาวฝรั่งเศสที่เขา้ มาเมืองไทยระหว่าง พ.ศ. ๒๓๗๒-๒๓๙๖ ตรงกบั สมยั รัชกาลท่ี ๓ แมว้ า่ ปาลเลกวั ซ์จะดูหม่ินการคานวณท่ีผดิ พลาด ของโหรหลวง “วิทยาการของเขาท้งั สิ้น วางรากฐานอยบู่ นการ คานวณอยา่ งประหลาดๆ ยากที่จะเชื่อเอาเป็นจริงจงั ได…้ มกั จะ พยากรณ์ผดิ พลาดเสียเป็นอนั มาก” (ปาลเลอกวั ซ์, ๒๕๕๒: ๒๒๔)

ข้อมลู ท่ีใช้ประกอบการวิเคราะห์ 01 ตาราคณิตศาสตร์ไทยโบราณ 8 ตาราคณิตศาสตร์ไทยโบราณเขียนอยใู่ นรูป สมุดไทย ไม่ ระบุปี ที่ทาข้ึน พจิ าณาเน้ือหาของโจทยแ์ ลว้ น่าจะทาข้ึนก่อน พ.ศ. ๒๓๙๔ / 1851 เพราะมีหน่วยเงินโบราณ เช่น ชง่ั และตาลึง 02 จดหมายเหตุรัชกาลท่ี ๓ องคค์ วามรู้ของคนไทยในรัชสมยั น้ี (พ.ศ. ๒๓๖๘- ๒๓๙๔) ยงั ไม่ไดร้ ับอิทธิพลจากตะวนั ตก และมีการบนั ทึกเหตุการณ์ เป็นลาย ลกั ษณ์อกั ษรมากกวา่ รัชกาลก่อนหนา้ น้นั ประกอบกบั วา่ 9 เป็นรัชสมยั ท่ีมีความ เจริญรุ่งเรืองทางการคา้

ลักษณะของการคานวณ จานวนตรรกยะ จานวนตรรกยะ (rational numbers) คือ จานวนที่ 01 สามารถแสดงไดใ้ นรูปของเศษส่วน คณิตศาสตร์ไทยโบราณมีแบบฝึกหดั คูณ และหารเลขไดล้ งตวั ไดแ้ ก่ นพพนั หนั สมุด นพพวง และโคศพั ท์ การบวก ลบ คูณ หาร คณิตศาสตร์ไทยโบราณมีโจทยท์ ่ีใชก้ ฎพ้นื ฐาน 02 ไดแ้ ก่ บวก ลบ คูณ หาร เป็นจานวนมาก 03 ร้อยละ จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ กล่าวถึงการคานวณภาษีต่างๆ และการ คานวณท่ีใชก้ นั บ่อยคือ ร้อยละ เช่น อากรสวน กาหนดให้ เจา้ พนกั งานคิดส่วนลด หกั สิบลดหน่ึง คืนใหแ้ ก่ราษฎรซ่ึงกค็ ือ ร้อย ละสิบ นน่ั เอง

ลักษณะของการคานวณ 04 อตั ราส่วน คณิตศาสตร์ไทยโบราณมีสูตรเฉพาะในการคานวณ อตั ราส่วน เช่น ไตรนิกรคูณทรัพย์ เป็นตน้ อนุกรมเลขคณิต จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ กล่าวถึง การใหค้ วามยตุ ิธรรม 05 แก่เรือสาเภาขนาดเลก็ โดยรัชกาลที่ ๓ ไดร้ ับสง่ั ใหข้ นุ นางประชุม ลด ค่าธรรมเนียมและคิดอตั ราใหม่ตามความกวา้ งของปากเรือต้งั แต่ ๗ ศอกถึง ๕ วา เศษ 06 การยกกาลงั และการถอดราก คณิตศาสตร์ไทยโบราณมีการคานวณเลข ยกกาลงั และ ถอดรากเรียกวา่ เลขกรณฑ์ มีสูตรเลขกรณฑอ์ ยู่ ๘ ระดบั

ลักษณะของการคานวณ 07 สมการ คณิตศาสตร์ไทยมีโจทยท์ ี่ใหห้ าคาตอบจากคุณสมบตั ิท่ี เหมือนกนั อยพู่ อสมควร 08 การคานวณพ้นื ท่ีวงกลม คณิตศาสตร์ไทยโบราณคานวณพ้ืนท่ีวงกลมโดย ใช้ สูตรตายตวั คือคร่ึงหน่ึงของเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางแนวต้งั คูณกบั แนวนอนคูณ ๑๙ หาร ๒๔ เสมอ

ดงั น้นั คณิตศาสตร์ไทยจึงคานวณพ้ืนท่ีวงกลมคลาดเคลื่อนจาก ความเป็ นจริง สรุป ความรู้ทางคณิตศาสตร์ไทยไดม้ าจากความพยายามเขา้ ใจ โลกกายภาพของคนไทยใน คร่ึงแรกของศตวรรษท่ี ๑๙ การให้ ความสาคญั กบั การพิสูจน์ความจริงทางกายภาพนบั เป็ น จุดเริ่มตน้ ของการหลุดพน้ จากอิทธิพลของศาสตร์ลึกลบั หรืออีกนยั หน่ึงเร่ิมท่ี จะเปล่ียนจาก การเป็ นฝ่ ายร้องขอต่อธรรมชาติมาเป็ นฝ่ ายควบคุม ธรรมชาติเสียเอง (จริยา นวลนิรันดร์, ๒๕๕๔: ๒๑)

ความหมายของคณติ ศาสตร์ ต้ังแต่มนุษย์เราเกิดมามองดูโลกอันสวยงาม ชีวิตของเราเร่ิ มเกี่ยวข้องกับ คณิตศาสตร์โดยที่เราไม่ทันจะรู้ตัวด้วยซ้ าว่าตัวเราไปเก่ียวข้องได้อย่างไร ตัวเลขทาง คณิตศาสตร์ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทเก่ียวขอ้ งในการดารงชีวิตต้งั แต่แรกเกิด เรายงั ไม่ไดเ้ ขา้ โรงเรียน บิดามารดา หรือญาติพี่นอ้ งจะพร่าสอนให้เรารู้จกั กบั ตวั เลข เพื่อนามาประกอบการใชช้ ีวิตใน วนั ก่อนเขา้ เรียนบางคร้ังมนุษยจ์ ะเรียนรู้ตวั เลขจากธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ มรอบ ๆ ตวั เราจะ ช่วยใหเ้ กิดการเรียนรู้มากข้ึน การใชต้ วั อกั ษรและตวั เลขมีความจาเป็นอยา่ งมากเป็นที่ยอมรับกนั มาทุกยคุ ทุกสมยั ในอดีตประวตั ิศาสตร์ไทยสมยั กรุงสุโขทยั ในปี พ.ศ. 1826 กษตั ริยส์ มยั พ่อขุนรามคาแหง มหาราช พระองคไ์ ดท้ รงประดิษฐ์ลายสือไท ข้ึน พระองคท์ รงประดิษฐ์ท้งั ตวั อกั ษรและตวั เลข เป็ นของเราเอง

ความหมายของคณติ ศาสตร์ เม่ือเรารู้จกั ตวั เลข รู้จกั การเขียน การอ่าน การบวก การลบ การคูณ และการหาร ตวั เลข สิ่งดงั กล่าวท่ีมาเกี่ยวขอ้ งกบั ตวั เราเราตอ้ งทาความสะอาดรู้จกั และเขา้ ใจความหมายของ คาต่อไปน้ี \"คณติ \" หมายถึง การนบั การคานวณ วชิ าคานวณ การประมาณ \"คณติ ศาสตร์\" หมายถึง วชิ าวา่ ดว้ ยการคานวณหรือตารา คณิตศาสตร์ เป็ นวิชาท่ีมีความจาเป็ นในการประกอบอาชีพ เช่น ด้านกสิกรรม อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม ผูม้ ีอาชีพเป็ นสถานปนิก วิศวกรออกแบบ และควบคุมการ ก่อนสร้าง

วิวัฒนาการหลักสตู รทางการศึกษาของไทยเราจากอดีตถึงปั จจุบนั การพฒั นาหลกั สูตรการศึกษาของไทย ไดม้ ีพฒั นาการมาเป็นระยะ ๆ ตามกาลเวลาในสมยั ต่าง ๆ เร่ิมต้งั แต่สมยั ก่อนกรุงสุโขทยั สมยั กรุงสุโขทยั สมยั กรุงศรีอยธุ ยา สมยั กรุงธนบุรี สมยั กรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน้ สมยั กรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง การศึกษาสมยั ปฎิรูปการศึกษา (๒๔๓๕-๒๔๗๕) ซ่ึงผเู้ ขียนจะพยายามคน้ ควา้ และเสนอหลกั สูตต้งั แต่ยคุ ก่อนสุโขทยั จนถึงยคุ ปัจจุบนั เพ่ือ แสดงให้เห็นการเปลี่ยนและวิวฒั นาการของหลกั สูตรในแต่ละยุคแต่ละสมยั ซ่ึงจะเสนอถึง เหตุผลและหลกั การจดั ทาหลกั สูตรในแต่ละยคุ ดว้ ย

การศึกษาคณิตศาสตร์ของไทยแบ่งตามยุค ดังน้ี ก่อนกรุงสุโขทยั - กรุงสุโขทยั กรุงศรอี ยุธยา (พ.ศ.๑๗๙๒ – ๑๘๙๒) (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐) 03 กรุงรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น กรุงธนบุรี (รชั กาลที่ 1-4 : พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๔๑๐) (พ.ศ. ๒๓๑๐ – ๒๓๒๕)

ก่อนกรงุ สุโขทยั และ กรุงสุโขทยั (พ.ศ.๑๗๙๒ – ๑๘๙๒)

การศึกษาสมยั ก่อนกรุงสุโขทยั กิจกรรมทางการศึกษาท่ีมีอิทธิพลต่อชีวติ ความเป็นอยู่ ของคนในอาณาจกั ร ลา้ นนาไทย ก็คือ กิจกรรมอนั เนื่องด้วยพระพุทธศาสนา มีหลกั ฐาน มากมายท่ีแสดงให้เห็นว่าชาวลา้ นนาสนใจศึกษา และปฏิบตั ิตาม พระธรรมคาส่ังสอน ของ พระพุทธศาสนาอยา่ งจริงจงั นอกจาก ความรู้ ในดา้ นพุทธธรรมแลว้ ความรู้ ความสามารถใน ด้านสถาปัตยกรรมและ ปฏิมากรรม ตลอดจนศิลปะการช่างต่าง ๆ เช่น ช่างทอง ช่างเงิน ช่างเหลก็ กเ็ จริญกา้ วหนา้ มากในอาณาจกั รลานนาไทย

กรงุ สโุ ขทัย พ.ศ.๑๗๙๒ – ๑๘๙๒ การศึกษาของคนในสมยั กรุงสุโขทยั กบั การครองชีวติ เป็นเร่ืองเดียวกนั การศึกษา มิใช่การ เตรียมตวั เพ่อื ชีวติ แต่การศึกษาคือ ชีวติ (Education is Life) การศึกษาคือการแกป้ ัญหา เป็นการศึกษา โดยการปฏิบตั ิจริง (Learning by Doing) พทุ ธศาสนา มีอิทธิพลอยา่ งสาคญั ต่อ การดาเนินชีวิตของ คนไทย การศึกษาในสมยั กรุงสุโขทยั แบ่งออกเป็ น ๒ สาย คือ สาย ฆราวาส และ สายบรรพชิต

สายฆราวาส การศึกษาเล่าเรียนสายฆราวาส มี 2 ดา้ นใหญ่ ๆ คือ 1. ดา้ นวิชาชีพ ศึกษาและเรียนรู้ในครอบครัวจากพอ่ แม่และเครือญาติ 2. ดา้ นความประพฤติ ศึกษาและปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธองค์ มีพระสงฆเ์ ป็นผสู้ ง่ั สอน อบรมและ มีวดั เป็นศูนยก์ ลาง การศึกษาอบรม สายบรรพชิต คือการศึกษาของพระสงฆ์ จากหลกั ฐานต่างๆ พอสรุป ไดว้ า่ พระสงฆใ์ นสมยั กรุงสุโขทยั สนใจ ศึกษาพระไตรปิ ฎกอยา่ งลึกซ้ึงพระเจา้ แผน่ ดินกท็ รงใหก้ าร สนบั สนุนอยา่ งเตม็ ที่ถึงกบั ทรงพระราชทานราชสานกั ใหเ้ ป็น ท่ีเล่าเรียน ของ พระสงฆ์

การศึกษาคณิตศาสตร์ก่อนกรงุ สโุ ขทัย สมยั กรุงสุโขทยั ( พ.ศ. 1781-1921) การศึกษาเนน้ ที่การเรียนรู้ภาษาบาลีและการศึกษา พระธรรมวนิ ยั วดั จึงเป็นโรงเรียน ครูผสู้ อนกค็ ือพระ ซ่ึงมีความเชี่ยวชาญในวิชาภาษาบาลีและ นกั เรียนตอ้ งเป็นศิษยว์ ดั ซ่ึงแน่นอนเหลือเกินที่นกั เรียนก็จะตอ้ งเป็นผชู้ ายลว้ นๆ เพราะผหู้ ญิง ไม่อาจจะไปอยใู่ กลช้ ิดกบั พระส่วนบุตรเจา้ นายและขา้ ราชการก็จะรับการศึกษาในสานกั ราช บณั ฑิตซ่ึงต้งั อยใู่ นวงั ราชบณั ฑิตท่ีเป็นครูสอนก็ตอ้ งเคยบวชเรียนมาก่อน และรู้ธรรมวินยั ออ ย่างแตกฉาน ในสมยั กรุงสุโขทยั น้ีได้มีการประดิษฐ์อกั ษรไทยข้ึนในปี พ.ศ. 1826 สาหรับ การศึ กษาวิชาคณิ ตศาสตร์ ไม่ มี เอกสารหรื อหลักฐานตอนใดกล่าวถึ งวิชาคณิ ตศาสตร์ ไว ้ โดยตรงแต่พออ่านจากศิลาจารึก และหลกั ฐานอื่นๆไดว้ ่าการเรียนสมยั น้นั มี อ่าน เขียน และ เลข ซ่ึงเรียกวา่ วชิ าไตรภาค ท่ีวา่ มีเลขอยดู่ ว้ ยเพราะมีการศึกษาทางดา้ นโหราศาสตร์ ซ่ึงวชิ าเลข ยอ่ มเป็นพ้นื ฐานของวชิ าโหราศาสตร์

ตัวเลขที่ปรากฏในหลักศิลา จารกึ ในสมัยสโุ ขทัย ตวั เลขทใี่ช้ ได้แก่ ๐๑๒๔๕๗

สมยั สโุ ขทัย มกี ารใช้ ”เงินกลม” ท่ีเรียกว่า “เงินพดด้วง” และมกี ารใช้ “เบ้ยี หอย” มีการแสดงการอ่านและการใชจ้ านวน เช่น สาม สอง สิบเกา้ หมื่น แสน ลา้ นมีการระบุ บทลงโทษสาหรับผทู้ ่ีใหท้ ่ีพกั พิงแก่คนโทษ หรือทาส ท่ีหนีไป

วิชาไตรภาคสมยั ก่อนกรงุ สโุ ขทัย วิชาไตรภาคสมัยก่อนกรุงสุโขทัย หมายถึง แบ่งปี การศึกษาออกเป็ นสาม ภาค โดยบงั คบั ให้เรียนสองไตรภาค มีสัปดาห์ท่ีตอ้ งเรียนระหว่าง 28 ถึง 32 สปั ดาห์ ระบบน้ีพฒั นาจากระบบทวภิ าคในช่วงทศวรรษ 1960s โดยยน่ ยอ่ ทวิภาค ละ 16–18 สัปดาห์ลงเหลือไตรภาคละ 14–16 สัปดาห์ ไตรภาคฤดูใบไมผ้ ลิและ ฤดูร้อนอาจเป็ นไตรภาคเดียว หรือแบ่งออกเป็ นสองไตรภาคแบ่งกนั ระหว่างฤดู ใบไมผ้ ลิและฤดูร้อน โดยฤดูร้อนมีเพียงเวลาส้ันกว่าและตอ้ งเพ่ิมเวลาเรียนต่อ สัปดาห์เพ่ือใหไ้ ดจ้ านวนคาบเรียนครบตามไตรภาคปกติ

ความเป็ นมาของวิชาโหราศาสตร์สมยั ก่อนสโุ ขทัย ความเป็นมาของวิชาโหราศาสตร์สมยั ก่อนสุโขทยั หมายถึง เราทราบในเบ้ืองตน้ แลว้ วา่ โหราศาสตร์ เกิดข้ึนในทวีปเอเชียกลางต้งั แต่ก่อนคริสตกาลประมาณ 4000 – 3000 ปี หรือเทียบกบั พทุ ธศกั ราชของเราก็ ประมาณ 4543 – 3543 ปี ก่อนพทุ ธศกั ราช และถา้ นบั ถึงปัจจุบนั (พ.ศ. 2554)กแ็ สดงวา่ โหราศาสตร์เกิดข้ึนมาใน โลกน้ีไดย้ าวนานกวา่ 6000 – 7000 พนั ปี แลว้ นน่ั เอง จะสงั เกตไดว้ า่ การแพร่กระจายหรือการผสมผสานของ ความรู้ในดา้ นโหราศาสตร์น้นั ส่วนใหญ่เกิดจากการขยายดินแดนของอาณาจกั รต่าง ๆ ในอดีตท้งั สิ้น ไม่วา่ จะเป็น การขยายอาณาจกั รของกษตั ริยซ์ าร์กอนแห่งอคั คาด(Sargon of Akkad) ในยคุ เมโสโปเตเมีย หรือการขยาย อาณาจกั รของพระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great) ในยคุ ตน้ ก่อนจะถึงคริสตศ์ กั ราช ตลอดจน การสงครามขยายดินแดนหรือเมืองข้ึนในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตข้ องเรา โดยเฉพาะประเทศมองโกล พม่า มอญ เขมร ไทย และลาว ฯลฯส่วนอินเดียศรีลงั กา และจีนน้นั เป็นการถ่ายทอดทางดา้ นวฒั นธรรมและการคา้ ขาย มากกวา่ การสงครามเราจะศึกษาถึงความเป็นมาของ โหราศาสตร์ไทย จากตารับตาราโหราศาสตร์ไทยในอดีตเป็น หลกั ผสมผสานกบั การคน้ ควา้ จากสากลของนกั โหราศาสตร์ในยคุ ใหม่ควบคูก่ นั ไป

ความเป็ นมาของวิชาโหราศาสตร์สมยั ก่อนสโุ ขทัย จากการศึกษาประวตั ิศาสตร์กล่าวไดว้ า่ ไทยไดร้ ับวฒั นธรรมทางโหราศาสตร์มาจาก อินเดียตอนใต้ ประมาณพทุ ธศกั ราช 200 ปี เศษ (สิงห์โต สุริยาอารักษ.์ 2554) (สอดคลอ้ งกบั ยคุ เมโสโปเตเมียหรือประมาณ 300 ปี ก่อนคริสตกาล: ผเู้ ขียน /+543 ปี ) โดยผา่ นทางอาณาจกั รเขมรท่ี ชาวอินเดียภาคใตแ้ ละพราหมณ์หนีภยั สงครามการขยายแสนยานุภาพของพระเจา้ อโศกมหาราชมา พ่ึงพา ประจวบพอ้ งกบั การอพยพยา้ ยถ่ินของไทยมาจากประเทศจีน ไทยจึงไดร้ ับการศึกษาวชิ า โหราศาสตร์พร้อมกบั ลทั ธิทางศาสนาและพธิ ีการพราหมณ์มาดว้ ย นอกจากน้ี การนบั ปี ของไทย คือการนบั ปี ชวด ฉลู ขาล เถาะ มะโรง มะเส็ง ฯลฯ หรือที่เรา เรียกกนั วา่ ปี นกั ษตั ร น้นั เป็นการนบั ปี ทางระบบจนั ทรคติเช่นเดียวกบั ระบบทางประเทศจีน ผรู้ ู้ทาง ภาษาศาสตร์สนั นิษฐานวา่ ศพั ทพ์ วกน้ีเป็นภาษาเขมรส่วนการใชศ้ กั ราชของไทยกม็ ีววิ ฒั นาการมา หลายอยา่ ง เช่นมีการใช้ มหาศกั ราช ซ่ึงรับอิทธิพลมาจากประเทศอินเดีย หรือใช้ จุลศกั ราช

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย คือภาษาเขียนของคนไทยเกิดข้ึนหลงั จากที่คนไทยสร้างเมืองของตนเองข้ึนแลว้ คือ สุโขทยั เม่ือปี พ.ศ. ๑๘๒๖ พอ่ ขนุ รามคาแหง กษตั ริยอ์ งคท์ ี่ ๓ ของเมืองสุโขทยั ทรงจารึก เร่ืองตวั หนงั สือไทยไวใ้ นศิลาจารึกสุโขทยั หลกั ที่ ๑ ตอนหน่ึงวา่ เมื่อประมาณ ๗๐๐ ปี ท่ีแลว้ มา เมืองสุโขทยั ของคนไทยนบั วา่ เป็นเมืองใหม่ในยา่ นเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ก่อนหนา้ น้นั ชนชาติอ่ืนๆ รอบดา้ น มีการรวมตวั กนั เป็นเมืองอยกู่ ่อนแลว้ และที่เป็นเมืองแลว้ ต่างกม็ ีภาษา เขียนเป็นของตนเองท้งั สิ้น เมืองเขมร เมืองมอญ เมืองพม่า ลว้ นมีภาษาเขียนของตนเองก่อนคน ไทย ในยคุ น้นั และก่อนหนา้ น้นั เท่าท่ีปรากฏในอินเดีย ลงั กา และในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ การจารึกเร่ืองของการปกครองเมือง ศาสนา และประชาชน นบั เป็นประเพณีนิยมของกษตั ริย์ ทว่ั ไป

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย เม่ือกษตั ริยพ์ ระองคใ์ หม่ข้ึนปกครองเมือง เมื่อมีการทาสงคราม การทาบุญคร้ังใหญ่ หรือเม่ือมีเหตุการณ์สาคญั ๆ เกิดข้ึนในเมือง กเ็ ป็นประเพณีของกษตั ริยท์ ี่จะทรงบนั ทึกเร่ืองราว ไว้ ในอินเดียและลงั กา มีการเกบ็ บนั ทึกจารึกต่างๆ ท้งั ของวดั และกษตั ริยน์ บั ไดเ้ ป็นจานวน แสน ประเพณีการจารึกเรื่องราวน้ีไดแ้ พร่หลายมาถึงเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตด้ ว้ ย และในยา่ นน้ี จารึกโบราณมีท้งั ภาษาบาลีสนั สกฤต และต่อมากม็ ีจารึกเป็นภาษาของคนพ้นื เมืองดว้ ย คนไทย คงจะใชต้ วั อกั ษรอื่นท่ีใชแ้ พร่หลายกนั อยใู่ นยา่ นน้นั มาก่อนซ่ึงมีท้งั อกั ษรมอญและขอม แต่เมื่อ คนไทยมีเมืองเป็นของตนเอง มีกษตั ริยไ์ ทยเองแลว้ แรงผลกั ดนั ที่จะตอ้ งมีตวั อกั ษรของตนเอง เพ่อื บนั ทึกเร่ืองราวของกษตั ริยแ์ ละเมืองตามประเพณีอยใู่ นขณะน้นั กย็ อ่ มเกิดข้ึน

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย หวั ขอ้ พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ตวั เลขไทย อกั ษรไทยอื่นๆ พยญั ชนะ แมว้ า่ อกั ษรไทย ท่ีปรากฏในศิลาจารึกสุโขทยั หลกั ท่ี ๑ ซ่ึงถือกนั เป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์วา่ เป็นการจารึก อกั ษรไทยคร้ังแรกน้นั ไดใ้ ชพ้ ยญั ชนะไม่ครบท้งั ๔๔ ตวั คือมีเพยี ง ๓๙ ตวั ขาดตวั ฌ ฑ ฒ ฬ และ ฮ ไม่ครบชุดพยญั ชนะเหมือนท่ีใชส้ อนวชิ าภาษาไทยในโรงเรียนในปัจจุบนั แตเ่ รากอ็ าจ สนั นิษฐานวา่ ระบบภาษาเขียน ในขณะน้นั มี จานวนพยญั ชนะเท่ากบั ในปัจจุบนั

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย ดว้ ยเหตุผล ๓ ประการ คือ ประการแรก จารึกหลกั ท่ี ๒ และจารึกยคุ ต่อๆ มาใชต้ วั อกั ษรอีก ๔ ตวั ท่ีไม่ปรากฏในศิลา จารึกหลกั ท่ี ๑ และถึงแมเ้ ราจะไม่พบตวั อกั ษร \"ฮ\" ในศิลาจารึกในยคุ ต่อๆ มากเ็ ป็นท่ีเชื่อไดว้ า่ \"ฮ\" มีอยแู่ ลว้ ในระบบ ประการท่ี ๒ คือ ภาษาเขียนน้นั ประดิษฐข์ ้ึนเป็นระบบ ใหม้ ีอกั ษรสูงทุกตวั คู่กบั อกั ษรต่า \"ฮ\" มีข้ึนเพ่อื คู่กบั \"ห\" ประการที่ ๓ คือ \"ฮ\" เป็นอกั ษรที่มีท่ีใชน้ อ้ ยท่ีสุดเมื่อเทียบกบั อกั ษรอื่นๆ โดยเฉพาะอยา่ ง ยงิ่ กบั คาในภาษาสมยั โบราณ แมใ้ นขณะที่เขียนเร่ืองภาษาอยนู่ ้ีถา้ เราไม่กล่าวถึงตวั \"ฮ\" โอกาส ท่ีเราจะใชค้ าที่เขียนดว้ ยตวั \"ฮ\" แทบจะไม่มีเลย และเพราะเหตุน้ีจึงไม่น่าท่ีจะมีการคิดเพ่มิ อกั ษร \"ฮ\" ข้ึนภายหลงั เพราะไม่มีความจาเป็นในการใช้

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย โดยสรุปในแง่ของพยญั ชนะท่ีประดิษฐข์ ้ึนในสมยั สุโขทยั กค็ ือ มีจานวน ๔๔ ตวั อกั ษรเท่าที่ปรากฏในสมยั ปัจจุบนั แต่การเขียนตวั อกั ษรไดเ้ ปล่ียนแปลงไปศิลาจารึกของพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช สมยั สุโขทยั สระ การเขียนสระในศิลาจารึกสุโขทยั หลกั ท่ี ๑ ต่างจาก การเขียนสระในสมยั ปัจจุบนั มาก ท้งั รูปร่าง สระและวธิ ีการเขียนกล่าวคือ สระเขียนอยใู่ น บรรทดั เช่นเดียวกบั พยญั ชนะ แต่ในสมยั สุโขทยั ยคุ ต่อมา ไดก้ ลบั ไปเขียนแบบใหม้ ีสระอยู่ รอบๆ พยญั ชนะ คือ มีท้งั ที่เขียนขา้ งหนา้ ขา้ งบน ขา้ งหลงั และขา้ งล่าง

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย วรรณยกุ ต์ รูปวรรณยกุ ตท์ ี่ใชเ้ ขียนกากบั ในยคุ สุโขทยั มีเพียง ๒ รูป คือ ไมเ้ อก และ ไมโ้ ท แต่ไมโ้ ทใชเ้ ป็นเคร่ืองหมายกากบาทแทน ส่ิงที่น่าสงั เกตเก่ียวกบั รูปวรรณยกุ ตค์ ือไม่ใช่ ตวั อกั ษรแทนเสียงในทานองเดียวกบั ตวั พยญั ชนะและสระ เพราะไมเ้ อกไม่ไดก้ ากบั เฉพาะคาที่ มีเสียงเอกเท่าน้นั ใน ทานองเดียวกนั ไมโ้ ทกไ็ ม่ไดก้ ากบั เสียงโทเท่าน้นั แต่เสียงวรรณยกุ ต์ เปลี่ยนไปตามลกั ษณะพยญั ชนะตน้ ของคา คือ ไมเ้ อก บอกเสียงเอกในคาท่ีข้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรสูง และกลาง แต่บอกเสียงโทในคาที่ข้ึน ตน้ ดว้ ยอกั ษรต่า และไมโ้ ท บอกเสียงโทในคาที่มี พยญั ชนะตน้ เป็นอกั ษรสูงและกลาง

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย ตวั เลขไทย ตวั เลขนบั เป็นส่วนสาคญั ของการเขียน ดงั เราไดท้ ราบแลว้ วา่ การบนั ทึกระยะแรกๆ ของภาษาโบราณของโลก เป็นการบนั ทึกเร่ืองจานวนสิ่งของและผคู้ น และตวั เลขกย็ งั มี ความสาคญั ตลอดมา ตวั เลขไทยคงจะประดิษฐข์ ้ึนในเวลาเดียวกนั กบั ตวั อกั ษรอ่ืนๆ แมใ้ นศิลา จารึกสุโขทยั หลกั ท่ี ๑ เราจะไม่พบเลขครบท้งั ๑๐ ตวั ขาด ๓ ๖ ๘ และ ๙ แต่เรากอ็ นุมานไดใ้ น ทานองเดียวกบั พยญั ชนะวา่ ตอ้ งมีตวั เลขเหล่าน้ีอยแู่ ลว้ เพราะการประดิษฐต์ วั เลขน้นั ตอ้ งเป็น ระบบและมีลาดบั ที่สาคญั เราพบตวั เลขที่ขาดไปในจารึกสมยั ของพระยาลิไท แสดงวา่ ตวั เลข ท้งั หมดมีอยแู่ ลว้ ตวั เลขสมยั สุโขทยั เขียนแตกต่างไปจากตวั เลขสมยั ปัจจุบนั มาก

อักษรสมยั กรงุ สโุ ขทัย นอกจากอกั ษรไทยท่ีสืบทอดมาจากสุโขทยั ที่กล่าวมาแลว้ ในเมืองไทยยงั มีตวั อกั ษร พ้ืนเมืองอ่ืนๆ ที่รู้จกั กนั อีกคือ ตวั อกั ษรฝักขาม และตวั อกั ษรพ้ืนเมืองลา้ นนา ซ่ึงในปัจจุบนั ไม่ไดใ้ ชเ้ ขียนอ่านในชีวติ ประจาวนั แลว้ ตวั อกั ษรท่ีเราใชเ้ ขียนในราชการ ในโรงเรียน และใน การสื่อสารทว่ั ๆ ไป ในปัจจุบนั เป็นตวั เขียนท่ีมีววิ ฒั นาการสืบทอดมาจากลายสือไทยท่ีพอ่ ขนุ รามคาแหงทรงประดิษฐข์ ้ึนที่เราไดเ้ ห็นในศิลาจารึกสุโขทยั หลกั ที่ ๑ จาก \"การจารึก\" บนแผน่ ศิลา มาสู่การเขียนดว้ ยมือ และในปัจจุบนั นอกจากการเขียนแลว้ เรายงั \"พมิ พ\"์ ภาษาไทยดว้ ย พมิ พด์ ีด และดว้ ยเคร่ืองคอมพิวเตอร์อีกดว้ ย

สถานศึกษาในสมัยสโุ ขทัย บา้ น สานักราชบณั ฑิต สานักสงฆ์ พระราชสานัก

วิชาที่สอนในสมยั สโุ ขทัย 1 11 วิชาความร้สู ามญั วิชาชีพ 111 1V วิชาจริยศึกษา วิชาศิลปะป้ องกันตัว

ด้านการศาสนา ในสมยั พอ่ ขมุ รามคาแหงมหาราช พระพทุ ธศาสนาไดเ้ จริญรุ่งเรือง ข้ึนมาก มีการ สร้างวดั พระพทุ ธรูป ทาบุญในวนั พระ และสมยั พญาลิไท พระองคม์ ีศรัทธาแรงกลา้ ทรงออกผนวช นบั เป็น พระมหากษตั ริยไ์ ทย พระองคแ์ รกท่ีทรงออกผนวชและไดท้ รงพระราชนิพนธ์หนงั สือเกี่ยวกบั พระพทุ ธศาสนาคือ “ไตรภูมิพระร่วง” หรือ เตภูมิกถา

หลักฐานทางประวัติศาสตร์สโุ ขทัย 1. ศิลาจารึก 2. หลกั ฐานดา้ นโบราณคดีและศิลปกรรม 3. หลกั ฐานภาพถา่ ยทางอากาศและภาพถา่ ยจากดาวเทียม 4. จดหมายเหตุจีนท่ีสาคญั สาหรับสุโขทยั 5. หลกั ฐานเอกสารไทย แบ่งออกเป็น 3 จาพวกคือ (1) พระราชพงศาวดารและพ้นื /ตานานสิบหา้ ราชวงศ์ (2) ตานานศาสนา (3) หลกั ฐานเอกสารอ่ืน ๆ

ด้านการปกครองของอาณาจักรสโุ ขทัย อาณาจกั รสุโขทยั ปกครองดว้ ยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซ่ึงแบ่งออกได้ เป็น 2 ระยะ 1.แบบพ่อปกครองลูก ในระยะแรกสุโขทยั มีการปกครองแบบพอ่ ปกครองลูก พระมหากษตั ริยเ์ รียกวา่ \"พอ่ ขนุ \" ซ่ึงเปรียบเสมือนพอ่ ท่ีจะตอ้ งดูแลคุม้ ครองลูก 2.แบบธรรมราชา กษตั ริยผ์ ทู้ รงธรรม ในสมยั ของพระมหาธรรมราชาที่ ๑ มีกาลงั ทหารที่ไม่ เขม้ แขง็ ประกอบกบั อาณาจกั รอยธุ ยาท่ีก่อต้งั ข้ึนใหม่ไดแ้ ผอ่ ิทธิพลมากข้ึน

ด้านการปกครองของอาณาจักรสโุ ขทัย ดา้ นการปกครองส่วนยอ่ ยสามารถแยกกล่าวเป็น 2 แนว ดงั น้ี ในแนวราบ จดั การปกครองแบบพอ่ ปกครองลูก กล่าวคือผปู้ กครองจะมีความใกลช้ ิดกบั ประชาชน ใหค้ วามเป็นกนั เองและความยตุ ิธรรมกบั ประชาชนเป็นอยา่ งมาก ในแนวดง่ิ ไดม้ ีการจดั ระบบการปกครองข้ึนเป็น 4 ชนช้นั คือ 1. พอ่ ขนุ 2. ลูกขนุ 3. ไพร่หรือสามญั ชน 4. ทาส

กรุงศรอี ยุธยา (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐)

กรงุ ศรีอยุธยา สมยั กรุงศรีอยธุ ยาเร่ิมแรก: มีการจดั การเรียนการสอน เช่นเดียวกนั กบั สมยั สุโขทยั หลงั สงคราม: มีการติดตอ่ จากชาวตะวนั ตก และ เอเชียมากข้ึน(ฝร่ังเศส, จีน, อินเดีย)มีการเปล่ียนแปลงพฒั นาการศึกษาอยา่ ง ยง่ิ ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช เม่ืออนุมานเอาจากหลกั ฐานต่างๆ ทางประวตั ิศาสตร์และโบราณคดีแลว้ กลา่ วไดว้ า่ ในช่วงท่ียงั ไม่มีการติดตอ่ กบั ฝรั่งน้นั

กรงุ ศรีอยุธยา กรุงศรีอยธุ ยา มี ธรรมเนียมการศึกษาเช่นเดียวกบั กรุงสุโขทยั กลา่ วคือ วัด วิชาชีพ ทางฝ่ าย ราชสานกั

รปู แบบการจัดการศึกษา 1. การศึกษาวชิ าสามัญ 2. การศึกษาทางด้านศาสนา 3. การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี 4. การศึกษาของผู้หญงิ 5. การศึกษาวชิ าการด้านทหาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook