Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติงานวิชาการ - ปรับปรุง62

คู่มือปฏิบัติงานวิชาการ - ปรับปรุง62

Published by kruyok nampleeksuksa, 2019-06-10 19:17:08

Description: คู่มือปฏิบัติงานวิชาการ - ปรับปรุง62

Search

Read the Text Version

คมู อื ปฏบิ ตั ิงานฝา ยวชิ าการโรงเรียนน้ําปลกี ศึกษา ๑

คูมือปฏบิ ตั ิงานฝา ยวชิ าการโรงเรียนนาํ้ ปลีกศึกษา ๒ คมู อื ปฏบิ ตั ิงานฝา ยวชิ าการ แนวคดิ หลกั ในการบริหารวิชาการ งานวิชาการเปน ภารกจิ หลกั ของสถานศึกษาท่ี พ.ร.บ. การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไ ขเพ่มิ เตมิ ( ฉบับ2 ) พ.ศ.2545 มุงใหกระจายอํานาจในการบริหารจัดการไปใหสถานศึกษาใหมากท่ีสุดดวยเจตนารมณท่ีจะให สถานศึกษาดําเนินการไดโดยอิสระ คลองตัวรวดเร็ว สอดคลองกับความตองการของผูเรียน สถานศึกษา ชุมชน ทองถ่ิน และ การมีสวนรวมจากผูที่มีสวนไดเสียทุกฝาย ซึ่งจะเปนปจจัยสําคัญทําใหสถานศึกษามีความเขมแข็งในการ บริหารจัดการสามารถพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรูตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทั้งวัดปจจัย เกื้อหนุนการพัฒนาคณุ ภาพนกั เรยี น ชมุ ชน ทองถน่ิ ไดอ ยางมีคณุ ภาพ และ มีประสิทธิภาพ วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อใหการบริหารงานดานวชิ าการมีอิสระ คลองตัว รวดเร็ว และ สอดคลอ งกับความตองการของ นักเรียน สถานศึกษา ชุมชน ทองถิน่ 2. เพอ่ื ใหการบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนไดมาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคลอ งกับระบบ ประกนั คุณภาพการศึกษา และ ประเมนิ คณุ ภาพภายในเพ่ือพัฒนาตนเอง และ จากการประเมินหนวยงาน ภายนอก 3. เพื่อใหโ รงเรยี นพฒั นาหลักสตู ร และ กระบวนการเรียนรู ตลอดจนปจ จัยหนุนการเรยี นรูที่สนองตอความ ตองการของผเู รยี น ชุมชน และ ทองถน่ิ โดยยดึ ผเู รยี นเปนสาํ คัญไดอยางมีคุณภาพ และ ประสทิ ธิภาพ 4. เพื่อใหโรงเรยี นไดประสานความรว มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา และ ของบุคคล ครอบครัว องคกร หนว ยงาน และ สถาบนั อืน่ ๆอยางกวา งขวาง ขอบขา ยภารกิจ 1. การพฒั นาหลักสตู รและกระบวนการเรียนรู 2. การจัดทาํ ทะเบยี นและวัดผล-ประเมินผล 3. การบรหิ ารกลุมสาระการเรยี นรูแ ละกิจกรรมพัฒนาผูเ รยี น 4. การสง เสรมิ คุณภาพการจัดการศกึ ษา 5. การสง เสรมิ พฒั นาส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 6. การพฒั นาหอ งสมุดและแหลง เรยี นรู 7. การสรางเครือขา ยพฒั นาหลักสตู รและการจดั การเรียนการสอน งานในฝา ยวชิ าการ 1. งานธุรการฝายวิชาการ 2. งานหลกั สูตรและการสอน 3. งานกลุมสาระการเรยี นรูและกิจกรรมพัฒนาผเู รียน 4. งานทะเบียน 5. งานวดั ผล

คูม ือปฏิบตั ิงานฝายวชิ าการโรงเรียนนา้ํ ปลกี ศึกษา ๓ 6. งานศูนยส อ่ื และแหลง เรยี นรู 7. งานสวนพฤกษศาสตร 8. งานศูนย ICT 9. งานหองสมดุ 10. งานแนะแนว 11. งานโรงเรยี นในฝน 12. งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา 13. งานวิจยั และพฒั นาการศึกษา 14. งานนิเทศและบริการทางการศกึ ษา งานธรุ การฝา ยวชิ าการ/ธรุ การกลุมสาระการเรยี นรู 1. จัดทาํ ทะเบียนคุมและจัดทําแฟมเอกสารหนงั สือรับ-สง ของฝายวิชาการ กลุมสาระการเรียนรู 2. ประสานงาน แจง หนังสอื เวยี นตา งๆ ใหผ ูเกย่ี วของทราบ 3. จัดทําวาระการประชมุ บันทึกและรายงานการประชุมของฝา ยวชิ าการเสนอผเู ก่ยี วของทราบตามลาํ ดบั 4. รับผดิ ชอบการเบิก-จายพัสดุ ตรวจสอบและรายงานพัสดคุ รุภัณฑประจําปข องสํานักงานฝา ยวิชาการ 5. ควบคุมการออกเกียรติบัตรของฝายวิชาการ 6. อืน่ ๆ ตามทไี่ ดรับมอบหมาย งานหลกั สตู รและการสอน 1. หลกั สตู รสถานศึกษา 1.1 ศกึ ษาวิเคราะหเอกสารหลักสตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 สาระแกนกลางของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพปญหา และความตองการของสงั คม ชุมชน และทอ งถ่ิน 1.2 วิเคราะหสภาพแวดลอม และ ประเมนิ สถานภาพสถานศึกษาเพ่ือกาํ หนดวสิ ยั ทัศน ภารกจิ เปา หมาย คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคโ ดยมสี วนรว มของทุกฝา ยในโรงเรียน และชมุ ชน 1.3 จัดทําโครงสรา งหลกั สตู รและสาระตา ง ๆ ท่ีกําหนดใหมใี นหลกั สตู รสถานศึกษาท่สี อดคลอ งกบั วิสยั ทศั น เปา หมาย และคณุ ลักษณะที่พึงประสงค โดยพยายามบรู ณาการเน้อื หาสาระทั้งในกลมุ สาระการเรยี นรูเดียวกนั และ ระหวา งกลมุ สาระการเรยี นรูตามความเหมาะสม 1.4 นําหลักสูตรไปใชในการจัดการเรียนการสอน และบริหารจัดการการใชหลกั สูตรใหเหมาะสม 1.5 เสนอแตงต้งั คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร 1.6 จัดทาํ หลกั สตู รและแนวปฏบิ ตั กิ ารใชหลกั สตู ร 1.7 ตรวจสอบเกีย่ วกบั การโอน/ยาย หลกั สตู รระหวางโรงเรยี นและหลกั สตู รอนื่ 1.8 สาํ รวจความตองการของผรู ับบริการในการจดั การเรียนการสอนนอกระบบโรงเรียน การเรยี นแบบอัธยาศยั รวมท้ังกําหนดแนวทางการใชห ลกั สตู ร เสนอแนะกลมุ งาน งาน ท่ีเกย่ี วของในการดําเนินงาน

คมู ือปฏิบัติงานฝายวชิ าการโรงเรียนนาํ้ ปลีกศกึ ษา ๔ 2. การจัดตารางสอน/จัดครูเขาสอน/จัดสอนแทน 2.1 สาํ รวจความรู ความสามารถของครู และความสอดคลองของครกู ับหลักสตู รของโรงเรยี น ประสานกบั กลุม บรหิ ารงานบุคคลเพือ่ จดั สรรอัตรากําลงั 2.2 วิเคราะหโ ครงสรางหลกั สูตร สํารวจความตองการ ความถนดั ความสนใจรว มกบั กลุมงานแนะแนว และ เสนอแนะตอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รเพือ่ จดั รายวิชาใหนักเรียนลงทะเบียน 2.3 จดั ตารางสอนนกั เรียน ครู ตารางการใชห อง และติดตาม ควบคมุ ใหการดําเนนิ การตามตารางสอนให ถกู ตอง ทงั้ การเรียนและการสอน 2.4 กาํ หนดแนวปฏบิ ตั ิในการจดั สอนแทน ติดตามผลการปฏิบตั ิ งานกลุม สาระการเรียนรแู ละกจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น 1. งานกลุม สาระการเรยี นรู 1.1 จัดโครงสรา งการบริหารกลมุ สาระการเรียนรู 1.2 บริหารกลมุ สาระการเรยี นรใู หเ ปนไปตามหลักสูตรของโรงเรียน สอดคลองกับนโยบาย วิสัยทัศน พันธะกิจ และเปาหมายของโรงเรยี น และของหลักสตู ร 1.3 ควบคุม ดูแล กํากับการใชหลักสูตรของกลุมสาระการเรียนรู ประเมินผลการใชหลักสูตรอยางตอเน่ือง รวมทง้ั เสนอขอปรับปรงุ หลกั สูตรเม่อื พบขอ บกพรอง หรอื จุดที่ควรพฒั นา 1.4 จัดทําเอกสารแผนงาน/โครงการตามฝายธรุ การโรงเรยี นกําหนดและสอดคลองกบั แผนงานโรงเรียน 1.5 ควบคมุ ดแู ล กาํ กับใหครูในกลุมสาระการเรียนรทู ุกคนจัดทาํ หลกั สตู รชน้ั เรยี น แผนการจดั การเรียนรแู ละ สอนตามแผนการจดั การเรียนรู การตรวจสมุด ปพ.5 ขอ สอบกลางภาค ขอสอบปลายภาค การประเมินการอา น คดิ วเิ คราะหแ ละเขียน สมรรถนะของผูเ รยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค 1.6 กํากบั ติดตามใหครเู ขา สอนตามตารางสอนทกุ คาบ จดั สอนซอ มเสรมิ สอนชดเชยและสอนแทนเมื่อครูใน กลุม สาระลาหรือไปราชการ 1.7 จดั ใหม ีการนิเทศงานวชิ าการในกลุมสาระการเรียนรู ประชุมครูในสังกัดอยางนอยเดือนละ 1 คร้ัง เพ่ือ ปรับปรงุ แกป ญหาและพัฒนาการเรยี นการสอน การวจิ ยั ในชั้นเรียน และการพัฒนาครูโดยการประชุมสัมมนา ศึกษาดูงาน 1.8 จดั กิจกรรมเสริมหลกั สูตร และรว มกบั งานกิจกรรมพฒั นาผเู รียนจัดกิจกรรมพัฒนาผเู รียน 1.9 ประสานงานระหวา งกลมุ สาระการเรยี นรู และกจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ในการบูรณาการการเรยี นการสอน ระหวางกลมุ สาระ และกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 1.10 จดั ทําหลกั สูตรสถานศกึ ษาของกลุมสาระ 1.11 ประสานงานใหมกี ารจัดหา ผลติ และใชส่ือการเรียนการสอน ปรบั ซอ มส่อื การเรียนการสอน 1.12 จัดใหม ีการพัฒนาครูดานวิชาการในรปู แบบตางๆ เพื่อใหค รูสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 1.13 สงเสรมิ ใหมกี ารจดั กิจกรรมทางวิชาการรปู แบบตาง ๆ เชน การประกวด แขง ขันและสาธิต 1.14) จัดระบบขอ มูล สถติ ิ เอกสารสารสนเทศของกลมุ สาระการเรยี นรู 1.15 กํากบั ดูแลกิจกรรมชมุ ชน และโครงการพิเศษที่อยใู นความรับผดิ ชอบของกลุม สาระการเรียนรู 1.16 จัดทาํ เอกสารสรปุ ผลการดําเนนิ งานของกลมุ สาระการเรยี นรู เสนอตอโรงเรยี นเมื่อส้ินภาคเรียน/ป

คูม ือปฏบิ ตั งิ านฝายวชิ าการโรงเรียนน้ําปลกี ศึกษา ๕ 2. งานกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น 2.1 กําหนดแผนการจัดกจิ กรรมพฒั นาผูเรียนใหเ ปน ไปตามหลักสูตรสถานศึกษา และนโยบายของ สถานศกึ ษา 2.2 จดั ทาํ คมู ือ แนวปฏบิ ตั ทิ ่เี ก่ียวขอ งกับการจัดกจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น 2.3 กํากับ ติดตาม ดูแลการจัดกจิ กรรมพัฒนาผูเ รียนของครแู ละนกั เรยี นใหเปน ไปดวยความเรยี บรอ ยและมี ประสิทธิภาพ 2.4 ประสานงานในการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู รยี นของสถานศกึ ษาทุกรูปแบบกบั ทุกฝา ยใหเ กดิ ประสทิ ธผิ ลสูงสดุ 2.5 ประเมินผลการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู รียนของครูและนักเรียน สรุปรายงานเสนอตอ โรงเรียนและฝา ย ทีเ่ กี่ยวของ งานทะเบียน 1. จัดหาวัสดุ อปุ กรณ เอกสาร ระเบยี บ คูมือ เก่ยี วกับงานทะเบียนและจดั เกบ็ เปน แฟมอยา งเปนระบบ 2. ดาํ เนนิ การกรอกขอมูลนักเรียน ลงทะเบียนขอมูลลงในโปรแกรม SGS ในระบบงานทะเบยี น 3. เก็บรกั ษาเอกสาร/หลักฐานทเี่ กี่ยวของตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี 4. จดั ทําแบบฟอรม แบบคาํ รองตางๆ ที่เกย่ี วของกบั งานทะเบยี น 5. ดาํ เนินงานเร่ืองการยา ยเขาและยา ยออกของนักเรียน ในชว งระหวา งปก ารศึกษา 6. จัดทําบญั ชเี รียกชื่อนักเรียนตรวจสอบใหถ ูกตองเปนปจ จุบนั 7. เกบ็ รกั ษาและรวบรวมสถิติขอ มลู ผลการเรยี นของนกั เรยี น รวมทงั้ เผยแพรและรายงานผเู ก่ยี วขอ งทราบ 8. จดั ทาํ แนวปฏบิ ัติที่เก่ยี วของกับงานทะเบยี น 8.1 การลาออก หรือยายสถานศึกษา 8.1.1 ผูปกครองนักเรียนมาติดตอ โดยตรงทงี่ านทะเบยี น 8.1.2 ขอแบบคํารองใบลาออกหรือใบยายสถานศึกษาและกรอกรายละเอยี ด 8.1.3 ผปู กครองนักเรยี นหรอื บิดา มารดา ลงช่อื รับทราบการลาออกหรือยายสถานศึกษา 8.1.4 เตรยี มรูปถายขนาด 1.5 นิ้ว 2 รูป เพ่ือจัดทําเอกสาร (รปู ถา ยเปนรูปปจจบุ ัน เครื่องแบบ นกั เรยี น ไมเปนรูปท่ีอัดดวยระบบโพลารอยด) 8.2 การขอรับหลักฐาน ร.บ.1/ปพ.1 8.2.1 รบั คาํ รองทีห่ องทะเบยี น 8.2.2 ยน่ื คํารอ งขอหลักฐานลวงหนาอยางนอย 3 วันทาํ การ 8.2.3 ถา เปนการขอ รบ.1-ต, รบ.1-ป, ปพ.1 ฉบับที่2 รบ.1-ต, รบ.1-ป (จบการศึกษากอนป 2547) ใชรปู ถายขนาด 4x5 ซม. จํานวน 2 รูป ปพ.1 (จบการศึกษาตง้ั แตป 2547) ใชรูปถายขนาด 3x4 ซม. จํานวน 2 รูป (รปู ถายทง้ั 2 ขนาด เปน รปู หนาตรง สวมเส้อื เชต้ิ ขาว ไมสวมแวนตาดํา ไมส วมหมวก)

คมู ือปฏิบัติงานฝายวิชาการโรงเรียนนา้ํ ปลีกศกึ ษา ๖ - ถาเปนการขอแทนฉบบั ที่หายหรือชาํ รดุ ใหแจง ความและนําหลักฐานแจง ความมาแสดง ถา เปนการขอใบรับรอง - นกั เรยี นที่กาํ ลังเรยี นในโรงเรียนตองใหผ ูป กครองทม่ี ชี อื่ ในทะเบียนบา นมาย่ืนคาํ รอ งดว ยตนเอง - ใชรปู ถา ยขนาด 3x4 ซม.แตงเคร่อื งแบบนักเรยี น จํานวน 1 รูป งานวัดผล 1. จดั หาวสั ดุ อุปกรณ เอกสาร ระเบียบ คมู ือ เกีย่ วกับงานวัดผลและจดั เก็บเปน แฟมอยางเปนระบบ 2. ประสาน ดําเนนิ การลงทะเบียนเรียนในรายวิชาตางๆ ตามที่นักเรยี นลงทะเบยี นเรยี นไวในแตล ะภาคเรยี นลงใน โปรแกรม SGS ในระบบงานทะเบยี น-วัดผล 3. จดั ทาํ แบบฟอรม แบบคํารองตา งๆ ที่เกยี่ วของกับงานวัดผล 4. เก็บรักษาเอกสาร/หลักฐานทเี่ กี่ยวของตามระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี 5.จดั ทาํ และตรวจสอบระเบยี บแสดงผลการเรยี น ( ปพ.1 ) ใหถูกตองและเปนปจ จบุ นั อยูเสมอออกใหระเบียน แสดงผลการเรียนใหแกน ักเรียนท่จี บหลกั สูตรและประสงคจะลาออก 6. จดั ทาํ รายงานผลการเรียนของผูเรยี นที่จบหลักสูตร ( ปพ.3 ) ใหเ สรจ็ ส้นิ เรยี บรอยภายใน 30 วนั นับแตว นั อนุมัติ ผลการเรยี นสงหนว ยงานเจา ของสงั กัด ใหถูกตองตามระเบียบ 7. ดาํ เนินการในการออกประกาศนยี บตั รแกผสู าํ เร็จการศกึ ษา จดั ทาํ ทะเบียนคุมและการจายประกาศนียบัตรแก ผูส ําเรจ็ การศกึ ษา 8. ดําเนนิ การในการออกเอกสารรับรองผลการเรยี น รบั รองการเปน นักเรยี น เอกสารแสดงผลการเรียน ภาษาองั กฤษและเอกสารรับรองอื่น ๆ ทน่ี ักเรียนรองขอ 9. ใหความรว มมอื กับสถานศึกษาอื่นทข่ี อตรวจคุณวฒุ ิและดําเนินการในการขอตรวจสอบคณุ วฒุ ิของนักเรียน 10. ดาํ เนินการเก่ยี วกับการขอผอนผันการเรียน การหยุดพักการเรยี น การเปล่ยี นแปลงวชิ าเรียน การถอน การขอ เพมิ่ วชิ าเรียน 11. การควบคุมดูแล กํากับ ตดิ ตาม งานดานวดั ผลประเมินผลใหเ ปน ไปตามแนวปฏิบัติและปฏิทนิ ที่กําหนด 12. ดําเนินการเกยี่ วกับหลกั ฐานการเรียนการประเมินผลการเรยี นใหถ กู ตองเปนปจจบุ นั มีการจัดเกบ็ อยา งเปน ระบบ สะดวกแกการสบื คนและใหบรกิ าร 13. ดําเนนิ การเกยี่ วกบั นกั เรียนที่มีเวลาเรยี นไมถึง รอ ยละ 80% ประกาศรายช่อื ผทู ี่มีเวลาเรยี นไมค รบรอยละ 80 % การผอนผันใหเ ขาประเมินผลปลายภาคเรยี น รวมทัง้ ประกาศรายช่ือผไู มมีสทิ ธิเขา รบั การประเมินผลปลายภาคเรยี น แจง ผเู กยี่ วของทราบ 14. ดาํ เนินการจดั ทาํ ตารางสอบกลางภาค ปลายภาค ประสานงานกบั งานธุรการฝายวชิ าการในการออกคาํ สั่งการ สอบตา ง ๆ จดั เตรยี มอุปกรณการสอบ เกบ็ รักษาขอสอบไว 1 ภาคเรียน และดาํ เนนิ การจําหนา ยใหถกู ตองตามระเบียบ 15. ดาํ เนินการเก่ียวกับการเปลยี่ นแปลงผลการเรยี นของนักเรยี นทไ่ี มผานรายวิชา และการลงทะเบียนเรียนซา้ํ 16. จดั ทาํ สารสนเทศผลการวัดและประเมินความรู, คุณลักษณะฯ, การอาน คิดวิเคราะหและเขียน, สมรรถนะ กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น 17. แจงแนวปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั งานวดั ผลใหผเู ก่ียวของทราบ

คูม ือปฏิบตั ิงานฝา ยวชิ าการโรงเรียนน้าํ ปลกี ศกึ ษา ๗ งานศูนยส ือ่ และแหลง เรยี นรู 1. สาํ รวจสือ่ การสอนของครูทุกคน ทกุ กลุม สาระ รวบรวมเปน ระบบ เพื่อใชสอ่ื การสอนรวมกันได 2. สํารวจ/จดั อบรม/เผยแพร สอ่ื นวตั กรรมของครูทกุ กลุมสาระ 3. สํารวจแหลงเรยี นรแู ละภมู ปิ ญญาทองถ่ินทัง้ ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน ทองถิ่นท่ีเก่ยี วของกับการพฒั นาคุณภาพ การศึกษา 4. จัดทาํ เอกสารเผยแพรแ หลงเรียนรแู ละภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ .ใหแ กค รู สถานศึกษาอ่นื บคุ คลองคกร หนว ยงาน 5. จัดตัง้ และพฒั นาแหลงการเรียนรูและภมู ปิ ญญาทองถิน่ รวมทั้งพฒั นาใหเกิดองคความรู 6. สงเสริมสนบั สนนุ ใหค รูใชแ หลง เรยี นรทู ้งั ใน และนอกโรงเรียนการจัดกระบวนการเรยี นรใู หค รอบคลมุ ภูมิปญญา ทอ งถิ่น 7. รวมกบั ฝา ย/งาน/กลมุ สาระ ในการสรางและพัฒนาแหลงเรียนรูภายในโรงเรยี น 8. ประเมิน/สรปุ ผล การใชส ือ่ และแหลงเรยี นรขู องครจู ากนักเรยี น ผปู กครอง ชมุ ชน งานสวนพฤกษศาสตร งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียนเปน งานหนงึ่ อยูภ ายใตโครงการอนรุ ักษพันธุกรรมพืช อันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ ภายใตก ิจกรรมที 7 การสรา งจติ สาํ นึก งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี นเร่มิ มาจากการท่ี สมเด็จพระเทพรัตนฯทรงมีพระราชดํารบิ างประการกับโครงการอนุรักษพนั ธกุ รรมพชื ดังนี้ “การสอนและอบรมใหเ ด็กมีจิตสํานึกในการอนรุ ักษพืชพรรณน้ัน ควรใชวิธีการปลูกฝง ใหเดก็ เห็นความงดงาม ความ นา สนใจ และเกดิ ความปตทิ ีจ่ ะทําการ ศกึ ษาและอนุรักษพืชพรรณตอ ไป การใชว ิธีการสอนการอบรมท่ีใหเกดิ ความรสู ึก กลวั วา หากไมอนรุ ักษแลว จะเกิดผลเสยี เกิดอนั ตรายแกต นเอง จะทําใหเด็กเกิดความเครียด ซึง่ จะเปน ผลเสยี แก ประเทศในระยะยาว” 1. ขอบเขตการดําเนินงาน สามารถดําเนินการสวนพฤกษศาสตรในพน้ื ทข่ี องโรงเรียน โดยมอี งคป ระกอบดงั กลา ว เปนสวนพฤกษศาสตร โรงเรียน อีกท้งั ใชในการศึกษาและเปนประโยชนตอเนื่องใน การเรียนการสอนวิชาตางๆ ในโรงเรยี นที่ใกลช ดิ กบั ชมุ ชน อาจขยายขอบเขตการศกึ ษาไปสูชมุ ชนหรือส่งิ แวดลอมทางธรรมชาติใกลเ คยี งกับโรงเรียนได 2. แนวทางการดาํ เนนิ งานงานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน โรงเรียนและสถาบันการศกึ ษาไดมสี วนพฤกษศาสตรโ รงเรียนเปนฐานการเรยี นรู เพอ่ื เขาถึงวิทยาการ ปญญา และภูมปิ ญ ญาแหง ตน ปฏบิ ตั ิตนเปน ผูอนุรักษ พัฒนา สรรพชีวติ สรรพส่ิง ดว ยคุณธรรม ผูบรหิ าร ครูและบคุ ลากร เขาถงึ สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ทั้งปรัชญาการสรา งนกั อนุรกั ษแ ละบรรยากาศสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ปฏิบัตงิ าน เปนหนึง่ ระดับมธั ยมศึกษา เรียนรโู ดยตน มวี ทิ ยาการของตน โดยธรรมชาตแิ หงชวี ิต สรรพส่ิงลว นพันเก่ยี ว 3. เปาหมาย ใหม ีโรงเรยี นเปนแบบอยางของการมี การใชศกั ยภาพ สวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี นอยางเหมาะสมใหน ักเรียน นักศึกษาไดเ รียนรู ทกุ สาขาวิชา ในลักษณะบรู ณาการวทิ ยาการและบูรณาการชวี ิต จากปจ จยั ศกั ยภาพสวน พฤกษศาสตรโรงเรียน การดําเนนิ งานมุงสูประโยชนแ ทแกม หาชน มงุ สกู ระแสปูทะเลยม หาวชิ ชาลยั บนฐานสวน พฤกษศาสตรโ รงเรยี น

คูม อื ปฏิบัติงานฝา ยวชิ าการโรงเรียนนา้ํ ปลีกศกึ ษา ๘ 4. วิธกี ารดาํ เนนิ งาน องคประกอบ งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน องคประกอบท่ี ๑ การจดั ทาํ ปายชอ่ื พรรณไม องคป ระกอบท่ี ๒ การรวบรวมพรรณไมเ ขาปลกู ในโรงเรยี น องคป ระกอบที่ ๓ การศึกษาขอมูลดา นตา งๆ องคประกอบที่ ๔ การรายงานผลการเรยี นรู องคประกอบท่ี ๕ การนาํ ไปใชป ระโยชนท างการศึกษา งานศูนย ICT 1. จดั การเรยี นการสอนคอมพวิ เตอรตามโครงสรา งของหลักสตู ร ทีโ่ รงเรียนกําหนด 2. จดั สอนโปรแกรมเสริมใหกับนักเรียนทสี่ นใจเปนพเิ ศษ รวมทัง้ ใหบ ริการชมุ ชนเกี่ยวกบั วชิ าดา นคอมพวิ เตอร 3. จดั อบรมคอมพิวเตอรใ หแกค รู และบุคลากรในโรงเรยี น ใหม ีความรแู ลว นาํ ไปใชป ฏบิ ตั ิงานในหนา ที่ 4. ใหบริการใชเ คร่ืองคอมพิวเตอรแ กบุคลากรในโรงเรียน และหนว ยงานอ่นื 5. วางระบบเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรใ นโรงเรยี น เพื่อการบริหารและการเรียนการสอน โดยเชอ่ื มโยงกบั แหลงขอมูล ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน รวมทงั้ จดั ทาํ เผยแพรเวบ็ ไซตโ รงเรยี นและฝา ย/กลุมงานอ่นื ๆ 6. ใหความชว ยเหลอื ในการจัดทาํ ขอมลู ดว ยคอมพิวเตอรเมื่อฝา ยตาง ๆ รอ งขอ 7. จัดทําเอกสารสรปุ ผลงานปจจัยงานดา นคอมพวิ เตอรเ สนอตอโรงเรียนเม่ือส้ินภาคเรียน 8. งานอืน่ ๆ ทไี่ ดรับมอบหมาย งานหองสมุด 1. จดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการ งบประมาณ โครงการของงานหองสมดุ ใหเปนไปตามนโยบายของโรงเรียน 2. จัดและพัฒนาสถานที่หอ งสมดุ ใหเ หมาะสมกับเปนแหลงคนควา หาความรูไดต ลอดเวลาและหลากหลาย 3. จัดใหม วี สั ดุ ครภุ ณั ฑ และเครือ่ งอาํ นวยความสะดวกทเ่ี พียงพอกบั จาํ นวนสมาชิก 4. ดแู ล เก็บรกั ษา ซอมบาํ รุง ครภุ ณั ฑ ใหอยูในสภาพท่ดี ีใชการไดตลอด 5. จดั หา ซือ้ ทาํ เอกสาร วารสาร และสิ่งพมิ พตา ง ๆ ท่ีเปนประโยชนต อ การคน ควาหาความรูและความบันเทงิ 6. จัดบรรยากาศ สถานท่ีและสง่ิ แวดลอม การบริการใหช ักจูงบคุ คลภายนอกใหเ หน็ ประโยชน และเขา มาใชบริการ 7. จัดกิจกรรมสงเสริมใหนักเรียนของโรงเรยี นมีนสิ ัยรักการอา น 8. จัดทําสถิติ ขอ มูลเกี่ยวกับการดําเนนิ งาน รวมทั้งประเมินผลงานทีป่ ฏบิ ัตติ ลอดภาคเรียน/ป 9. ใหบ รกิ ารใชห อ งสมดุ แกนักเรยี น ครู และบคุ คลภายนอก งานบริการหอ งสมดุ คืองานท่ีหองสมุดจัดทําขึน้ เพื่ออาํ นวยความสะดวกแกผ ูใชใ นดา นการอาน การคนควา หา ความรแู ละสงเสรมิ การอานใหก วา งขวางและท่วั ถงึ เพื่อใหผูใชไ ดรบั สารสนเทศอยา งรวดเร็ว และตรงตามความตองการ มากทส่ี ุด รวมถงึ การจดั บรรยากาศท่ีดี เปนระเบยี บ ทาํ ใหผ ูใชเกดิ ความรสู ึกที่ดแี ละประทับใจเมอื่ เขาใชบ รกิ าร ความสําคญั ของงานบรกิ ารหองสมุด งานบริการเปนหัวใจสําคญั ของหอ งสมุด เปน งานทีเ่ กย่ี วของกบั ผูใ ชท ุก ระดบั สาํ หรับงานบริการของหองสมดุ โรงเรยี น มีสวนสาํ คัญท่ีทาํ ใหนักเรยี น ผปู กครองและชุมชน มาใชห องสมุดมากข้ึน งานบริการเปนงานท่ีหอ งสมดุ ทาํ ขน้ึ เพ่ือสง เสริมสนับสนุนการเรยี นการสอน ใหนกั เรียนเกดิ การเรยี นรู รจู ักศึกษา

คูมอื ปฏิบตั ิงานฝา ยวชิ าการโรงเรียนนาํ้ ปลีกศึกษา ๙ คน ควา ดวยตนเอง ใชประโยชนจากการอานเพ่ือเพ่มิ พนู ความรู ตลอดจนนาํ ความรูไปประยกุ ตใ ชใหเกิดประโยชนใ น ชวี ิตประจาํ วนั ไดเปนอยางดี วตั ถุประสงคข องการใหบ ริการหอ งสมดุ 1. เพื่อสงเสริมการอาน 2. เพอ่ื อาํ นวยความสะดวกแกผใู ชหอ งสมุด 3. เพือ่ สนับสนนุ การเรียนการสอนใหเกดิ ประโยชนอ ยางเต็มทแ่ี ละคมุ คา 4. เพื่อใหเ กิดความรู ความเพลดิ เพลนิ พฒั นาสมองใหมีสติปญญาเฉลียวฉลาด สามารถนําสิง่ ทไ่ี ดจากการ อานไปปฏิบัติ เพอื่ บรรลวุ ตั ถุประสงคท ต่ี นตองการ ประเภทของงานบรกิ ารหองสมุด งานบรกิ ารของหองสมุดมหี ลายอยาง ขนึ้ อยกู บั นโยบายและวัตถปุ ระสงคของหองสมดุ สําหรับหองสมดุ โรงเรียนโดยทวั่ ไป มีดังน้ี 1. บรกิ ารการอา น เปนบรกิ ารหลกั ของหองสมุดทีจ่ ดั หาและคัดเลอื กหนงั สอื สงิ่ พมิ พต างๆ มาไวเพ่ือ ใหบ รกิ าร และจัดเตรียมสถานที่ใหอํานวยความสะดวกตอการอา น เพื่อตอบสนองความตอ งการ และความสนใจของผใู ช มากที่สดุ 2. บรกิ ารยมื - คนื คอื บรกิ ารใหยมื - คนื ทรพั ยากรสารสนเทศประเภทตางๆ ตามระเบียบการยมื ของ หอ งสมดุ แตล ะแหง เพือ่ ใหค วามสะดวกในการใช ในกรณที ่ียมื เกนิ กาํ หนด ผยู ืมจะตองเสียคา ปรบั ตามอตั ราทหี่ องสมดุ กําหนด 3. บริการหนังสือจอง เปนบริการท่หี องสมุดจดั แยกหนงั สือรายวชิ าตาง ๆ ที่ครผู ูสอนกําหนดใหนกั เรยี น อานประกอบ รวมท้งั เปน บริการพเิ ศษท่ีจัดขึ้นในกรณีท่ีหนังสือนัน้ มจี าํ นวนนอย แตม ีผใู ชต องการจํานวนมาก โดยแยก ไวต างหาก และมีกําหนดระยะเวลาใหยมื สัน้ กวา หนังสือทว่ั ไป 4. บรกิ ารแนะนําการใชหองสมุด เปน บริการเพื่อแนะนาํ ผูใชใหทราบวา หอ งสมุดจัดบริการอะไรบาง ใหก ับผใู ช เชน การปฐมนเิ ทศแนะนําแกนกั เรยี นที่เขาเรียนในชัน้ ปแ รก หอ งสมุดสว นใหญจะจดั ทําคูมือการใชหองสมดุ เพื่อใหขอมลู เก่ียวกับหองสมดุ เชน ประวตั ิของหองสมุด ระเบยี บการยืม - คืนทรพั ยากรสารสนเทศ มารยาทในการใช หองสมดุ บรกิ ารและกจิ กรรมตางๆของหองสมุด เปนตน 5. บริการตอบคําถามและชวยการคน ควา เปนบริการท่ีครูบรรณารกั ษหรือเจา หนา ทหี่ องสมดุ จะชว ยให คําแนะนําและบริการตอบคาํ ถามแกนักเรยี นและผใู ช ทง้ั คําถามท่วั ไปเกี่ยวกับการใชห อ งสมดุ และคําถามท่ีตองคนหา คาํ ตอบจากทรัพยากรสารสนเทศตางๆ ในหอ งสมุด 6. บริการแนะแนวการอาน เปน บรกิ ารสาํ คญั ทหี่ องสมุดจดั ขึ้นเพื่อสงเสริมการอาน พัฒนานสิ ยั รักการอาน และใชเวลาวางใหเ ปนประโยชน นอกจากนย้ี ังเปน การชวยเหลือผูใ ชห องสมดุ ทมี่ ีปญหาในการอาน ผทู ไี่ มอยากอา น หนังสอื หรือเลือกหนังสืออานไมเ หมาะสมกับความตองการของตน 7. บริการสอนการใชห องสมดุ เปนบริการของหองสมดุ ในโรงเรยี นที่จดั สอนใหแกนกั เรียนที่เขา เรียนใหมใน ชั้นปแรก เพอ่ื ใหความรเู กย่ี วกับการใชห องสมดุ การเลือกใชท รพั ยากรสารสนเทศแตล ะประเภท และบริการตางๆ ของ หอ งสมุด ใหผ ูใชส ามารถใชป ระโยชนจากหอ งสมดุ ไดอยา งเตม็ ที่

คมู อื ปฏบิ ตั งิ านฝา ยวชิ าการโรงเรียนนํ้าปลกี ศกึ ษา ๑๐ 8. บริการสืบคนฐานขอ มลู เปนบริการสืบคนฐานขอมูลหนงั สอื ของหองสมดุ ชวยใหผ ูใช สามารถคนหา หนังสอื ดว ยตนเองไดส ะดวก รวดเร็วขึน้ 9. บริการรวบรวมบรรณานกุ รม เปนการรวบรวมรายช่อื หนังสอื สาํ หรับใชประกอบการเรียนการสอน ใน รายวิชาตา งๆ รวมถงึ การรวบรวมบรรณานุกรมหนังสือใหมประจาํ เดอื นท่หี อ งสมดุ ออกใหบริการแกผูใ ช 10. บริการขา วสารทนั สมัย เปน บรกิ ารท่ชี วยใหผใู ชห อ งสมดุ ไดทราบขอมลู ใหมๆ ในสาขาวชิ าตา งๆ โดย การถายสาํ เนาหนาสารบญั วารสารฉบับลา สุดท่ีหองสมดุ ไดรับรวบรวมไวในแฟม เพ่อื ใหบริการแกผใู ชใ นการศึกษา คนควา 11. บริการอนิ เทอรเ นต็ ผูใชบรกิ ารสามารถสบื คน ขอมูลบนอินเทอรเ นต็ ที่สนใจไดท ั่วโลก ซง่ึ ทําใหผ ใู ช สามารถเขาถงึ สารสนเทศที่ทันสมัยไดมากขึ้น ตรงตามความตอ งการและสะดวกรวดเรว็ 12. บรกิ ารอ่ืนๆ ที่หองสมดุ อาจจดั ข้นึ เชน บริการโสตทัศนวัสดุ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส บริการหองสมดุ เคลือ่ นท่ี บรกิ ารชมุ ชน บริการขอใชสถานท่ีประชุม เปนตน 12.1 บริการส่ืออิเล็กทรอนิกส เปนบริการคน ควา หาความรูดวยส่อื อเิ ล็กทรอนิกสต างๆ เชน สอื่ มลั ตมิ ีเดยี ซีดีรอม ดวี ดี ี วซี ดี ี เปนตน 12.2 บรกิ ารหองสมดุ เคลื่อนท่ี เปน บริการการอา นที่หองสมุดจัดไวต ามมุมตางๆของโรงเรยี น เพื่อ สง เสรมิ การเรยี นรู เชน ใตบนั ได ระเบียงอาคาร สวน ศาลา ฯลฯ เปนการใหบ รกิ ารอยางไมเปน ทางการ งายๆ และ ตกแตงดว ยธรรมชาติอยางสวยงาม ตามสภาพของสถานที่นน้ั ๆ 12.3 บรกิ ารชุมชน เปน บรกิ ารทขี่ ยายโอกาสทางการศึกษาคน ควา ใหกวา งออกไป โดยหอ งสมดุ จะจดั หนงั สอื และสิง่ พิมพ ไปใหบริการแกชมุ ชนและหนวยงานตางๆ รอบโรงเรยี น เชน ที่วดั ศนู ยพฒั นาเด็กเลก็ จดุ บริการ จักรยานยนตรบั จาง เปนการปลูกฝงนสิ ยั รักการอา นใหแ กเดก็ และประชาชนในชมุ ชนทกุ เพศ ทุกวยั เพ่ือเพม่ิ พูนความรู ขา วสาร และทนั ตอเหตกุ ารณ งานแนะแนว 1. จดั องคกรบริหารงานแนะแนวใหมีผูรบั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดา นตาง ๆ ท่กี ําหนดในขอบขายของการบริการแนะแนว 2. ดาํ เนนิ การในการคัดเลือกนกั เรยี นเพ่ือรับทนุ การศึกษา รางวลั การศึกษาตาง ๆ และดําเนินการเก่ยี วกบั กองทนุ อื่นๆ เพอ่ื การศึกษา 3. ประสานงานใหก บั วิทยากรและสถาบนั การศึกษาภายนอกเขามาใหการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ รวมท้ัง นกั เรียนกลมุ ทสี่ นใจไปศึกษาจากสถานศึกษา สถานประกอบการหรือสถานประกอบอาชพี อิสระภายนอก 4. จดั แผนงาน โครงการแนะแนว และการจัดปฏทิ ินปฏบิ ัติงานประจําป 5. ประสานงานการจัดสอนวดั ความรคู วามสามารถทางวชิ าการกบั สถาบนั การทดสอบตางๆ รวมทั้งดําเนินการ เกย่ี วกบั การสอบเขา ศึกษาตอของนักเรยี นชน้ั ม.3 และ ม.6 6. จัดเก็บและรวมรวมสถิติขอมลู ดา นตาง ๆ ตลอดจนปการศึกษา และนาํ เสนอเปน เอกสารเผยแพรเ ม่ือส้ินภาค เรยี น/ป 7. การจัดกิจกรรมแนะแนว 7.1 การบรกิ ารแนะแนว 7.1.1 งานศกึ ษารวบรวมขอมูล โดยศึกษา รวบรวม วิเคราะห สรุป และนําเสนอขอ มลู ของผเู รยี น

คมู ือปฏิบัตงิ านฝา ยวชิ าการโรงเรียนนํ้าปลีกศกึ ษา ๑๑ 7.1.2 งานสารสนเทศ โดยจดั ศูนยส ารสนเทศทางการแนะแนวในรูปศนู ยก ารเรียนรูด วยตนเอง โดย ครอบคลุมดานการศกึ ษา อาชีพ ชวี ิต และสงั คม 7.1.3 งานใหค าํ ปรึกษา อบรมทักษะการใหค ําปรึกษาเบอื้ งตนแกครใู หคําปรกึ ษาผเู รยี นทงั้ รายบคุ คลและเปนกลมุ 7.1.4 งานกจิ กรรมสง เสรมิ พัฒนา ชว ยเหลอื ผูเรยี น ศกึ ษารายกรณี (Case study) และจัดกลมุ ปรึกษา ปญ หา (Case conference) สง ตอ ผูเชี่ยวชาญ ในกรณที ผ่ี ูเ รยี นมีปญหายากแกก ารแกไข จัดกลุมพฒั นาผูเรยี นดวย เทคนคิ ทางจติ วิทยา จดั บรกิ าร สรา งเสรมิ ประสบการณ รวมทั้งใหการสงเคราะห เพ่ือตอบสนองความถนัดความ ตองการ และความสนใจของผเู รยี น 7.1.5 งานติดตามประเมินผล ประเมินผล/รายงานผลการดําเนินงานแนะแนว 7.2 การจดั กจิ กรรมแนะแนว 7.2.1 กจิ กรรมโฮมรูม 7.2.2 กจิ กรรมคาบแนะแนว 7.2.3 การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการประกาศกฎกระทรวงวา ดว ยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ลงวนั ท่ี 11 มีนาคม พ.ศ. 2553 ที่กําหนดใหส ถานศกึ ษาตองพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในของ สถานศึกษาดว ยการมีสวนรวมกบั หนวยงานทเ่ี ก่ยี วของ และตองมกี ารดําเนินงาน 8 ประการ โดยเร่ิมตน ตัง้ แต 1) กาํ หนดมาตรฐานของสถานศึกษา 2) จัดทําแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาท่ีมุงคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษา 3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4) ดาํ เนินงานตามแผน 5) ตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา 6) ประเมนิ คุณภาพภายใน 7 ) จัดทํารายงานประจําปเ สนอบุคคลและหนวยงานท่ีเก่ยี วขอ ง จนถึง 8) มีการพฒั นา คณุ ภาพการศึกษาอยางตอเนื่องจนเปนวัฒนธรรมขององคกรท่ียัง่ ยนื ในความรบั ผิดชอบของงานประกนั คุณภาพ การศกึ ษาของโรงเรียนนราสิกขาลัยมีขอบขาย ภาระงานดังน้ี 1. กําหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษา 1.1 จัดใหม ีประกาศแตงต้ังกรรมการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา ซึ่งประกอบดว ย คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ครูและบุคลากรในโรงเรียน กรรมการนกั เรยี น เครือขายผปู กครอง ชุมชน องคกรภาครฐั 1.2 นํามาตรฐานการศึกษาของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐานมาเปน ตน แบบ เพ่อื กาํ หนด มาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นจากผมู ีสว นรวมตามประกาศขอ 1.1 2. จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ 2.1 กําหนดผรู ับผิดชอบมาตรฐานและตวั บงชี้เพื่อดาํ เนินการจดั ทําสารสนเทศ 2.2 รว มมอื กับงานแผนงาน/สารสนเทศ เพื่อวางแผนจัดทาํ แผนพฒั นาการศกึ ษาและแผนปฏิบัตกิ ารประจําป การศกึ ษา 3. ดําเนินการตามแผน 3.1 รว มมอื กบั งานแผนงาน/สารสนเทศ เพ่ือกํากบั ตดิ ตามการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาํ ปการศึกษา 4. การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาและการประเมนิ คุณภาพภายใน 4.1 ประชมุ คณะทํางานเพือ่ วางแผนการประเมนิ คณุ ภาพภายใน

คูมือปฏบิ ัติงานฝา ยวชิ าการโรงเรียนนา้ํ ปลีกศกึ ษา ๑๒ 4.2 แตงตงั้ กรรมการประเมินคณุ ภาพภายใน และดาํ เนนิ การประเมนิ คณุ ภาพภายในตามปฏทิ ินงาน 5. การจดั ทํารายงานประจําปเ สนอบคุ คลและหนวยงานทเ่ี กี่ยวของ 5.1 ประชมุ สรปุ รายงานรับรองผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในจากผมู สี ว นเก่ยี วขอ ง 5.2 จัดทาํ รายงานเสนอตอผูบริหารโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน หนว ยงานตนสังกัดและ เผยแพรทางเว็บไซตโ รงเรยี น http://www.nampleelsuksa.or.th 6. การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอยา งตอเนือ่ งจนเปน วฒั นธรรมขององคก รทย่ี งั่ ยืน 6.1 นาํ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในมาวิเคราะหสภาพปญหาจัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปข องโรงเรยี น 6.2 ทบทวนคุณภาพตามตัวบงช้ีและมาตรฐานเพอ่ื ปรับปรุงแกไข งานวิจยั และพัฒนาการศึกษา มขี อบขายงานดังน้ี 1. งานวจิ ยั ในชน้ั เรยี น มแี นวปฏิบัติ ดังนี้ 1.1 สง เสริมและสนบั สนุนการวจิ ัยและพฒั นาโรงเรียน โดยเนน การวจิ ัยทเี่ ปนความกาวหนาทางวชิ าการและ การพัฒนาองคกรในลักษณะการวจิ ัยในชัน้ เรยี น 1.2 สง เสรมิ และสนบั สนุนการนาํ ผลการวิจยั ไปใช 1.3 จัดอบรมเกย่ี วกบั การวจิ ัย และการพัฒนาบุคลากรในหนว ยงาน 2. งานเผยแพรงานวิจยั มีแนวปฏิบัติ ดงั นี้ 2.1 สง เสริมการเผยแพรความรเู ก่ยี วกับการวจิ ัย ผลการวิจัย และพัฒนาสังคม 2.2 ประสานงานการวจิ ยั กับหนวยงานตา งๆ ทง้ั ในโรงเรยี น และนอกโรงเรยี น 2.3 เปนแหลงกลางในการทําวจิ ัย และประสานงานแลกเปล่ยี นเรียนรทู ้ังในโรงเรยี นและภายนอกโรงเรียน 2.4 รวบรวมงานวจิ ัยในโรงเรียนใหเ ปน ระบบ ท้งั ในระดบั บุคคล กลมุ สาระการเรียนรแู ละระดบั โรงเรยี น สอดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาท่ีวา ดว ยเร่ืองการวจิ ัยในช้ันเรียน 3. ประเมินผล สรุปผล/รายงานการดาํ เนนิ งานวจิ ัยและพัฒนาการศึกษาในโรงเรยี นเสนอผบู รหิ ารโรงเรยี น 4. อน่ื ๆ ตามที่ไดร บั มอบหมาย งานนิเทศและบริการทางการศึกษา การนเิ ทศภายในสถานศึกษาจะเปน กระบวนการทํางานของผูบรหิ ารสถานศกึ ษา (หรือผทู ี่ไดร ับมอบหมาย) ในการ พฒั นาคุณภาพการทาํ งานของครู และบุคลากรภายในสถานศึกษาเพ่ือใหไดมาซึ่งสัมฤทธ์ิผลสูงสุดในการเรยี นของผูเรยี น 1. ขอบเขตการนิเทศงานวิชาการ งานวชิ าการภายในโรงเรียนท่ีผูบรหิ ารจะตองรับผิดชอบมี 2 ประเภท คือ 1.1 งานหลกั ไดแ ก 1.1.1 หลกั สูตรสถานศกึ ษา – การปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหสอดคลองกับสภาพของทองถน่ิ – การสรา งหลักสตู รเพื่อสนองความตอ งการของผเู รียนทอ งถิ่น – การจัดแผนการเรยี นการสอน – การจัดทําโครงการสอน

คมู อื ปฏบิ ัติงานฝา ยวิชาการโรงเรียนนา้ํ ปลีกศึกษา ๑๓ – การจดั ตารางสอน – การจดั ครผู ูสอน – การจัดช้ันเรยี น (จดั นกั เรียนเขา แผนการเรียน) – การจัดกิจกรรมในหลักสตู ร - การผลิตส่อื และอุปกรณการสอน ฯลฯ 1.1.2 การเรียนการสอน ไดแ ก – การพัฒนาเทคนิควธิ กี ารสอน – การพัฒนาเทคนิคในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน – การพฒั นาเทคนิคในการใชส่ือและอปุ กรณการสอน ฯลฯ 1.1.3 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน ไดแก – การสรางขอ ทดสอบ – การวัดและประเมนิ ผล – งานทะเบียนวัดผลและรายงานความกา วหนา ของนักเรยี น ฯลฯ 1.2 งานสนบั สนุนวิชาการ ไดแก งานเกยี่ วกบั อาคารสถานท่ี กจิ การนักเรยี น ธรุ การและการเงนิ และ ความสัมพนั ธกับชมุ ชน ขอบเขตงานที่กลาวมาน้ีหากผบู รหิ ารมีความมงุ หวังท่จี ะใหไดผ ลงานของบคุ ลากรภายใตการ ควบคมุ ดแู ลมีคุณภาพกจ็ ําเปนจะตองพัฒนาบุคลากรเหลา นี้ ใหมคี วามรู ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านจึงจะไดผลงาน ท่มี ีคณุ ภาพตามความมุงหวงั ทต่ี งั้ ไว 2. วธิ ีดาํ เนินการ ขนั้ ท่ี 1 การวางแผนการนเิ ทศ ขน้ั ที่ 2 การใหความรกู อนดาํ เนินการนิเทศ ขน้ั ที่ 3 การดําเนินการปฏิบตั ิงานนิเทศ ข้นั ที่ 4 การสรางเสรมิ กําลงั ใจแกผ ูป ฏบิ ตั งิ านนเิ ทศ ขัน้ ที่ 5 การประเมนิ ผลการนเิ ทศ

คูมือปฏบิ ัติงานฝา ยวชิ าการโรงเรียนนา้ํ ปลีกศกึ ษา ๑๔ แนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับงานวิชาการ 1. การปฏบิ ัติการติดตามนกั เรยี นขาดเรยี น/ขาดเรียนนาน ถานักเรยี นขาดเรยี นนานติดตอ กันใหถอื ปฏิบตั ิดังนี้ 1.1 การตดิ ตามนักเรยี นที่ขาดเรยี น / ขาดเรียนนานติดตอ กัน เปนหนาท่โี ดยตรงของครูที่ปรึกษา 1.2 ถา นกั เรยี นขาดเรียนนานติดตอ กนั 5 วนั ทาํ การ โดยไมทราบสาเหตใุ หครทู ่ีปรึกษาดาํ เนินการติดตามโดย สอบถามจากนักเรยี นใกลเคยี ง ครู–อาจารยห รือผปู กครองแลว แตก รณี แลว แจงใหฝา ยกิจการนักเรียนทราบ เพื่อ ดําเนินการ ตามระเบยี บตอไป 1.3 ในกรณที ่ีครูท่ีปรึกษาไปพบผปู กครองหรอื นักเรยี นแลวไดส อบถามสาเหตแุ ละพจิ ารณาหาทางแกไ ข หาก ไมสามารถแกไขได ใหปฏิบัตดิ ังน้ี - ถาเปนนักเรียนที่กําลงั เรยี นอยใู นช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน ตอ งชแี้ จงใหนักเรียนและผปู กครองรับทราบ ถงึ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื งการสงเด็กเขาเรยี นในสถานศึกษาภาคบังคบั พรอมกับรายงานการดําเนินงานให ฝา ยบริหารรบั ทราบเพ่ือจะไดดาํ เนินการตามระเบียบตอไป - ถาเปน นกั เรียนที่กําลงั เรยี นอยูในช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย ใหผ ูป กครองมาลาออกใหถ ูกตอ ง 1.4 ในกรณีท่ีครูท่ปี รึกษา/ หัวหนา ระดบั ไปตามนกั เรียนท่ีบา นแลว ไมพบทั้งผูปกครองและนักเรียน ใหง าน ทะเบยี นนักเรยี นดําเนนิ งานดังน้ี 1.4.1 กรณีนกั เรยี นที่เรียนอยูในชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ใหดําเนินการดงั น้ี 1.4.1.1 ฝายกจิ การนกั เรยี นแจง ขอ มูลท่ีงานทะเบียนนักเรียน 1.4.1.2 งานทะเบียนนักเรียนทาํ หนังสอื ของโรงเรยี นถึงผปู กครองนกั เรยี น ถา ยงั ไมไ ดต อบรบั ใหทาํ หนงั สือแจง ผูนําชมุ ชน หรือองคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ และรายงานใหสาํ นักงานเขตพ้ืนทรี่ ับทราบ 1.4.2 กรณนี ักเรียนท่ีเรียนอยูในช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย ใหดําเนินการดงั น้ี 1.4.2.1 ฝา ยกิจการนักเรียนแจง ขอ มลู ท่ีงานทะเบียนนักเรียน 1.4.2.2 งานทะเบียนนกั เรียนทําหนงั สอื ของโรงเรยี นถึงผูป กครองนักเรยี น ถา ยังไมไดตอบรบั ให ทาํ หนงั สือแจง ผปู กครองอกี เปนครงั้ ท่ี 2 หากยังไมไดรับคาํ ตอบการติดตอ คร้งั ท่ี 2 ภายใน 10 วัน งานทะเบียนนักเรียน ขออนุมตั ิหวั หนาสถานศึกษาจัดทําบัญชีแขวนลอยและจําหนายชอื่ ออกจากทะเบยี นนักเรียนเพราะเหตุขาดเรียนนาน แลวแจงใหครูผูสอน และผูเกี่ยวของรบั ทราบ 1.4.2.3 งานทะเบียนทําหนังสือแจง ผูปกครองนักเรียนทราบวา โรงเรียนไดจ ําหนายนักเรียนออกแลว 2. แนวทางการปฏบิ ัตเิ รอื่ งการขาดเรียนและขาดเรยี นนานของนักเรยี น มีดงั นี้ 2.1 ครูทปี่ รึกษา / ครปู ระจําวิชาสาํ รวจการมาเรียนของนักเรียนที่ตนรบั ผิดชอบทุกวนั และทกุ ชัว่ โมงท่ีสอน 2.2 เม่ือพบวามนี ักเรียนขาดเรียนบอยและขาดเรยี นติดตอกันเปนเวลาหลายวนั ตอ งปฏิบตั ิดังน้ี 2.2.1 ถาเปนครูประจําวิชาท่ีสอนใหรายงานนักเรียนทีข่ าดเรียนนานและขาดเรยี นบอ ยๆใหครูทปี่ รกึ ษา รับทราบ และครูท่ีปรึกษาตองตดิ ตามนักเรยี นที่ขาดเรียนตามแนวปฏบิ ตั ิขอ 1.2,1.3,1.4 แลวแตกรณี 2.2.2 ถาครทู ่ปี รึกษาสํารวจแลวพบวานกั เรียนในชน้ั ขาดเรียนบอยและขาดเรียนตดิ ตอกันเปนเวลานาน ใหป ฏบิ ตั ติ ามแนวปฏบิ ตั ขิ อ 1.2,1.3,1.4

คูมือปฏิบัตงิ านฝายวชิ าการโรงเรียนน้าํ ปลกี ศกึ ษา ๑๕ 3. นกั เรียนแขวนลอย ความหมายของคํา “นักเรียน” หมายความวา บุคคลทก่ี ําลังเรยี นอยใู นระดบั มัธยมศึกษาของโรงเรยี น “นกั เรียนแขวนลอย” หมายความวา นกั เรียนที่มรี ายชือ่ อยใู นบัญชรี ายช่อื นักเรียนในชัน้ ตาง ๆที่โรงเรียน จัดทําข้ึนตอนตนปก ารศึกษา หรอื มชี ่ืออยูในสมุดประเมนิ ผลรายวชิ า และขาดเรียนนานโดยไมท ราบสาเหตุไมมีตวั ตน มิไดล าออกจากโรงเรียน และโรงเรียนไมส ามารถจําหนายรายชือ่ ออกจากทะเบียนนักเรียนได ข้ันตอนการจดั ทาํ บญั ชีรายชื่อนักเรยี นแขวนลอย 3.1 เมื่อนกั เรียนขาดเรียนตดิ ตอกนั เปนเวลา 5 วนั ทาํ การ โดยไมทราบสาเหตุ ใหป ฏิบัติดังนี้ 3.1.1 ครูทป่ี รกึ ษาบนั ทึกรายงานหวั หนาระดบั ชัน้ เพื่อติดตามนกั เรียน และดําเนินการสืบหาขอ มูล เบื้องตน 3.1.2 หวั หนาระดับชั้นรายงาน รองผูอาํ นวยการสถานศึกษาฝายกจิ การนักเรยี น และนาํ เสนอขอ มลู 3.1.3 รองผูอํานวยการสถานศกึ ษาฝายกิจการนักเรียน และคณะกรรมการดําเนนิ การติดตามนกั เรียน ครงั้ ที่ 1 3.2 เม่ือนกั เรียนขาดเรียนตดิ ตอกนั เปน เวลา 10 วันทาํ การ โดยไมทราบสาเหตุ ใหป ฏบิ ัตดิ งั น้ี 3.2.1 ครทู ่ีปรกึ ษารายงานหวั หนา ระดบั ชั้น เพ่ือลงบัญชีรายชอื่ นกั เรียนแขวนลอยและติดตามนักเรยี น 3.2.2 หวั หนาระดบั ชั้นรายงาน รองผูอาํ นวยการสถานศึกษาฝายกจิ การนักเรียน และนําเสนอขอมูล 3.2.3 รองผอู ํานวยการสถานศกึ ษาฝา ยกิจการนักเรียน เสนอผูอํานวยการสถานศึกษา เพอื่ ขออนมุ ัติ ลงบัญชีรายช่อื นกั เรยี นแขวนลอย พรอ มเหตผุ ล 3.2.4 ผอู ํานวยการสถานศึกษา อนุมัติ หรือพจิ ารณาส่ังการ 3.2.5 นายทะเบียน จัดทําบัญชีรายช่อื นกั เรียนแขวนลอย บทบาทหนา ที่ ขอ 3.3 อาจารยท ป่ี รกึ ษา มหี นาท่ีดงั นี้ 3.3.1 สาํ รวจและติดตามนกั เรยี นทข่ี าดเรียนตดิ ตอกนั 5 วนั ทําการ และเสนอชื่อนักเรยี นตอหวั หนา ระดบั / ฝา ยปกครองเพื่อติดตามนกั เรียน 3.3.2 สํารวจและตดิ ตามนักเรียนที่ขาดเรียนตดิ ตอกัน 10 วันทําการ และเสนอชื่อนักเรียนตอ หวั หนา ระดับ/ฝา ยปกครอง เพื่อลงบัญชรี ายชอ่ื นักเรียนแขวนลอย และติดตามนกั เรยี น ขอ 3.4 หวั หนา ระดับ/ฝายปกครอง มีหนาทีด่ ังนี้ 6.1 ตดิ ตามนกั เรียนที่ขาดเรยี นตดิ ตอกัน 5 วันทาการ 6.2 เสนอช่อื นกั เรียนทขี่ าดเรียนติดตอ กนั 10 วันทาการ เพอ่ื ลงบัญชรี ายชอ่ื นักเรียน แขวนลอย และตดิ ตามนกั เรียน 6.3 เมอื่ ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา อนมุ ัตลิ งบญั ชีรายช่ือนกั เรียนแขวนลอยแลวใหแ จงนาย ทะเบยี นเพ่อื ลงบัญชรี ายช่ือนักเรยี น แขวนลอย ขอ 3.5 ผบู ริหารสถานศึกษา มหี นาทด่ี ังนี้ 3.5.1 ตรวจสอบขอ มลู 3.5.2 พิจารณาสง่ั การอนมุ ัติใหลงบัญชีรายชือ่ นักเรยี นแขวนลอย หรอื สัง่ การอน่ื ใดตามที่เหน็ สมควร ขอ 3.6 นายทะเบียน มหี นา ท่ีดังน้ี

คมู ือปฏบิ ัตงิ านฝา ยวชิ าการโรงเรียนนาํ้ ปลีกศึกษา ๑๖ 3.6.1 รบั ทราบคาสัง่ จากผบู ริหารสถานศกึ ษา 3.6.2 จดั ทาํ ทะเบียนรายชือ่ นกั เรียนแขวนลอย การยกเลิกรายช่ือนักเรยี นแขวนลอย 3.7 กรณีทีน่ ักเรียนมชี อื่ อยใู นบัญชีรายชื่อนกั เรียนแขวนลอย กลบั มารายงานตวั เพอ่ื เขาเรียนตามปกติให ปฏบิ ัตดิ งั น้ี 3.7.1 ครูทีป่ รกึ ษารายงานหัวหนาระดบั ชนั้ เพ่ือขอยกเลกิ รายชื่อนักเรียนแขวนลอย 3.7.2 หัวหนา ระดบั ชนั้ รายงานรองผูอํานวยการสถานศึกษาฝา ยกจิ การนกั เรยี น 3.7.3 รองผูอํานวยการสถานศึกษา ฝายกิจการนักเรียน รายงานผอู ํานวยการสถานศึกษา 3.7.4 อํานวยการสถานศกึ ษา อนมุ ัติใหย กเลิกรายชอื่ นักเรียนแขวนลอย คนนั้น 3.7.5 นายทะเบียนลงบัญชียกเลกิ รายชอื่ นักเรยี นแขวนลอย คนน้นั 3.8 ขอมลู นักเรยี นท่ีมีอยจู ริงในปจจบุ ันของโรงเรยี น ฐานขอ มลู นักเรยี นของโรงเรียน มาจากทะเบียนนักเรยี น ในชว งตอนตนปก ารศึกษา สามารถแบง ออกได สองกลุม ดังน้ี 3.8.1 ขอมลู นกั เรียนทย่ี ังไมสามารถจําหนา ยออกจากทะเบียนนักเรยี นได เชน นกั เรยี นท่ีเรียนครบ หลักสตู ร แตไ มจ บหลกั สตู รไดตามกาํ หนด นกั เรียนทขี่ าดเรียนไปโดยไมไดลาออก 3.8.2 ขอมูลนกั เรียนท่มี ีรายช่ืออยูในบัญชีรายชอื่ นกั เรยี นชั้นตา งๆ (หองตางๆ) ทโี่ รงเรยี นจัดทําข้นึ ตอนตนปการศกึ ษา 3.8.3 ในระหวางปก ารศึกษา จะมนี ักเรียนเขา – ออก ระหวางปก ารศึกษา แบงออกได 3 กลมุ ดงั น้ี 3.8.3.1 นกั เรยี นเขาใหม ระหวางปการศึกษา 3.8.3.2 นกั เรียนทีอ่ อกกลางคัน ระหวางปการศึกษา 3.8.3.3 นกั เรียนที่อยูใ นบัญชรี ายช่ือนักเรยี นแขวนลอย 3.8.4 การรายงานขอมลู จํานวนนกั เรียนทม่ี อี ยจู ริงในปจ จุบันของโรงเรียน ตองพจิ ารณาจากขอมลู จาํ นวนนกั เรียนท่มี ีรายชือ่ ในบัญชนี ักเรยี นประจาํ ชั้นทโี่ รงเรยี นจัดทําข้นึ ตอนตนปก ารศึกษาบวกเพ่ิมดว ยจํานวนนักเรียน ทเี่ ขา ใหมระหวางปการศึกษา ลบออกดว ยจํานวนนกั เรยี นที่ลาออกกลางคันระหวา งปการศึกษา และลบออกดว ยจาํ นวน นักเรียนทมี่ ชี อื่ อยูใ นบัญชรี ายช่อื นกั เรียนแขวนลอย 4. แนวปฏบิ ัติในการแก “0” ในการแก “0” มแี นวปฏบิ ัตดิ ังน้ี 4.1 ใหนกั เรียนแกตวั ไดไ มเ กิน 2 ครัง้ และกอนแกตัวทกุ ครงั้ นกั เรยี นตอ งยื่นคํารองขอสอบแกต ัวทฝ่ี า ย วชิ าการกอ น 4.2 การดาํ เนนิ การสอบแกตวั เปนหนาที่โดยตรงของครูผูสอน เมือ่ มนี ักเรยี นตดิ “0” ในรายวชิ าท่รี ับผดิ ชอบ ตอ งดําเนนิ การแก “0” ใหเสร็จสิ้นภายในภาคเรยี นถดั ไป ถาไมสามารถดําเนนิ การใหแลวเสรจ็ ตามกาํ หนด ใหร ายงาน ฝา ยวชิ าการรับทราบ ถาไมด ําเนินการใดๆ ถือวา บกพรองตอหนา ทีร่ าชการ 4.3 ครผู ูสอนตอ งจัดสอนซอมเสรมิ ใหนักเรียนกอนสอบแกตัวทกุ คร้งั 4.4 ชว งเวลาของการสอบแกตัวใหเปนไปตามกาํ หนดปฏิทินปฏิบตั ิงานฝา ยวิชาการ

คูมอื ปฏบิ ัติงานฝายวิชาการโรงเรียนน้ําปลกี ศกึ ษา ๑๗ 4.5 ถานักเรยี นไมม าสอบแกตัวตามระยะเวลาท่ีกาํ หนดถือวาไดผลการเรยี น “0” ตามเดิม และมีสิทธสิ อบแก ตวั ได 2 ครั้ง ถา นกั เรยี นสอบแกต ัวครงั้ ที่ 2 แลวยังไมผ า นใหปฏิบตั ิตามแนวปฏบิ ตั ิการเรียนซ้าํ 4.6 ครทู ่ปี รึกษาเปนผมู หี นา ท่ีติดตามผลการเรียนของนักเรียนที่อยูในความรับผิดชอบทุกรายวชิ า พรอ มทงั้ กวดขนั ใหน ักเรยี นมาดาํ เนินการแก “0” ตามกําหนดเวลา 4.7 การใหนักเรียนสอบแกตัว ครผู สู อนควรดําเนินการดังนี้ 4.7.1 ตรวจสอบดวู านักเรยี นติด “0” เนอื่ งจากไมผานจดุ ประสงคใ ดหรือตวั ชว้ี ัดใด 4.7.2 ดําเนนิ การสอนซอมเสริมในจดุ ประสงค/ตัวชวี้ ดั ทน่ี กั เรียนสอบไมผ าน 4.7.3 การดาํ เนนิ การสอบแกตวั คําวา“สอบแกต วั ”ไมไ ดหมายความวา จะตอ งทดสอบดวยขอสอบท่ีเปน ขอ เขยี นเทาน้นั นักเรียนจะสอบแกตวั อยางไรนัน้ ตองดูวาในจุดประสงคนั้นนักเรียนไมผ านตรงสวนใด เชน ในสว น K, P, A ,C กใ็ หซอมตรงคะแนนในสวนนนั้ 4.8 ขนั้ ตอนและแนวปฏิบตั ใิ นการแก “0” ของนักเรียน 4.8.1 ฝายวิชาการโดยงานวัดผลสาํ รวจนักเรียนทม่ี ผี ลการเรียน “0” และกาํ หนดวนั เวลา สอบแกต วั ตามปฏิทินการปฏบิ ตั งิ านของฝายวิชาการ 4.8.2 แจง ใหนักเรยี นที่มีผลการเรยี น “0” ไดรบั ทราบ 4.8.3 ฝายวิชาการแจงครูท่ีปรกึ ษารบั ทราบเพื่อชว ยดูแลและตดิ ตามนักเรียนมาดําเนินการแก “0” 4.8.4 นักเรยี นท่ตี ิด “0” มาย่ืนคํารองขอแก “0” ที่ฝายวิชาการ และฝายวชิ าการแจงใหครปู ระจําวชิ า รบั ทราบ พรอมกบั ใบคํารองขอสอบแกตวั ของนักเรียน 4.8.5 ครปู ระจําวชิ าดาํ เนินการสอนซอมเสรมิ และใหน กั เรยี นสอบแกต ัว 4.8.6 ครูประจาํ วิชานาํ ผลการสอบแกต ัวของนักเรียนมารายงานใหฝายวิชาการรับทราบ 4.8.7 ฝายวิชาการแจง ผลการสอบแกต ัวใหนักเรยี นและครูท่ปี รึกษารับทราบ 4.9 ระดบั ผลการเรียนหลงั จากนกั เรียนทาํ การสอบแกต วั แลว อยูท่ี “ 0 ” หรอื “ 1 ” เทานนั้ ระดับผลการ เรียนหลงั สอบแกต ัวถานักเรียนยังได “ 0 ” อยู ใหนกั เรียนผูน้ันเรยี นซ้าํ ใหมหมดท้ังรายวิชา 5. แนวปฏิบัติในการแก “ร” ในการแก “ร” มีแนวปฏบิ ัติดังนี้ 5.1 การดําเนนิ การแก “ร” เปน หนา ทโ่ี ดยตรงของครูผสู อน เม่ือมนี ักเรยี นติด “ร” ในรายวิชาท่ีรับผดิ ชอบ ตอ งดําเนินการแก “ร” ใหเสรจ็ สิ้นภายในภาคเรยี นถัดไป ถาไมสามารถดําเนินการใหแลวเสร็จตามกําหนด ใหร ายงาน ฝา ยวชิ าการรบั ทราบ ถาไมด าํ เนินการใดๆ ถือวาบกพรองตอหนา ท่ีราชการ 5.2 การแกไขผลการเรยี น “ร” แยกออกเปน 2 กรณีคอื 5.2.1 ไดร ะดับผลการเรยี น “0 – 4” ในกรณีทเ่ี น่อื งมาจากเหตุสดุ วสิ ยั เชน เจ็บปวย หรือเกดิ อบุ ัติเหตุ ไมสามารถมาเขาสอบได 5.2.2 ไดร ะดับผลการเรียน “0 – 1” ในกรณีที่สถานศึกษาไดพิจารณาแลวเห็นวาไมใชเหตุสดุ วิสยั เชน มี เจตนาหลบการสอบเพ่อื หวงั ผลบางอยาง หรอื ไมสนใจทํางานที่ไดรบั มอบหมายใหทาํ เปนตน

คูมอื ปฏิบัตงิ านฝายวชิ าการโรงเรียนนาํ้ ปลกี ศึกษา ๑๘ 5.3 การแก “ ร ” ตอ งดําเนนิ การใหแ ลวเสรจ็ ภายในภาคเรียนถัดไป ถานักเรียนท่ีมผี ลการเรียน “ ร ” ไมม า ดําเนนิ การแก “ร” ใหเสรจ็ ส้นิ ตามกาํ หนดเวลา นักเรยี นผูน้นั ตองเรียนซาํ้ ท้งั รายวชิ าหรอื เปลีย่ นรายวชิ าใหม ในกรณีท่ี เปน รายวิชาเพ่มิ เติม 5.4 ถา หากนักเรยี นทีม่ ีผลการเรยี น “ ร ” ผนู น้ั ไมสามารถมาทําการแก “ ร ” ตามกําหนดเวลาไดเ นือ่ งจาก เหตสุ ุดวสิ ยั ใหอ ยใู นดุลพินจิ ของหวั หนา สถานศึกษาจะขยายเวลาการแก “ ร ” ออกไปอีก 1 ภาคเรยี นแตถาพนกําหนด แลว นกั เรยี นยงั ไมม าดาํ เนินการแก “ ร ” ใหน ักเรียนผูน นั้ เรียนซํา้ ใหมห มดทง้ั รายวชิ า 5.5 ข้ันตอนและแนวปฏิบตั ใิ นการแก “ ร ” ของนักเรยี น 5.5.1 ฝายวิชาการโดยงานวดั ผลสาํ รวจนักเรียนทีม่ ีผลการเรียน “ ร ” และแจงใหน ักเรยี นรบั ทราบ 5.5.2 ฝา ยวชิ าการแจง ครทู ่ปี รึกษารับทราบเพื่อชว ยดแู ลและติดตามนักเรียนมาดําเนนิ การแก “ ร ” 5.5.3 นกั เรยี นท่ตี ิด “ ร ” มายืน่ คาํ รองขอแก “ ร ” ท่ฝี ายวชิ าการ และฝายวิชาการแจง ใหครูประจาํ วชิ ารบั ทราบ 5.5.4 ครปู ระจาํ วชิ าดาํ เนนิ การ แก “ ร ” ใหกับนักเรยี น 5.5.5 ครูประจําวชิ านําผลการแก “ ร ” ของนกั เรียนมารายงานใหฝ ายวิชาการรบั ทราบ 5.5.6 ฝายวชิ าการแจงผลการแก “ ร ” ใหน กั เรยี นและครูที่ปรึกษารับทราบ 6. แนวปฏิบัตใิ นการแก “ มส. ” ในการแก “มส.” มีแนวปฏบิ ตั ดิ ังตอ ไปน้ี 6.1 ครผู ูส อนไดพจิ ารณาสาเหตทุ ีน่ กั เรยี นไดผลการเรียน “มส.” ซ่ึงมีอยู 2 กรณคี ือ 6.1.1 นักเรียนมเี วลาเรยี นไมถงึ 60 % ไมม สี ทิ ธยิ ืน่ คํารองขอมีสทิ ธสิ์ อบ ตองเรียนซ้ําใหมหมด 6.1.2 นักเรียนมเี วลาเรยี นไมถงึ 80 % แตไ มนอยกวา 60 % 6.1.2.1 ใหน กั เรยี นยื่นคํารองขอแกผลการเรยี น “มส.” จากครูผสู อน 6.1.2.2 ครผู สู อนตองจัดใหนักเรียนเรียนเพม่ิ เติมเพ่อื ใหเ วลาครบตามรายวชิ านน้ั ๆ โดยอาจใช ช่วั โมงวา ง / วนั หยุด 6.1.2.3 เมอื่ นักเรียนมาดาํ เนินการแก “มส.” ตามขอ 2 แลวจะไดระดบั ผลการเรียน 0 – 1 6.1.2.4 ถานกั เรียนไมม าแก “มส.” ใหเ สรจ็ ตามระยะเวลาท่ีกําหนดใหนักเรียนผนู ั้นตอ งเรียนซาํ้ 6.1.2.5 ถา มเี หตสุ ดุ วิสัยไมส ามารถมาแก “มส.” ได ใหอยใู นดุลพนิ จิ ของหัวหนาสถานศึกษาทจ่ี ะ ขยายเวลามาแก “มส.” ออกไปอีก 1 ภาคเรียน เม่อื พนกําหนดน้ีแลวใหน ักเรียนผูน้นั เรียนซํ้าหรอื ใหเปล่ียนรายวิชาใหม ไดในกรณที ี่เปนรายวชิ าเพิ่มเติม 6.2 ข้นั ตอนและแนวปฏิบัตใิ นการแก “มส.” ของนกั เรียน 6.2.1 ครูประจําวชิ าแจงผล “มส. “ ของนกั เรยี นท่ฝี ายวชิ าการ 6.2.2 ฝายวิชาการโดยงานวัดผลแจงนักเรียนทมี่ ผี ลการเรียน “มส.” รบั ทราบ 6.2.3 ฝายวชิ าการแจงครทู ีป่ รกึ ษารบั ทราบเพ่ือชวยดแู ลและติดตามนักเรยี นมาดําเนินการแก “มส.” 6.2.4 นกั เรียนท่ีติด“มส.” นําผปู กครองมาย่ืนคํารองขอแก “มส.” ท่ีฝายวชิ าการ ฝา ยวชิ าการแจง ใหครู ประจําวชิ ารบั ทราบ เพื่อดาํ เนินการแก “มส.”ของนกั เรยี นตามแนวปฏิบัติการแก “มส.” ของนกั เรยี น ครูประจาํ วิชา

คมู อื ปฏิบตั งิ านฝา ยวชิ าการโรงเรียนนํ้าปลกี ศึกษา ๑๙ นาํ ผลการแก “มส.” ของนักเรียนมารายงานใหฝ ายวชิ าการรับทราบ ฝายวิชาการแจงผลการแก “มส.” ใหน ักเรียนและ ครทู ี่ปรกึ ษารับทราบ 7. แนวปฏิบตั ใิ นการเรียนซ้ํา ในการจัดใหนักเรียน “ เรยี นซํ้า ” มีแนวปฏบิ ัติดงั น้ี 7.1 ใหค รผู ูส อนเดมิ ในรายวชิ าน้นั เปน ผูร บั ผดิ ชอบสอนซาํ้ 7.2 การดําเนินการ “เรยี นซํ้า” เปนหนาทีโ่ ดยตรงของครูผูสอน เมอ่ื มนี ักเรยี น“เรยี นซ้าํ ” ในรายวิชาที่ รบั ผดิ ชอบตอ งดําเนินการ “เรยี นซํา้ ” ใหเสร็จสิ้นภายในภาคเรยี นถดั ไป ถาไมสามารถดําเนินการใหแ ลวเสร็จตาม กําหนด ใหร ายงานฝายวิชาการรับทราบ ถา ไมด าํ เนนิ การใดๆ ถือวา บกพรองตอ หนาท่ีราชการ 7.3 ครูผูสอนและนักเรียนกาํ หนดจัดตารางเรียนรวมกนั ใหจํานวนชวั่ โมงครบตามระดบั ชั้น และครบตาม หนวยการเรียนของรายวชิ าน้ัน ๆ ครูผูส อนอาจมอบหมายงานใหใ นช่ัวโมงทกี่ าํ หนด จะสอนหรอื มอบหมายงานใหท ํา จะ มากหรอื นอยตองพจิ ารณาตามความสามารถของนักเรยี นเปนรายบุคคล 7.4 สาํ หรับชวงเวลาท่จี ัดใหเรยี นซ้าํ อาจทําไดด ังนี้ 7.4.1 ชวั่ โมงวาง 7.4.2 ใชเวลาหลงั เลิกเรยี น 7.4.3 วันหยุดราชการ 7.4.4 สอนเปน ครง้ั คราวแลวมอบหมายงานใหทํา 7.5 การประเมนิ ผลการเรียนใหดําเนนิ การตามระเบยี บการประเมินผลทกุ ประการ 7.6 ครผู ูสอนสงผลการเรียนซํ้าพรอมกบั การประเมินผลปลายภาคเรยี นใหฝา ยวิชาการ 7.7 ขน้ั ตอนและแนวปฏิบตั ิในการ “เรยี นซ้าํ ” ของนักเรียน 7.7.1 ฝายวชิ าการโดยงานวัดผลสํารวจและแจงนักเรยี นทต่ี อง “เรยี นซ้าํ ” รับทราบ 7.7.2 ฝา ยวิชาการแจงครทู ปี่ รึกษารบั ทราบเพื่อชว ยดูแลและติดตามนักเรียนมาดําเนนิ การ “เรยี นซ้ํา” 7.7.3 นักเรียน “เรียนซํ้า” มายื่นคาํ รองขอ “เรียนซํา้ ” ทฝี่ ายวิชาการ 7.7.4 ฝายวชิ าการแจง ใหค รูประจาํ วชิ ารับทราบ เพื่อดาํ เนนิ การ “เรยี นซํ้า” ของนักเรยี น ตามแนวฏิบตั ิ 7.7.5 ครปู ระจําวชิ านาํ ผลการประเมนิ การ “เรยี นซํ้า”ของนักเรยี นรายงานใหฝ ายวชิ าการรับทราบ 7.7.6 ฝา ยวิชาการแจง ผลการ“เรยี นซ้ํา”ใหน ักเรียนและครูทีป่ รกึ ษารับทราบ

คมู อื ปฏิบัตงิ านฝา ยวิชาการโรงเรียนนํ้าปลกี ศกึ ษา ๒๐ 8. แนวปฏบิ ัตกิ ารจดั สอนแทน 8.1 ทกุ ครง้ั ทม่ี คี รูในกลุม สาระการเรียนรู ตดิ ราชการ / ขาด / ลา ฯลฯ ไมสามารถมาปฏบิ ตั ริ าชการได ให หัวหนากลมุ สาระ หรือ ผูท ่ไี ดรบั มอบหมาย จัดใหม ีการสอนแทนในชั่วโมงนัน้ ๆ ถา จัดไมไ ดใ หแ จงฝายวิชาการ 8.2 บันทกึ การจดั สอนแทนในเอกสารท่ฝี า ยวชิ าการแจกใหทุกคร้ัง 8.3 หัวหนา กลุม สาระ หรอื ผูท่ไี ดรับมอบหมายสงบนั ทึกการจดั สอนแทนทุกวนั ศุกร 8.4 หัวหนา กลุมสาระรวบรวมการสอนแทนเมื่อส้นิ ภาคเรียนทุกภาคเรียน สงฝา ยวชิ าการ หมายเหตุ เม่อื ครูทานใดมธี ุระจําเปน ทีจ่ ะตองลากิจ หรอื ไปราชการ จะตอ งทําการแลกช่ัวโมงสอน หรอื จดั เตรยี มเอกสาร เชน ใบงาน ใบความรู หรือ มอบหมายงานใหนักเรยี นทําในชวงเวลาดงั กลา ว แลว มอบใหห ัวหนา กลุม สาระเพ่ือใหผ ทู ท่ี ําการสอนแทนจะไดทําการสอนตอไป 9. แนวปฏิบตั กิ ารสง แผนการจัดการเรยี นรู ครทู ุกคนจะตองมีแผนการจัดการเรยี นรู กอนนําไปจัดกิจกรรมการเรยี นรใู หก บั นักเรยี น และมีแนวปฏิบตั ดิ ังน้ี 9.1 ใหครูทกุ คนจัดทาํ แผนการจดั การเรยี นรู มีการวเิ คราะหม าตรฐานการเรียนรู/ตัวช้วี ัด เพ่ือกาํ หนดขอบขาย สาระที่จะใชในการจัดการเรยี นการสอน มีการจัดทาํ โครงสรา งรายวชิ าและแผนการประเมินใหค รบถว น ในการจัดทาํ แผนการจัดการเรยี นรใู หมอี งคป ระกอบของแผนครบถวน โดยยดึ รูปแบบทฝี่ า ยบริหารวิชาการกําหนดให องคป ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรู ประกอบดวย 1. รายละเอยี ดของแผนการจัดการเรียนรูและหนว ยการเรียนรู 2. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด 3. ตวั ช้วี ดั /จุดประสงคก ารเรียนรู 4. สาระการเรียนรู 4.1 สาระการเรยี นรูแกนกลาง 4.2 สาระการเรียนรูทอ งถิ่น (ถาม)ี 5. สมรรถนะผเู รยี น (เฉพาะหัวขอทตี่ องการประเมินผูเรียน) 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค (เฉพาะหวั ขอทต่ี องการประเมินผูเ รยี น) 7. กจิ กรรมการเรยี นรู 8. การวดั และการประเมินผล 9. สื่อ/แหลงเรยี นรู หมายเหตุ อาจมีการเพ่ิมเติมรายละเอียดไดตามความเหมาะสมและธรรมชาติของวิชาท่ีจดั กจิ กรรม 9.2 ใหคุณครบู ันทึกรายงานการจดั ทําแผนการจดั การเรยี นรู เสนอฝายบรหิ ารวิชาการและหวั หนา สถานศึกษา เพื่อใหค วามเห็นชอบกอนนําแผนไปใชจัดกิจกรรมใหก ับนักเรยี น 9.3 การจัดสงแผนการจัดการเรยี นรูของครู ใหจดั สงทห่ี ัวหนา กลุมสาระการเรียนรกู อนนําไปใชจ ดั กิจกรรม 2 สปั ดาห โดยใหสง อยางนอยเดือนละ 2 ครั้ง และใหหวั หนากลุมสาระการเรยี นรเู ปน ผรู วบรวม ตรวจสอบ และรายงานฝายบริหารวชิ าการทราบทกุ วนั ศุกร หากไมรายงานถอื วาบกพรองตอหนา ที่ 9.4 หลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในแตละวนั ใหค รทู ุกคนที่มีคาบสอนสงบันทึกหลังสอนทุกครง้ั ท่ฝี ายบรหิ ารวิชาการ ในคาบสุดทา ยกอ นเลิกเรียน

คูมอื ปฏบิ ตั งิ านฝา ยวชิ าการโรงเรียนน้ําปลีกศึกษา ๒๑ 9.5 หลังจากจดั การเรียนรจู นครบหนวยการเรียนรู ใหมีการวดั และประเมินผลผูเ รยี นใหเสรจ็ ส้นิ โดยแจง ขอ มลู นักเรยี นผา นเกณฑก ารประเมินและไมผา นเกณฑ ในกรณที น่ี ักเรยี นไมผานเกณฑใหท ําการซอนเสริมและหาวธิ ี ชวยเหลอื ดําเนนิ การประเมนิ ผลจนกระท่ังนักเรยี นผา นเกณฑการประเมินทั้งหมดในหนวยนน้ั ๆ กอนจะไปสอนใน หนวยการเรียนรถู ัดไป 10. แนวปฏิบตั ิในการเขาหองเรยี นและออกจากหองเรียนของครูผสู อน ในการเขาใชหองเรียนของครูซึ่งเปน หองเรียนท่ีตองใชรวมกนั จงึ จําเปนตองชว ยกันรักษาความสะอาดและ ความเปนระเบียบวินยั และจะตองรบั ผิดชอบรวมกนั โดยมีขอ ปฏบิ ตั ิดงั นี้ 10.1 ใหค ุณครูเขาหองเรียนทีร่ ับผิดชอบสอนตามตารางสอนทีท่ างฝา ยบรหิ ารวิชาการจดั ให ใหตรงเวลาและ สอนใหเ ต็มเวลาที่กําหนด 10.2 หากมคี วามจําเปน ตองเปล่ียนแปลงการใชหองเรยี น ในการจัดกิจกรรมใหแจง ใหผูท่ีรบั ผดิ ชอบหอง นั้น ๆ ทราบลว งหนาและมีการลงบันทกึ การใชหอ งใหเ รียบรอ ย เชน หอ งสมดุ หองปฏบิ ตั กิ ารตา ง ๆ เปนตน 10.3 ใหค ุณครูเขาสอนใหตรงเวลาตามตารางสอนกําหนด หากตดิ ราชการ / ขาด / ลา ฯลฯ ใหม อบหมายให มผี สู อนแทน การมอบหมายงานใหเดก็ ปฏบิ ัตเิ พียงลาํ พังโดยไมมีครคู วบคุมเปน ส่งิ ไมควรกระทํา เน่ืองจากเปน ละทง้ิ / ทอดทิ้งหนาที่ในการสอน ซง่ึ มคี วามผิดชดั เจน 10.4 การจัดการเรียนรคู วรจดั สภาพแวดลอมและสรา งบรรยากาศท่เี อ้ือตอ การเรียนรู กระตนุ ใหน ักเรียนไดมี สวนรวมในการคิดและลงมอื ปฏบิ ัติ ใชส อ่ื การเรยี นที่หลากหลายทันสมยั มีการวัดและประเมนิ ผลทหี่ ลากหลายเนนที่ พฒั นาการของผูเ รียน และความแตกตางระหวา งบุคคล 10.5 กอนหมดเวลาเรียน ใหน กั เรียนไดจ ดั โตะ-เกาอีใ้ หอยูใ นสภาพท่เี รยี บรอย จดั เกบ็ ส่ิงของเขา ทใ่ี หเรยี บรอย และเก็บกวาดหองเรยี นใหส ะอาด ท้ิงขยะ สาํ รวจความเรยี บรอยกอนออกจากหอง เชน ไฟฟา และพัดลม ตลอดจน โสตทัศนูปกรณต าง ๆ ใหเรยี บรอย 10.6 ออกจากหองเรยี นเมอ่ื หมดเวลาและมีเสยี งสัญญาณดงั หมายเหตุ หากหอ งเรียนสกปรก ไมม ีความเปนระเบียบเรียบรอย และไมพรอมใหนกั เรยี นเขาไปใช บรกิ าร ใหร ายงานเปนลายลักษณอักษรใหฝา ยบรหิ ารวิชาการทราบทันที และครูที่ใชหอ งเรียนกอ นคาบนนั้ จะตอง รบั ผิดชอบ เพราะเปน หนา ท่ขี องครูผนู นั้ โดยตรง ทง้ั น้ีจะพจิ ารณาจากตารางการใชห องตามตารางสอนทีฝ่ า ยบริหาร วชิ าการจดั ไวไห กรณีหองขางเคียงไมม ีครูเขาสอนหรือครูเขาหองสายและนกั เรียนสงเสยี งดัง รบกวนการเรียนของหอง อื่น ใหครูที่ไดรบั ความเดอื ดรอนรายงานใหฝา ยบริหารวชิ าการทราบทันที เพื่อรายงานใหผอู ํานวยการทราบตอไป 11. เอกสาร ปพ. 5 11.1 ฝา ยวิชาการไดจดั ทาํ ปพ. 5 พรอมรายช่ือนกั เรียนทุกหอง ครูทกุ ทาน ทกุ รายวิชารบั ไดท ่ฝี า ยวิชาการ 11.2 การบนั ทกึ รายการตางๆ 11.2.1 การวิเคราะหผูเรยี น ดา นการเรยี น ม.1 และ ม. 4 ใหใชผลสอบ O-NET ในรายวิชาน้นั ๆ สว น ม. 2,ม.3 ม. 5 และ ม.6 ใหใชผลการเรยี นในรายวชิ านนั้ ๆ ในชั้นท่ีถดั ลงมา 1 ระดับชน้ั (ปการศึกษาที่ผานมา) 11.2.2 การวเิ คราะหผเู รยี น ดา นพฤติกรรม ใหใ ชผ ลการประเมิน SDQ ม.1 และ ม. 4 ใหประเมินใหม สวน ม. 2,ม.3 ม. 5 และ ม.6 ใหใ ชผ ลการประเมนิ ในชัน้ ทถ่ี ัดลงมา 1 ระดบั ชัน้ (ปการศึกษาที่ผานมา)

คมู อื ปฏิบัติงานฝายวิชาการโรงเรียนนํ้าปลกี ศึกษา ๒๒ 11.2.3 การบันทึกเวลาเรียนในชองวนั ท่ี ใหใ สว นั จันทร-วนั ศกุ ร (เชน 17-18-19-20-21) ใหค รบทกุ ชอง สวนในชองเวลาเรยี น ถา เปนคาบเดียว ใสเลข 1,2,3 ตามลําดบั ถาเปนคาบคู ใหใ ส 1-2,3-4,....) 11.2.4 ใหใสเ ครื่องหมาย ลงในชองเวลาเรียนของนักเรียนแตละคน ถานกั เรยี นขาด ลา ใหใ ส (ข) ขาดเรยี น (ล) ลา 11.2.5 ชอ งรวมเวลาเรยี น ตัวเลขดา นบน คอื รอยละ 80 ของเวลาเรียน ดานลา ง คือจาํ นวนคาบเต็ม 11.2.6 อัตราสวนคะแนน ระหวางภาค:ปลายภาค 5 วชิ าหลกั ทงั้ พ้นื ฐานและเพิ่มเตมิ ควรกําหนด สดั สว นเปน 70:30 สวนวิชาอื่น ๆ เชน สขุ ศึกษาพลศึกษา ศิลปศกึ ษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี อาจใชส ดั สวน 80:20 , 90:10 ตามความเหมาะสม หมายเหตุ หลักสูตร 51 เนนใหเก็บคะแนนระหวางภาคมากกวา ปลายภาค ซ่งึ การเก็บระหวา งภาคถอื วา เปน การประเมินเพ่ือพฒั นานักเรยี น (formative) สวนการเก็บคะแนนปลายภาคเปนการประเมินเพอ่ื สรุปผล (summative) 11.2.7 การสอบจุดประสงค และการสอบกลางภาค ใหใ สคะแนนทีน่ ักเรียนไดล งในชองบนั ทึกคะแนน สําหรบั นักเรียนที่ไดคะแนนไมผา นเกณฑท กี่ ําหนด หลงั จากมีการสอบแกต ัวแลว จะไดไมเกินครึ่งของคะแนนเตม็ ให บันทกึ ดังน้ี คะแนนเต็ม 10 คะแนน นักเรยี นสอบได 2 คะแนน หลังจากสอบแกต ัวแลว ได 6 คะแนน (เกณฑที่ครู กาํ หนด) บันทึกคะแนนเปน 2/6 หากบนั ทึกเฉพาะ เลข 2 แสดงวา นกั เรยี นยังไมสอบแกตัวเพื่อปรบั คะแนน หมายเหตุ สาํ หรับการบนั ทกึ คะแนน อาจใชร ปู แบบนอกเหนือจาก ปพ. 5 ของโรงเรียนกไ็ ด โดยปดทบั ลงไปในหนาการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู โดยตอ งครบทกุ หนวยการเรียนรตู ามหลักสตู รช้ันเรยี นท่ไี ดกําหนดไว 11.2.8 การวัดและประเมนิ ผลดานคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ใหด าํ เนินการตามเกณฑท่ีสถานศึกษา กําหนด 11.2.9 การวดั และประเมินผลดานการอา น คิดวเิ คราะหแ ละเขียน ผลการประเมนิ ในรายวิชาท่ี รบั ผิดชอบสอนใหด าํ เนินการตามเกณฑทส่ี ถานศึกษากาํ หนดประเมนิ ผลดานการอาน คิดวเิ คราะหแ ละเขียน 11.2.10 คาํ อธบิ ายรายวชิ า ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู พมิ พป ด ทับ หรือเขียน ก็ได 12. การจัดทําแบบทดสอบกลางภาค/ปลายภาค ในการดําเนินการสอบกลางภาคและปลายภาค แนวปฏบิ ตั ิดังนี้ 12.1 ใชร ูปแบบตามที่ฝา ยวิชาการกาํ หนด 12.2 ครปู ระจําวิชาออกขอ สอบโดยใหมีขอสอบทงั้ แบบปรนัยและอตั นัย ในอตั ราสว น 70:30 หรอื ตาม สัดสว นท่ีตกลงกัน 12.3 นาํ ขอสอบ O-Net ในปท่ผี านๆ มาบรรจุลงไปในขอสอบท้งั กลางภาคและปลายภาคอยางนอยรอ ยละ 10 ของขอสอบทั้งหมด เชน ขอ สอบ 40 ขอ มขี อสอบ O-Net 4-5 ขอเปนตน 12.4 ขอสอบควรครอบคลุมทั้ง ความรูความจาํ (1) ความเขาใจ(2) การนาํ ไปใช(3) วิเคราะห(4) สังเคราะห(5) การประเมนิ คา (6) 12.5 ขอ สอบตอ งผานการหาคา IOC โดยใชผ ูเช่ยี วชาญในกลมุ สาระเดยี วกนั จํานวน 3-5 คน (คา IOC คือ คา ความเทย่ี งตรงของขอสอบ โดยคาความสอดคลอ งของขอ สอบกับจุดประสงคที่ใชไดอยรู ะหวา ง 0.50-1)

คมู อื ปฏบิ ตั งิ านฝายวิชาการโรงเรียนนํา้ ปลีกศกึ ษา ๒๓ 12.6 สง ขอสอบตนฉบบั พรอมสําเนาครบถว นตามจาํ นวนผูเขาสอบ ใหฝ ายวชิ าการตรวจสอบทนั ตาม กําหนดเวลา หากลา ชา กวากําหนด ถือวา บกพรอ งตอ หนาท่ีราชการ 13. การรายงานผลการวดั และประเมินผลการเรียน การวดั และประเมินผลการเรียน ที่จะตอ งรายงานใหทันตามกาํ หนดเวลาตามปฏทิ ินงานฝา ยวชิ าการ ซึ่งหาก ลา ชา กวากาํ หนดถือวาบกพรองตอหนาทร่ี าชการ มีดังน้ี 13.1 การสงสมุด ปพ. 5 13.2 แบบบันทึกกิจกรรมพฒั นาผเู รียน ประกอบดว ย 13.2.1 กจิ กรรมชมุ นมุ 13.2.2 กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี และนักศึกษาวิชาทหาร 13.2.3 กจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชน 13.2.4 กจิ กรรมแนะแนว 13.3 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค (ครทู ี่ปรึกษา) แบบประเมินการอา น คดิ วิเคราะหแ ละเขยี น (ครผู สู อน) 13.4 การบนั ทึกขอมลู ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นในรายวชิ าทีร่ บั ผดิ ชอบลงในโปรแกรมSGS เอกสารหลักฐานทางการศกึ ษา 1. ระเบยี นแสดงผลการเรียน (TRANSCRIPT) (ปพ.1) เปน เอกสารสาํ หรับบนั ทึกขอมูลผลการเรยี นของผูเ รียนตามเกณฑการผานชว งช้นั ของหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐานแตละชวงช้นั ไดแก ผลการเรยี นรตู ามกลุมสาระการเรยี นรู 8 กลุม ผลการประเมินการอาน คดิ วิเคราะห เขียน ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงคของโรงเรยี น และผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น โรงเรียนจะตอง จัดทาํ และออกเอกสารนีใ้ หกับผูเรียนเปนรายบุคคล เม่ือจบการศกึ ษาแตละชว งช้นั เพอื่ ใชป ระโยชนใ นดานตางๆ ตอ ไปนี้ - แสดงผลการเรียนของผเู รียนตามโครงสรางหลักสูตรของโรงเรียน - รบั รองผลการเรยี นของผูเรยี นตามขอ มลู ที่บนั ทกึ ในเอกสาร - ตรวจสอบผลการเรยี นและวุฒกิ ารศึกศกึ ษาของผเู รยี น - ใชเ ปนหลักฐานแสดงวฒุ ิการศกึ ษาเพ่ือสมคั รเขา ศึกษาตอ สมัครงานหรอื ขอรับสิทธปิ ระโยชนอ ่ืนใดที่พงึ มี พึงไดตามวุฒิการศกึ ษานน้ั 2. หลกั ฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ประกาศนียบัตร) (ปพ.2) เปนวฒุ ิบัตรทม่ี อบใหผ เู รยี นที่สาํ เร็จการศกึ ษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เพื่อประกาศและรบั รองวฒุ ิ การศกึ ษาของผูเรียน สงผลใหผ ูเรียนไดรบั ศกั ดิ์และสิทธติ า งๆ ของผสู ําเร็จการศกึ ษาตามวุฒแิ หง ประกาศนียบัตรน้ัน ประกาศนยี บตั รสามารถนําไปใชป ระโยชนไ ด ดงั น้ี - แสดงวุฒิทางการศึกษาของผูเรยี น - ตรวจสอบวฒุ ทิ างการศึกษาของผูเรยี น

คมู อื ปฏิบัตงิ านฝายวชิ าการโรงเรียนน้ําปลีกศกึ ษา ๒๔ - ใชเปนหลกั ฐานแสดงวุฒิการศึกษา เพ่อื สมคั รเขาศึกษาตอ สมัครงานหรือขอรับสทิ ธิประโยชน อนื่ ใด ท่พี ึงมีพึงไดต ามวฒุ กิ ารศกึ ษาแหง ประกาศนยี บัตรน้นั 3. แบบรายงานผูสาํ เรจ็ การศึกษา (ปพ.3) เปน เอกสารสาํ หรบั สรปุ ผลการเรียนของผูส ําเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานแตละชว งช้ัน โดย บนั ทึกขอมูลของผูเรียนทจ่ี บการศกึ ษาชว งชน้ั เดียวกัน รนุ เดยี วกนั ไวในเอกสารฉบบั เดียวกัน เปน เอกสารทผ่ี บู ริหาร โรงเรียนใชส ําหรบั ตัดสินและอนุมตั ผิ ลการเรียนใหผ เู รียนจบชว งชั้น เปนเอกสารทางการศึกษาที่สาํ คญั ที่สุด ใชเ ปน หลกั ฐานแสดงคณุ สมบัตหิ รอื คุณวุฒิทางการศึกษาของผูเรียน ผูท มี่ รี ายช่ือในเอกสารนที้ ุกคน จะไดร ับรองวุฒิทางการ ศกึ ษา จากกระทรวงศึกษาธกิ าร แบบรายงานผสู ําเร็จการศึกษา นําไปใชประโยชน ดงั น้ี - เปน เอกสารสาํ หรบั ตัดสนิ และอนุมัตผิ ลการเรียนใหผเู รียนเปน ผสู ําเรจ็ การศกึ ษา - เปน เอกสารสําหรบั ตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองความสาํ เร็จและวฒุ ิการศึกษาของผูสําเร็จ การศกึ ษาแตละคนตลอดไป 4. แบบแสดงผลการพฒั นาคณุ ลักษณะอันพึงประสงค (ปพ.4) โรงเรียนจะจัดทําเอกสารนีแ้ ละมอบใหผเู รยี นทกุ คนเมื่อจบชวงชัน้ หรือจบหลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เอกสารน้ีจะใชบนั ทกึ ผลการประเมนิ ผเู รียนเก่ียวกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมท่ีโรงเรยี นกาํ หนดเปนคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงคของโรงเรียนแตละประการอยางตอ เนื่อง และสรุปผลการประเมินเมื่อจบชวงชั้น เพื่อใหผ ูเรียนนําไปใช แสดง หรือรับรองคุณลักษณะของตน ควบคูกบั ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1)แบบแสดงผลการพัฒนา คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค (ปพ.4) นําไปใชป ระโยชน ดงั น้ี - แสดงผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของผูเ รียนแตล ะประการ - ใชเปน หลกั ฐานแสดงคุณสมบัตขิ องผูเรยี นในการสมัครเขาศึกษาตอ สมัครทํางาน หรือเม่ือมกี รณอี ่ืนใดทผ่ี ูเ รยี น ตอ งแสดงคุณสมบัตเิ กยี่ วกับประวัตคิ วามประพฤติหรอื คุณความดตี างๆ 5. แบบบนั ทึกการพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี น (ปพ.5) เปน เอกสารทโ่ี รงเรียนจดั ทาํ ขึ้น เพื่อใหผ ูส อนใชบ นั ทึกขอ มูลการวัดและประเมินผลการเรียนของผูเรยี น ตาม แผนการจดั การเรยี นการสอน และประเมนิ ผลการเรียน เพ่ือใชเ ปน ขอมลู สําหรบั พจิ ารณาตดั สินผลการเรยี นแตล ะ รายวิชา เอกสารบนั ทกึ ผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นสามารถนาํ ไปใชป ระโยชน ดงั น้ี - ใชเ ปนเอกสารประกอบการดาํ เนนิ งานในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นของผเู รียน - ใชเ ปน หลักฐานสําหรับตรวจสอบ รายงานและรับรองขอมูลเก่ียวกบั วิธีการและกระบวนการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียน 6. เอกสารรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนรายบุคคล (ปพ.6) เปน เอกสารทโ่ี รงเรียนจัดทาํ ข้ึนเพือ่ บนั ทึกขอ มูลการประเมินผลการเรยี นรแู ละพัฒนาการดา นตา งๆ ของผเู รียน แตละคน ตามเกณฑการผา นชว งช้ันของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังขอมูลดานอื่นๆ ของผเู รยี นทงั้ ที่บา นและ โรงเรยี น โดยจดั ทําเปนเอกสารรายบคุ คล เพื่อใชส ําหรบั สอื่ สารใหผ ปู กครองของผเู รยี นแตละคนไดท ราบผลการเรยี น

คูม ือปฏบิ ตั ิงานฝายวชิ าการโรงเรียนนํา้ ปลกี ศึกษา ๒๕ และพฒั นาการดานตางๆ ของผเู รียนอยา งตอ เนอ่ื ง แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผูเรียนรายบคุ คล นําไปใช ประโยชน ดังนี้ - รายงานผลการเรียน ความประพฤติ และพฒั นาการของผูเรยี นใหผ ปู กครองไดร ับทราบ - ใชเ ปน เอกสารสื่อสาร ประสานงานเพ่อื ความรวมมอื ในการพฒั นาและปรับปรุงแกไ ขผูเรยี น - เปน เอกสารหลักฐานสาํ หรับตรวจสอบ ยนื ยนั และรับรองผลการเรยี นและพฒั นาการตา งๆ ของผูเรยี น 7. ใบรับรองผลการศกึ ษา (ปพ.7) เปน เอกสารท่โี รงเรียนจัดทําข้ึน เพ่ือใชเปนเอกสารสาํ หรับรับรองสถานภาพผูเรยี นหรือผลการเรยี นของผูเรียน เปนการชั่วคราวตามทีผ่ ูเรยี นรองขอ ท้งั กรณที ผ่ี ูเ รียนกาํ ลังศกึ ษาอยูในโรงเรียนและเมื่อจบการศกึ ษาไปแลว ใบรบั รอง ผลการศกึ ษา นาํ ไปใชป ระโยชนดังน้ี - รบั รองความเปน ผเู รยี นของโรงเรยี นทีเ่ รยี นหรอื เคยเรียน - รบั รองและแสดงความรู วฒุ ิของผูเรียน - ใชเ ปน หลกั ฐานแสดงคุณสมบัติของผูเรียนในการสมัครเขาศึกษาตอ สมัครเขาทํางาน หรือเมื่อมีกรณีอ่ืนใดท่ี ผูเรยี นตองแสดงคุณสมบตั เิ ก่ียวกบั วุฒิความรู หรือสถานะ การเปนผูเ รยี นของตน - เปน หลกั ฐานสาํ หรบั การตรวจสอบ รับรอง ยืนยันการใชสทิ ธิ์ความเปน ผูเรียน หรือการไดร ับการรบั รองจาก โรงเรียน 8. ระเบียนสะสม (ปพ.8) เปนเอกสารที่โรงเรยี นจัดทาํ ข้ึนเพอ่ื บันทึกขอ มูลเกีย่ วกบั พัฒนาการของผูเ รยี นในดานตา งๆ เปนรายบคุ คล โดย จะบันทึกขอ มลู ของผูเรียนอยางตอเน่ืองตลอดชวงระยะเวลาการศึกษาตามหลักสตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน 12 ป ระเบียนสะสม นาํ ไปใชป ระโยชนด ังนี้ - ใชเ ปน ขอ มูลในการแนะแนวทางการศกึ ษาและการประกอบอาชพี ของผเู รียน - ใชเ ปน ขอมูลในการพฒั นาปรบั ปรงุ บุคลิกภาพ ผลการเรียนและการปรบั ตวั ของผเู รยี น - ใชติดตอสอื่ สาร รายงานพัฒนาคุณภาพของผเู รียนระหวา งโรงเรียนกบั ผูป กครอง - ใชเปนหลักฐานสาํ หรบั การตรวจสอบ รับรอง และยืนยันคุณสมบัติของผเู รียน 9. สมดุ บันทกึ ผลการเรียนรู (ปพ.9) เปนเอกสารที่โรงเรียนจดั ทําขึ้น เพอ่ื แสดงรายวชิ าทงั้ หมดตามหลกั สตู รของโรงเรยี นแตละชวงช้นั พรอมดวย รายละเอยี ดของแตละรายวชิ า ประกอบดวย ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู คําอธบิ ายรายวชิ า และผลการประเมนิ ผลการ เรียนของผเู รยี น เพอ่ื ใหผเู รียนใชศึกษาหลักสูตรของ โรงเรียนวา มรี ายละเอยี ดอะไรบาง สาํ หรบั การวางแผนการเรียน และใชส ทิ ธใิ์ นการเทียบโอนผลการเรยี นไดถูกตอง เหมาะสมกับความสามารถของตน สมดุ บนั ทึกผลการเรยี นรู (ปพ.9) สามารถนาํ ไปใชป ระโยชนดงั นี้ - ศกึ ษาหลักสตู รของโรงเรยี นในแตละชวงชนั้ - บนั ทกึ และแสดงผลการเรียนของผูเรยี นในการเรยี นแตละรายวชิ า - รายงานผลการเรยี นรูใ หผ ูปกครองและผเู ก่ยี วขอ งไดร ับทราบ

คูมอื ปฏิบัติงานฝายวชิ าการโรงเรียนนํ้าปลีกศกึ ษา ๒๖ - ใชเ ปน ขอ มลู ในการเทียบโอนผลการเรยี น ในกรณที ผ่ี เู รยี นยา ยโรงเรยี น - เปน หลักฐานสําหรบั ตรวจสอบ ยนื ยัน รายงาน และรับรองผลการเรียนของผเู รยี น

คมู อื ปฏบิ ัติงานฝายวชิ าการโรงเรียนนํา้ ปลกี ศึกษา ๒๗ คณะกรรมการดาํ เนินการกลมุ บริหารวชิ าการ 1. นายเถลิงศกั ดิ์ เถาวโท ปฏิบตั ิหนา ท่ีผูช ว ยผูอ าํ นวยการกลมุ บรหิ ารวิชาการ 2. นายบญุ ถิน ไชยอุตม ปฏบิ ตั หิ นาท่ีปรึกษาผูชวยผอู าํ นวยการกลมุ บริหารวชิ าการ 3. วา ที่ ร.ต.สดุ สาคร นามสุวรรณ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ 4. นางเสงี่ยม หิรัญสงิ ห ครูชํานาญการพเิ ศษ 5. นางสมหมาย สอยสแี สง ครูชํานาญการพิเศษ 6. นางสาวโฉมสดุ า บุญลอม ครูชํานาญการพเิ ศษ 7. นางสาวมณีรตั น อาจหาญ ครูผชู วย 8. นางนราจนั ทร กมลรัตน ครูพี่เลย้ี ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook