Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันมาฆบูชา 2564

วันมาฆบูชา 2564

Description: วันมาฆบูชา 2564

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมสงเสรมิ การอา น ผาน E-book

วนั มาฆบชู า ความหมายคอื อะไร คาํ วา \"มาฆะ\" นน้ั เปน ชอ่ื ของเดอื น 3 ยอมาจากคาํ วา \"มาฆบุรณมี\" หมายถงึ การบูชาพระในวนั เพ็ญกลางเดือนมาฆะ ตาม ปฏิทนิ ของอนิ เดีย หรือเดอื น 3 การกาํ หนดวนั มาฆบูชา การกาํ หนดวันมาฆบชู าตามปฏิทินจันทรคติของไทยน้ันจะตรงกบั วันขนึ้ 15 คา่ํ เดอื น 3 แตถ า ปใ ดมเี ดอื นอธิกมาส คือมเี ดอื น 8 สอง ครง้ั วันมาฆบชู า ก็จะเล่อื นไปเปนวันข้ึน 15 ค่ํา เดอื น 4 และมักตรง กับเดือนกุมภาพนั ธหรือมนี าคม ซ่งึ วนั มาฆบูชา 2564 ตรงกบั วัน ศกุ ร 26 กมุ ภาพนั ธ

ประวตั วิ นั มาฆบูชา ความสําคัญของวันมาฆบชู า ความสําคญั ของวนั มาฆบูชา คือเปน วนั ที่พระสัมมาสัมพุทธเจาทรง แสดง \"โอวาทปาติโมกข\" แกพ ระสงฆเ ปนครั้งแรก หลงั จากตรัสรมู า แลวเปนเวลา 9 เดอื น ซึง่ หลักคาํ สอนนเ้ี ปนหลกั การ และวธิ ีการ ปฏิบัตติ า ง ๆ หากสรุปเปน ใจความสําคัญ จะมีเน้อื หาวา \"ทําความดี ละเวน ความชวั่ ทําจิตใจใหบริสุทธิ์\"

ในวันมาฆบชู า ไดเกดิ เหตุอศั จรรยข้นึ พรอม ๆ กนั ถงึ 4 ประการ อันไดแ ก 1. วนั นั้นตรงกับวนั เพ็ญ ขน้ึ 15 คํ่า เดือน 3 ซึ่งพระจนั ทร เสวยมาฆฤกษ 2. มีพระสงฆจาํ นวน 1,250 รูป มาประชุมพรอ มกนั โดยมไิ ด นัดหมาย ณ วัดเวฬวุ ัน เมอื งราชคฤห แควนมคธ เพ่อื สักการะพระสัมมาสมั พุทธเจา 3. พระสงฆท ี่มาประชุมทั้งหมดลว นแตเ ปนพระอรหนั ต ผูไดอ ภิญญา 6 4. พระสงฆท ้ังหมดไดรบั การอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจา หรอื \" เอหิภิกขุอุปสมั ปทา\"

และเพราะเกิดเหตอุ ศั จรรย 4 ประการขางตน ทําใหวันมาฆบชู า เรียก อกี ช่อื หนึง่ ไดว า \"วนั จาตรุ งคสนั นิบาต\" ซึ่งคําวา \"จาตุรงคสันนบิ าต\" นี้ มคี วามหมายตามการแยกศัพทคอื - จาตุร แปลวา 4 - องค แปลวา สว น - สนั นิบาต แปลวา ประชุม ดังน้ัน \"จาตุรงคสนั นิบาต\" จึงหมายความวา \"การประชมุ ดว ย องค 4\" น่ันเอง ทั้งน้ี วันมาฆบชู า ถือวาเปน วันพระธรรม ขณะที่วนั วสิ าขบชู า ถือวาเปนวนั พระพุทธ สวนวันอาสาฬหบชู า เปน วนั พระสงฆ

ประวัติวนั มาฆบูชาในประเทศไทย พธิ ีทําบุญวนั มาฆบูชานี้ ไมป รากฏหลักฐานวา มีมาในสมัยใด อยางไรกต็ ามในหนงั สือ \"พระราชพธิ สี ิบสองเดอื น\" อันเปน บท พระราชนพิ นธข อง \"พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยูห วั \" มี เรือ่ งราวเกย่ี วกับการประกอบราชกุศลมาฆบูชาไววา ประเทศไทยเริ่มกาํ หนดพิธีปฏบิ ตั ใิ นวนั มาฆบูชาเปน ครงั้ แรก ในชวงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู ัว รชั กาลที่ 4 ซง่ึ มกี ารประกอบพธิ ีเปนครั้งแรกในป พ.ศ. 2394 ในพระบรมมหาราช วงั กอ น โดยมีพธิ พี ระราชกุศลในเวลาเชา นมัสการพระสงฆจ ากวดั บวรนเิ วศราชวรวหิ ารและวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ราชวรวหิ าร จาํ นวน 30 รูป ฉนั ภัตตาหารในพระอโุ บสถ วดั พระศรี รัตนศาสดาราม

เมื่อถึงเวลาคา่ํ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว เสด็จออก ทรง จดุ ธปู เทยี นนมสั การ พระสงฆท าํ วตั รเยน็ และสวดคาถาโอวาท ปาติโมกข เม่อื สวดจบทรงจุดเทียน 1,250 เลม รอบพระอุโบสถ มกี าร ประโคมอีกครั้งหน่ึงแลว จึงมกี ารเทศนาโอวาทปาติโมกข 1 กณั ฑ เปน ทง้ั เทศนาภาษาบาลี และภาษาไทย สว นเคร่อื งกัณฑประกอบดวย จีวร เนื้อดี 1 ผนื เงิน 3 ตําลงึ และขนมตาง ๆ เมื่อเทศนาจบ พระสงฆ 30 รูป สวดรับ ในสมัยรัชกาลที่ 4 นั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูห ัว จะเสดจ็ ออกประกอบพธิ ีดวยพระองคเองทุกป แตมีการยกเวนบางใน สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู วั รัชกาลที่ 5 เนือ่ งจาก บางคร้งั ตรงกับชว งเสดจ็ ประพาสก็จะทรงประกอบพธิ ีมาฆบูชาในสถาน ทน่ี ั้น ๆ ขึ้นอีกแหง นอกเหนอื จากภายในพระบรมมหาราชวงั

ตอ มาการประกอบพิธีมาฆบูชาไดแพรหลายออกไปภายนอกพระบรม มหาราชวงั และประกอบพิธีกันท่ัวราชอาณาจักร ทางรฐั บาลจงึ ประกาศใหเ ปนวนั หยุดทางราชการดวย เพื่อใหป ระชาชนจากทุก สาขาอาชีพไดไ ปวดั เพ่อื ทําบญุ กศุ ลและประกอบกิจกรรมทางศาสนา นอกจากนใี้ นป พ.ศ. 2549 รัฐบาลไทยประกาศใหวนั มาฆบชู า เปน วนั กตญั แู หง ชาตอิ ีกดวย

วนั มาฆบชู า กับหลักธรรมทีค่ วรนําไปปฏบิ ตั ิ หลกั ธรรมทคี่ วรนําไปปฏบิ ตั ิคือ \"โอวาทปาติโมกข\" ซ่ึง เปนหลกั คาํ สอนสาํ คัญอนั เปน หัวใจของพระพทุ ธศาสนา เพื่อ นําไปสูค วามหลุดพน หลกั ธรรมประกอบดว ย หลกั การ 3 อุดมการณ 4 และวิธกี าร 6 ดงั นี้

หลกั การ 3 คอื หลกั คาํ สอนท่คี วรปฏบิ ัติ ไดแก 1. การไมทาํ บาปท้ังปวง คอื การลด ละ เลิก ทาํ บาปทัง้ ปวง อันไดแ ก อกุศลกรรมบถ 10 ซ่ึงเปน ทางแหงความชวั่ 10 ประการทเ่ี ปนความช่ัวทางกาย (การฆาสัตว การลกั ทรัพย การประพฤติผิดในกาม) ทางวาจา (การพดู เท็จ การพดู สอ เสียด การพูดเพอ เจอ ) และทางใจ (การอยากไดสมบตั ิของผูอืน่ การผูกพยาบาท และความเหน็ ผดิ จากทาํ นองคลองธรรม) 2. การทํากศุ ลใหถึงพรอ ม คอื การทําความดีทุกอยา งตามกุศลกรรมบถ 10 ทง้ั ความดีทางกาย (ไมฆา สัตว ไมเบยี ดเบยี นผูอื่น ไมเอาสงิ่ ของทเ่ี จาของไมไ ดให มาเปนของตน มีความเอื้อเฟอ เผอื่ แผ ไมป ระพฤตผิ ดิ ในกาม) ความดที างวาจา (ไม พูดเท็จ ไมพ ดู สอ เสียด ไมพดู หยาบคาย ไมพ ูดเพอ เจอ ) และความดีทางใจ (ไมโลภ อยากไดข องผูอ น่ื มคี วามเมตตาปรารถนาดี มคี วามเขาใจถูกตอ งตามทํานองคลอง ธรรม) 3. การทาํ จติ ใจใหผ อ งใส คอื ทาํ จิตใจใหบริสทุ ธิ์ หลุดจากนิวรณท ่คี อย ขัดขวางจิตใจไมใหเขา ถึงความสงบ ไดแก ความพอใจในกาม, ความพยาบาท, ความหดหูทอแท, ความฟุงซาน และความลังเลสงสัย

กิจกรรมวนั มาฆบูชาที่ควรปฏบิ ัติ การปฏบิ ัติตนสําหรบั พุทธศาสนิกชนในวันมาฆบชู า คือ ใน ตอนเชา ควรไปทําบญุ ตักบาตร ไปวัดเพ่อื ฟงพระธรรมเทศนา หรือ จัดสํารับคาวหวานไปทาํ บุญถวายภัตตาหาร ชว งบา ย ฟง พระแสดง พระธรรมเทศนา เจริญสมาธิภาวนา เม่อื ถึงตอนค่าํ นําดอกไม ธปู เทยี น ไปเวยี นเทยี น 3 รอบ ทีพ่ ระอโุ บสถ โดยการเวยี นเทยี นนั้นจะ เวยี นขวา จาํ นวน 3 รอบ และชวงเวลาที่เดนิ อยนู นั้ ใหระลึกถงึ พระ พุทธ พระธรรม พระสงฆ นอกจากน้พี ทุ ธศาสนิกชนควรบําเพ็ญ สาธารณประโยชนต ามสถานทต่ี า ง ๆ และรักษาศีล สําหรับตาม บานเรอื น สถานทร่ี าชการ จะมกี ารประดับธงชาติ ธงธรรมจักร เพอื่ ระลึกถงึ วันสําคัญทางพระพทุ ธศาสนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook