Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานการปฏิบัติงาน น.ส.ทองปอน พิรา

มาตรฐานการปฏิบัติงาน น.ส.ทองปอน พิรา

Published by jukrapong, 2020-07-15 00:23:58

Description: กลุ่มนิเทศ ติดตาม

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการปฏิบัติงาน ของ นางสาวทองปอน พริ า ศกึ ษานเิ ทศกชํานาญการพเิ ศษ กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกพิจิตร เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คาํ นํา มาตรฐานความรู และประสบการณวิชาชพี ของศึกษานิเทศก ผปู ระกอบวชิ าชพี ศึกษานิเทศก ตองมีมาตรฐานความรู มีคุณวุฒิไมต่ํากวา ปรญิ ญาโททางการศึกษาหรือเทยี บเทา หรอื คุณวฒุ ิอน่ื ท่คี ุรุสภา รับรองโดย มคี วามรู ดานการนเิ ทศการศึกษา ดา นนโยบายและการวางแผนการศึกษา การพัฒนาหลักสูตร และการสอน การประกันคุณภาพการศึกษา การบริหารการจดั การศึกษา การวจิ ัยทางการศึกษา กลวธิ ีการ ถายทอดความรู แนวคิด ทฤษฎี และผลงานทางวิชาการ การบริหารการจัดการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับศึกษานิเทศก ผานการฝก อบรมหลกั สูตรการนเิ ทศการศึกษาท่ีคณะกรรมการ คุรุสภารับรอง ผปู ระกอบวชิ าชพี ศึกษานิเทศก ตองมีมาตรฐานประสบการณวิชาชพี มปี ระสบการณ ดานปฏิบตั ิการสอนมาแลว ไมนอยกวาสบิ ป มีความรูแ ละสมรรถนะของผปู ระกอบวชิ าชพี ศึกษานิเทศกต าม มาตรฐานความรเู รื่องการนิเทศการศึกษาประกอบดว ย สาระความรู วิธีการและกระบวนการนเิ ทศ กลยทุ ธ การนิเทศการศึกษา มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของศกึ ษานิเทศก ผปู ระกอบวชิ าชพี ศกึ ษานิเทศก ตอ งปฏิบัตงิ านตาม มาตรฐานการปฏิบัตงิ านทางวิชาการเกย่ี วกับการพฒั นาการนเิ ทศการศกึ ษา โดยคาํ นึงถึงผลทจ่ี ะเกิดแกผ ูรบั การนิเทศ มุงม่ันพัฒนาผรู ับการนิเทศใหลงมือปฏบิ ัตกิ จิ กรรมอยา งเต็มศกั ยภาพเกดิ ผลจรงิ และใชนวตั กรรมการนิเทศการศึกษา จนเกดิ ผลงานท่มี ีคณุ ภาพสงู ขึ้น จดั กจิ กรรมการนเิ ทศการศึกษาโดยเนนผลถาวรทเี่ กิดแกผรู ับการนเิ ทศ รายงานผล การนเิ ทศการศึกษาไดอยางเปนระบบและปฏิบตั ติ นเปนแบบอยางท่ีดี ขา พเจา นางสาวทองปอน พิรา ศกึ ษานิเทศกชํานาญการพเิ ศษ หวั หนา กลุม งานสงเสรมิ และพฒั นา ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาและหัวหนา กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย หวังเปน อยา งย่งิ วาหนาที่ ความรับผดิ ชอบของขาพเจาจะเปนประโยชนต อคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึก พจิ ติ ร เขต 1 อยางยั่งยืน ตอ ไป ทองปอน พริ า ศึกษานเิ ทศกชํานาญการพิเศษ

สารบัญ หนา 1 คํานํา 1 หนา ทคี่ วามรบั ผิดชอบ 2 โรงเรียนที่รับผิดชอบ 2 รปู แบบการนเิ ทศ 3 มาตรฐานความรู และประสบการณวิชาชพี ของศึกษานิเทศก 3 สาระความรูและสมรรถนะของผปู ระกอบวชิ าชพี ศกึ ษานเิ ทศกตามมาตรฐานความรู 4-5 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านของศึกษานเิ ทศก มาตรฐานวิชาชีพศึกษานเิ ทศกแ ละจรรยาบรรณวชิ าชีพศกึ ษานิเทศก

หนา ท่ีความรับผิดชอบ นางสาวทองปอน พิรา นางสาวทองปอน พริ า ศึกษานเิ ทศกช ํานาญการพเิ ศษ ตําแหนง เลขท่ี 115 รบั ผิดชอบงานตาม คาํ ส่งั สํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาพิจติ ร เขต 1 ที่ 228/2561 เร่อื งการแบงงานและมอบหนา ท่ีการ งาน กลุมนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ปฏิบัตหิ นา ทีห่ วั หนากลมุ งานสง เสรมิ พฒั นาระบบการ ประกันคุณภาพการจัดการศกึ ษา มหี นาท่ี นิเทศ ติดตาม กาํ กบั ควบคุมดูแลการปฏิบัตงิ าน ใหคําปรกึ ษา แนะนําใน การปฏบิ ตั ิงานบุคลากรกลมุ งานพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการจดั การศึกษาและรับผิดชอบ ดงั น้ี 1.งานสงเสริมการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายนอกของสถานศึกษา 2.งานกาํ กับ ติดตาม ตรวจสอบ และเรง รัดระบบประกนั คุณภาพการศึกษา 3.งานศกึ ษา วิเคราะห วิจัยระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 4.นเิ ทศ กํากับตดิ ตาม ตรวจสอบ เรงรัดประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาโรงเรียนในสงั กดั สาํ นักงาน เขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพจิ ิตร เขต 1 ทกุ โรงเรียนและรบั ผดิ ชอบโรงเรียนตามบัญชแี นบทาย 5.งานสงเสริมและพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6.งานโครงการท่ไี ดรับมอบหมาย 6.1 โครงการสง เสริมพัฒนาทักษะการอา นการเขียนภาษาไทย ป ๒๕๖๒ : จัดแขง ขัน ทกั ษะรักษภาษาไทยเนื่องในวันภาษาไทยแหงชาติ ดานการอานการเขยี นภาษาไทย ป.๑ – ป.๖ และ ม.๑ – ม.๖ และครู ระดับเขตพน้ื ท่ี ป ๒๕๖๒ 6.2โครงการสงเสริมการอานตามรอยพระจริยวัตร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ 6.3โครงการอบรมปฏิบัติการสงเสริมพัฒนาทักษะการอานออกการเขียนและคิดเลขเปน 7. ปฏิบตั ิหนาทอ่ี น่ื ตามท่ีผูบงั คบั บญั ชามอบหมาย 8. โรงเรียนทรี่ ับผิดชอบนเิ ทศ กาํ หนดการนิเทศภาคเรยี นละ 2 ครงั้ /โรงเรยี น ไดแ ก 8.1 โรงเรียนบา นทาฬอ(ครุฑวทิ ยากรณ) อําเภอเมอื งพิจติ ร 8.2 โรงเรียนวดั ราชชา งขวญั อาํ เภอเมืองพจิ ิตร 8.3 โรงเรียนบา นหนองถา้ํ อําเภอเมอื งพิจิตร 8.4 โรงเรยี นวดั เนนิ สมอ(พินิจวทิ ยา) อาํ เภอเมืองพิจติ ร 8.5 โรงเรียนวดั ยางคอยเกลือ อาํ เภอเมืองพจิ ิตร 8.6 โรงเรียนบา นมาบมะไฟ อําเภอเมอื งพจิ ิตร 8.7 โรงเรยี นวดั ปามะคาบ(สมมัคคพี ยิ าคาร) อาํ เภอเมืองพิจิตร 8.8 โรงเรียนวดั วังมะเดื่อ อําเภอเมืองพิจติ ร 8.9 โรงเรยี นวัดดาน(คุรุราษฎรอทุ ิศ) อําเภอเมืองพิจิตร 8.10 โรงเรยี นบานวังกระดีท่ อง อาํ เภอเมืองพจิ ติ ร 8.11 โรงเรยี นวัดหงส อําเภอเมอื งพจิ ิตร 8.12 โรงเรยี นวดั หาดมลู กระบอื อาํ เภอเมอื งพจิ ติ ร 8.13 โรงเรียนบา นปลวกสูง อําเภอวชริ บารมี 8.14 โรงเรยี นบา นนา อําเภอวชริ บารมี

2 รปู แบบการนเิ ทศ ใชก ารนิเทศแบบกลั ยาณมติ ร ขอดี 1.เนนคุณภาพการจดั การเรยี นรูผเู รยี นเปนสําคญั ครทู ่ไี ดร ับการนิเทศแบบกลั ยาณมิตร จากการ สงั เกตการเรียนการสอนในหองเรยี น ครมู ีการพัฒนาทกั ษะเพ่ือใชใ นการสง เสรมิ การเรยี นการสอนทีเ่ นน ผูเ รยี นเปน สาํ คญั รว มกนั คดิ วเิ คราะหเ หตุของปญหารว มกับระหวา งผนู ิเทศกบั ผรู บั การนิเทศ ไววางใจซง่ึ กนั และกนั 2.รว มกันรกั ผูกพนั หว งใยผูเรียน ออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรียนการสอนรว มกนั ผรู ับการนิเทศ พรอมรบั ขอเสนอแนะจากผนู ิเทศ และวางแนวทางแกไ ขรว มกัน 3.สงเสรมิ สนับสนุน การใหคาํ ปรึกษาแนะนาํ ปรึกษาตามหลักอรยิ สจั เนน ความรจู ริง คนหาเหตุ ปฏบิ ัติตามแนวทางอริยมรรค เปด โอกาสใหผ รู บั การนิเทศไดเ รยี นรู ไมส รางความกดดัน เรอ่ื งท่ีนิเทศ นเิ ทศดวยความ จริงใจ มีเมตตา ใจกวาง พรอมรับฟงการระบายความในใจของผูร บั การนเิ ทศ 4. เยย่ี มชมการจัดการเรยี นการสอนในหอ งเรยี น อยางสงบ ไมรบกวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นการ สอนของผูเรียน ตามสภาพจริง 5.การพดู คุยดวยปย วาจา แสดงออกถึงความใฝร ู กลาคดิ กลา ทาํ สรา งเวทใี หครผู รู บั การนิเทศ เผยแพรผลงาน พจิ ารณาขอดี ขอควรพฒั นาตอ ยอดในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูรว มกนั ยกระดับคุณภาพการเรยี น การสอน ปรับประยุกตใชการจดั กจิ กรรมการเรียนรูตามความเหมาะสม การนเิ ทศแบบกัลยาณมิตรเปนการชี้แนะและชวยเหลอื ดานการเรยี นการสอน มีหลกั สําคญั 4 ประการ คือ 1.การสรางศรทั ธา 2.การสาธิตรูปแบบการสอน 3.การรวมคิดแลกเปลยี่ นเรียนรู 4.การตดิ ตามประเมินผลตลอดกระบวนการ ขอ เสนอแนะ 1.การนเิ ทศแบบกลั ยาณมิตร ควรดาํ เนินการดว ยความจริงใจออ นนอมถอมตนมีน้ําใจและมคี วาม ตอ เนื่องสงผลใหเกิดความยง่ั ยืนตอ คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู 2.ปรบั ใชรูปแบบการนเิ ทศแบบกัลยาณมิตรท่ีมผี ลตอคณุ ภาพการจัดการเรียนรผู ูเรยี นเปนสําคญั ใหเหมาะกับบรบิ ทของโรงเรียน นางสาวทองปอน พิรา ศึกษานเิ ทศกชาํ นาญการพเิ ศษ ใหค วามสําคัญกบั มาตรฐานวิชาชีพของ ศึกษานิเทศก ดงั นี้ หมวด ๑ มาตรฐานความรู และประสบการณว ิชาชีพของศึกษานิเทศก ขอ ๑ ผปู ระกอบวชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก ตองมีมาตรฐานความรู ดังตอ ไปน้ี (ก) มีคณุ วุฒิไมต ํา่ กวาปริญญาโททางการศกึ ษาหรือเทียบเทา หรอื คุณวฒุ ิอ่ืนที่คุรสุ ภารับรองโดย มคี วามรู ดงั ตอไปนี้ (๑) การนิเทศการศกึ ษา (๒) นโยบายและการวางแผนการศึกษา (๓) การพฒั นาหลกั สูตรและการสอน

3 (๔) การประกันคุณภาพการศึกษา (๕) การบริหารการจัดการศึกษา (๖) การวจิ ยั ทางการศึกษา (๗) กลวธิ ีการถา ยทอดความรู แนวคดิ ทฤษฎี และผลงานทางวิชาการ ๘) กํารบรหิ ารการจัดการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (๙) คณุ ธรรมและจริยธรรมสาํ หรบั ศกึ ษานิเทศก (ข) ผา นการฝก อบรมหลักสตู รการนเิ ทศการศึกษาทค่ี ณะกรรมการคุรุสภารับรอง ขอ ๒ ผปู ระกอบวชิ าชพี ศึกษานิเทศก ตอ งมีมาตรฐานประสบการณวิชาชีพ ดังตอ ไปน้ี (๑) มีประสบการณดานปฏบิ ัตกิ ารสอนมาแลว ไมนอยกวา สิบป หรือมีประสบการณดา น ปฏิบัตกิ าร สอนและมปี ระสบการณใ นตําแหนง ผบู ริหารสถานศกึ ษา หรือผบู รหิ ารการศึกษารวมกนั มาแลว ไมน อ ยกวาสิบป (๒) มีผลงานทางวิชาการทม่ี ีคุณภาพและมกี ารเผยแพร หมวด ๒ สาระความรูแ ละสมรรถนะของผูประกอบวิชาชพี ศึกษานิเทศกตามมาตรฐานความรู ขอ ๓ การนิเทศการศึกษา ประกอบดว ย สาํ ระความรูและสมรรถนะ ดังตอ ไปน้ี (ก) สาระความรู (๑) หลกั การและรปู แบบการนเิ ทศ (๒) วิธีการและกระบวนการนิเทศ (๓) กลยุทธการนิเทศการศกึ ษา (๓.๑) การวิเคราะหพฤติกรรมการนิเทศการศกึ ษา (๓.๒) การสรางทกั ษะในการนิเทศ (๓.๓) การใชก ลยทุ ธในการนิเทศ (๓.๔) การนํานวตั กรรมมาประยุกตใ ชในการนิเทศ (๓.๕) การควบคมุ และการประเมนิ เพอื่ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (๔) การนเิ ทศภายใน หมวด ๓ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของศกึ ษานิเทศก ขอ ๑๒ ผปู ระกอบวชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก ตองปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ดงั ตอ ไปน้ี (๑) ปฏิบตั ิกิจกรรมทางวิชาการเก่ียวกับการพฒั นาการนิเทศการศึกษา เพื่อใหเ กดิ การพฒั นาวชิ าชพี ทางการศึกษา (๒) ตดั สินใจปฏบิ ัติกจิ กรรมการนเิ ทศการศกึ ษา โดยคํานงึ ถึงผลทจ่ี ะเกดิ แกผรู ับการนิเทศ (๓) มุงมัน่ พฒั นาผรู ับการนเิ ทศใหลงมือปฏิบัติกจิ กรรมจนเกดิ ผลตอการพฒั นาอยา งเต็มศักยภาพ (๔) พฒั นาแผนการนเิ ทศใหส ามารถปฏิบัตไิ ดเ กิดผลจรงิ (๕) พัฒนาและใชนวตั กรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกิดผลงานท่ีมีคุณภาพสงู ขน้ึ เปนลําดับ (๖) จดั กจิ กรรมการนเิ ทศการศึกษาโดยเนน ผลถาวรทีเ่ กิดแกผูรบั การนิเทศ (๗) รายงานผลการนิเทศการศึกษาไดอยา งเปนระบบ (๘) ปฏิบตั ติ นเปนแบบอยา งท่ีดี

4 (๙) รว มพัฒนางานกบั ผอู ืน่ อยางสรางสรรค (๑๐) แสวงหาและใชข อมูลขาวสารในการพัฒนา (๑๑) เปน ผนู ําและสรา งผนู าํ ทางวิชาการ มาตรฐานวิชาชีพศกึ ษานิเทศกและจรรยาบรรณวชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก มาตรฐานวิชาชพี ศกึ ษานิเทศก ประกอบดว ยมาตรฐาน 3 ดาน คอื 1. มาตรฐานความรแู ละประสบการณวิชาชพี 2. มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน 3. มาตรฐานการปฏิบตั ิตน (จรรยาบรรณของวชิ าชพี ) มาตรฐานความรู มาตรฐานประสบการณวชิ าชพี 1. มคี ุณวฒุ ิไมต าํ่ กวาปรญิ ญาโททางการศึกษา 1. มปี ระสบการณด านปฏบิ ตั ิการสอนมาแลว โดยมีความรู ดงั ตอ ไปน้ี ไมน อยกวา 5 ป หรอื มีประสบการณดาน 2. ผานการฝกอบรมหลกั สูตรการนเิ ทศ ปฏิบัติการสอนและมีประสบการณใน การศกึ ษาท่ีคณะกรรมการครุ ุสภารับรอง ตาํ แหนงผบู รหิ ารสถานศึกษา หรือผบู รหิ าร การศึกษารวมกนั มาแลวไมนอยกวา 5 ป 2. มผี ลงานทางวชิ าการที่มีคณุ ภาพและมีการ เผยแพร มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน 1. ปฏบิ ัติกิจกรรมทางวชิ าการเก่ียวกบั การพฒั นาการนิเทศการศึกษาเพ่ือใหเ กิดการพฒั นาวิชาชพี ทางการศึกษา 2. ตดั สินปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการนิเทศการศึกษาโดยคํานึงถึงผลท่ีจะเกดิ แกผรู ับการนิเทศ 3. มุงม่นั พฒั นาผูรับการนเิ ทศใหลงมือปฏิบตั กิ จิ กรรมจนเกิดผลตอ การพฒั นาอยางเต็มศกั ยภาพ 4. พฒั นาแผนการนเิ ทศใหสามารถปฏิบัติไดเ กิดผลจรงิ 5. พัฒนาและใชน วัตกรรมการนิเทศการศกึ ษาจนเกดิ ผลงานท่ีมีคณุ ภาพสงู ขน้ึ เปนลาํ ดบั 6. จดั กิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยเนน ผลถาวรท่เี กดิ แกผรู ับการนเิ ทศ 7. รายงานผลการนเิ ทศการศึกษาไดอยางเปน ระบบ 8. ปฏิบตั ติ นเปน แบบอยางท่ดี ี 9. รวมพฒั นางานกับผอู น่ื อยา งสรางสรรค 10.แสวงหาและใชข อมูลขาวสารในการพัฒนา 11. เปน ผนู าํ และสรา งผนู าํ ทางวิชาการ 12.สรา งโอกาสในการพัฒนางานไดท ุกสถานการณ

5 มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) 1. จรรยาบรรณตอ ตนเอง 2. จรรยาบรรณตอ ผูร ับบรกิ าร 3. จรรยาบรรณตอผรู วมประกอบวิชาชพี 4. จรรยาบรรณตอสงั คม จรรยาบรรณวิชาชีพศึกษานิเทศก พระราชบญั ญตั ิระเบียบขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 แกไข (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 ก.ค.ศ. กาํ หนดใหศกึ ษานิเทศก เปน ตาํ แหนงขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 38 8(1) โดยมแี บบ แผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณศกึ ษานเิ ทศก 9 ประการ ประกอบดว ย 1. ศึกษานเิ ทศก ตอ งมีวนิ ัยในตนเอง พฒั นาตนเองดา นวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสยั ทศั นใหทันตอ การพัฒนาทาง วทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองอยูเสมอ 2. ศึกษานิเทศก ตองรัก ศรัทธา ซื่อสตั ยสุจรติ รับผิดชอบตอวิชาชพี และเปน สมาชิกทด่ี ีขององคการวชิ าชพี 3. ศกึ ษานิเทศก ตอ งรัก เมตตา เอาใจใส ชว ยเหลอื สง เสรมิ ใหกําลังใจแกศษิ ยและผูร บั บริการตามบทบาท หนาทีโ่ ดยเสมอหนา 4. ศกึ ษานเิ ทศก ตองสงเสรมิ ใหเ กิดการเรยี นรู ทักษะ และนสิ ัยท่ถี กู ตองดงี ามแกศ ิษยแ ละผูรบั บรกิ ารตาม บทบาทหนา ทโี่ ดยเสมอหนา 5. ศกึ ษานิเทศก ตองสง เสรมิ ใหเกิดการเรยี นรู ทักษะ และนสิ ัยท่ถี กู ตองดีงามแกศ ิษยและผูรบั บรกิ ารตาม บทบาทหนาท่ีอยางเตม็ ความสามารถดวนความบรสิ ุทธ์ิใจ 6. ศึกษานเิ ทศก ตอ งประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยา งท่ีดี ทงั้ ทางกาย วาจาและจติ ใจ 7. ศึกษานเิ ทศก ตองใหบ รกิ ารดวยความจริงใจและเสมอภาพ โดยไมเรยี กรับหรือยอมรับผลประโยชนจ ากการ ใชตาํ แหนงหนา ท่โี ดยมิชอบ 8. ศกึ ษานเิ ทศก พงึ ชว ยเหลอื เก้ือกลู ซึ่งกันและกันอยา งสรา งสรรค โดยยดึ ม่นั ในระบบคุณธรรมสรางความ สามัคคีในหมคู ณะ 9. ศึกษานิเทศก พงึ ประพฤติปฏิบัตติ น เปนผนู าํ ในการอนรุ กั ษและพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมปิ ญญา ส่ิงแวดลอม รกั ษาผลประโยชนข องสวนรวมและยดึ มั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ -----------------------------------------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook