Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติงานบริหารการตรวจสอบ

คู่มือปฏิบัติงานบริหารการตรวจสอบ

Published by jukrapong, 2020-06-30 10:31:39

Description: ตรวจสอบภายใน

Search

Read the Text Version

คํานาํ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 5 มาตรา 39 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ ที่แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 มาตรา 8 มาตรา 34 วรรคสอง ไดกําหนดใหมีการแบงเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการไดออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ กําหนดใหมีสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และไดออกประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่องการแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา เพื่อใหการปฏิบัติงาน ของสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาเปนไปอยา งมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน เพ่ือ ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงาน หนวยบริหารการตรวจสอบ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 จึงไดจัดทําคูม ือการปฏิบัติงานบริหารการตรวจสอบสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ข้ึน สําหรับคูม ือการปฏิบัติงานบริหารการตรวจสอบ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาฉบับน้ี มี รายละเอียดของกระบวนงานและคูมือขั้นตอนการปฏิบัติงาน ของงานบริหารการตรวจสอบงาน หนวย บริหารการตรวจสอบซึ่งไดจากการวิเคราะหอํานาจ หนาท่ี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการวาดวย การแบงสว นราชการภายในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา และจากคูมือปฏิบัติงานสํานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษา หนวยตรวจสอบภายใน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งงานบริหารการ ตรวจสอบ สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีภาระงานประกอบดวยงานวางแผนการตรวจสอบภายใน งาน ประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน และงานอื่นๆ ทีไ่ ดร บั มอบหมาย หนวยตรวจสอบภายใน สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 ขอขอบคุณ คณะทํางานของหนวยตรวจสอบภายใน ที่ไดรวมกันดําเนินการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานบริหารการ ตรวจสอบ หนว ยตรวจสอบภายใน สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพจิ ิตร เขต 1 ไดส ําเร็จลุลวง ไปดว ยดีไว ณ โอกาสน้ี หนว ยตรวจสอบภายใน สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพจิ ิตร เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

1 2. ÜćîïøĀĉ ćøÖćøêøüÝÿĂï ðøąÖĂïéšü÷ 2 ÖøąïüîÜćî÷ŠĂ÷ ĕéĒš ÖŠ 2.1 ÜćîüćÜĒñîÖćøêøüÝÿĂïõć÷Ĕî 2.2 ÜćîðøąÖîĆ Ùèč õćóÜćîêøüÝÿĂïõć÷Ĕî

2 ประเภทเอกสาร : คูมอื ขั้นตอนการดําเนนิ งาน ช่อื เอกสาร : 2.1 งานวางแผนการตรวจสอบภายใน

3 1. ช่ืองาน 2.1 งานวางแผนการตรวจสอบภายใน 2. วตั ถุประสงค 1) เพือ่ ใหมกี ารกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย และขอบเขตการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ ภายใน ระยะเวลาท่กี ําหนด ใชเ ปน แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบซึ่งจะทาํ ใหทราบวา ควรตรวจสอบกจิ กรรมใด ดว ยวัตถปุ ระสงคอะไร ที่หนว ยรับตรวจใด ณ เวลาไหน และงบประมาณทีต่ องใชใ นการ ตรวจสอบเทา ใด อันจะทําใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข องงานตรวจสอบภายใน คือ งานบริการทจี่ ะใหห ลักประกันทเ่ี ท่ยี งธรรม และคําปรึกษาทีเ่ ปย มดวยคุณคาแกสวนราชการ 2) เพื่อใชเ ปนแนวทางในการจดั ทาํ แผนการปฏบิ ัตงิ านของผตู รวจสอบภายใน ซง่ึ ตอ งนาํ วตั ถุประสงค และขอบเขตการตรวจสอบที่กาํ หนดไวใ นแผนการตรวจสอบประจําป มากาํ หนดวิธีการ เทคนคิ และ ข้ันตอนในการตรวจสอบอยา งละเอยี ด 3. ขอบเขตของงาน 1) ผอู าํ นวยการหนวยตรวจสอบภายใน จัดทําแผนการตรวจสอบภายในซ่งึ จะแบงเปน 2 ระดบั ไดแ ก 1.1) แผนการตรวจสอบระยะยาว (Audit Universe) เปน แผนการทาํ งานที่จดั ทาํ ไว ลวงหนา มีระยะเวลาตัง้ แต 1 ป ขน้ึ ไป โดยทัว่ ไปมีระยะเวลา 3-5 ป สมั พนั ธก บั ระยะเวลาการจดั ทํา แผนการของบประมาณของหนว ยงาน โดยแผนการตรวจสอบตองกาํ หนดใหครอบคลมุ หนวยรับตรวจท่ี อยใู นความรบั ผิดชอบท้ังหมด และประกอบดวยรายละเอยี ดดังนี้ 1.1.1) หนว ยรบั ตรวจ หมายถึง ทุกกลมุ ในสาํ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา/ มัธยมศกึ ษาและสถานศึกษาทุกแหง ในสงั กัด 1.1.2) เรอ่ื งทจ่ี ะตรวจสอบ หมายถึง เรอ่ื งหรือแผนงาน งาน/โครงการ ทจ่ี ะตรวจสอบ ในแผนการตรวจสอบระยะยาว 1.1.3) ระยะเวลาท่ีจะทําการตรวจสอบ หมายถึง ระยะเวลาท่ีใชในการตรวจสอบ หนว ยรับตรวจในแตล ะแหง หรือในแตล ะเรื่องที่จะตรวจสอบ 1.1.4) จาํ นวนคน/วนั ที่จะทาํ การตรวจสอบ หมายถึง จํานวนผูต รวจสอบและ จํานวนวนั ที่จะใชใ นการตรวจสอบหนว ยรับตรวจในแตล ะแหง หรือในแตล ะเรื่องทจ่ี ะตรวจสอบ 1.2) แผนการตรวจสอบประจาํ ป (Audit Plan) เปน แผนท่จี ดั ทาํ ไวล วงหนา มรี อบระยะเวลา 1 ป และสอดคลองกบั แผนการตรวจสอบระยะยาวท่กี ําหนดไว โดยการเลือกหนว ยงานและเรอ่ื งท่จี ะ

4 ตรวจสอบในแตล ะปตามทป่ี รากฏในแผนการตรวจสอบระยะยาว มาจดั ทําเปน แผนการตรวจสอบ ประจําป โดยอาจมเี รื่องท่จี ะทําการตรวจสอบตามนโยบายทไ่ี ดร บั เพ่มิ เติม ประกอบดวยสาระดังน้ี 1.2.1) วตั ถุประสงคของการตรวจสอบ 1.2.2) ขอบเขตการปฏบิ ัติงานตรวจสอบ 1.2.3) ผูรบั ผิดชอบในการตรวจสอบ 1.2.4) งบประมาณทใี่ ชในการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ 2) ผตู รวจสอบภายใน จัดทําแผนการปฏบิ ัตงิ าน (Engagement Plan) ตามภารกจิ ที่ไดร ับ มอบหมายจากผูอ ํานวยการหนว ยงานตรวจสอบภายในใหส อดคลองกบั แผนการตรวจสอบประจําป โดยการจัดทําแผนการปฏบิ ัติงาน(Engagement Plan) ตอ งอาศยั ขอมลู จากการสํารวจขอ มลู เบ้ืองตน การประเมนิ ผลระบบการควบคุมภายใน รวมท้ังผลการประเมินความเสยี่ ง จากการวางแผนการตรวจสอบ ประจําปด วย เพอื่ ใหก ารจัดทําแผนการปฏบิ ตั ิงาน(Engagement Plan) ในแตละเรื่องครอบคลมุ ประเดน็ การตรวจสอบทมี่ ีความสาํ คญั โดยใหม คี วามยดื หยนุ ใหสามารถแกไ ขปรบั ปรุงใหเ หมาะกับ สถานการณได โดยผานการสอบทานและความเหน็ ชอบจากผูอาํ นวยการหนวยตรวจสอบภายใน ทงั้ นี้ แผนแผนการปฏบิ ัติงาน(Engagement Plan) สําหรบั การตรวจสอบในแตล ะเรื่องหรือกิจกรรม ประกอบดวยสาระสําคัญ ดงั น้ี 2.1) เรื่องและหนว ยรับตรวจ ควรกําหนดวาเปนแผนการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบในเร่ืองใด และ ณ หนว ยรับตรวจใดบาง 2.2) วัตถปุ ระสงคในการปฏบิ ตั ิงาน ควรกําหนดเพ่ือใหทราบวาผูตรวจสอบภายในจะทราบ ประเด็นขอตรวจพบอยางไรบาง เมอ่ื เสรจ็ สิน้ การตรวจสอบ 2.3) ขอบเขตการปฏบิ ัติงาน ควรกําหนดขอบเขตประเดน็ ทจี่ ะตรวจสอบและปริมาณงานที่จะ ทําการทดสอบ เพ่ือแสดงใหเ ห็นถึงผลสําเร็จตามวัตถปุ ระสงคในการปฏบิ ตั ิงานท่กี ําหนดไว 2.4) แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน (Audit Program) และเคร่ืองมอื กระดาษทําการ เปน การ กาํ หนดขน้ั ตอนหรือวธิ กี ารปฏิบตั งิ านตรวจสอบในแตละเร่อื งใหชัดเจนและเพยี งพอ ระบวุ ิธีการในการ คดั เลอื กขอ มูล การวเิ คราะห การประเมนิ ผล และการบันทึกขอมูลที่ไดร บั ระหวางการตรวจสอบ รวมท้ัง กาํ หนดเทคนิคการตรวจสอบทเ่ี หมาะสม 2.5) ช่ือผูตรวจสอบภายในและระยะเวลาท่ีตรวจสอบ เพื่อใหท ราบวาใครเปน ผรู ับผดิ ชอบ ตรวจสอบเร่ืองใดบาง และตรวจสอบเมื่อใด 2.6) สรปุ ผลการตรวจสอบ เพอื่ ใชบ นั ทึกผลการตรวจสอบโดยสรุปประเด็นการตรวจสอบท่ี

5 สําคัญรพอมระบรุ หัสกระดาษทาํ การที่ใชบันทึกผลการตรวจสอบ เพ่อื สะดวกในการอางองิ และการคน หา กระดาษทําการ นอกจากนค้ี วรลงลายมอื ชอ่ื ผูต รวจสอบและผสู อบทานพรอมทง้ั วนั ที่ที่ตรวจสอบและ สอบทานไวดวย เพื่อแสดงใหเ ห็นวาใครเปนผูตรวจสอบและผสู อบทาน 4. คําจาํ กดั ความ แผนการตรวจสอบภายใน หมายถึง แผนการปฏบิ ัติงานท่ผี ูอ าํ นวยการหนวยตรวจสอบภายใน จัดทําไวลวงหนาเกย่ี วกับเรื่องทจ่ี ะตรวจสอบ จาํ นวนหนวยรับตรวจ ระยะเวลาในการตรวจสอบแตล ะ เรือ่ ง ผรู ับผดิ ชอบในการตรวจสอบ รวมทัง้ งบประมาณท่ใี ชใ นการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ท้ังนีเ้ พื่อ ประโยชนในการสอบทานความกา วหนา ของงานตรวจสอบเปนระยะๆ เพอ่ื ใหงานตรวจสอบดําเนนิ ไป อยา งราบรน่ื ทันตามกําหนดเวลา 5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน การจัดทําแผนการตรวจสอบภายในทง้ั 2 ระดบั คือแผนการตรวจสอบระยะยาว (Audit Universe) และแผนการตรวจสอบประจําป (Audit Plan) จะมกี ระบวนการหรือขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ คลา ยกนั โดยมีรองรอยปรากฏไวในกระดาษทําการในทกุ ขน้ั ตอน ดงั น้ี 1) การสํารวจขอมูลเบือ้ งตน เปนการเรยี นรูและทาํ ความเขาใจเกยี่ วกับงานที่จะตรวจสอบใน รายละเอียด ซง่ึ จะชว ยใหส ามารถประเมินความเส่ยี งในช้ันตนได 2) การประเมนิ ผลระบบการควบคมุ ภายใน ประเมนิ ความเพยี งพอและประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายในทหี่ นวยงานมีอยู ซ่ึงผตู รวจสอบมหี นาที่ประเมนิ ระบบการควบคุมภายในทีแ่ ตละหนวย รบั ตรวจไดป ระเมนิ ตนเองไวต ามแนวทางทร่ี ะเบียบคตง.วาดวยการกาํ หนดมาตรฐนาการควบคมุ ภายใน พ.ศ. 2544 กาํ หนด (รายละเอียดดเู พิ่มเติมใน 1.1.1 งานประเมนิ ระบบการควบคุมภายใน) 3) การประเมินความเส่ียง การประเมินความเสีย่ งเพ่อื การวางแผนการตรวจสอบ ผูตรวจสอบ ภายในสามารถเลือกประเมนิ ความเส่ียงในระดับหนวยงานทุกหนว ยงาน(ทุกกลุมในสํานักงานเขตพ้นื ที่ การศึกษาประถมศึกษา/มธั ยมศึกษา และสถานศกึ ษา) หรือระดับกิจกรรมกไ็ ดตามความเหมาะสมกบั ศักยภาพของตน โดยมกี ารระบปุ จจัยเสย่ี ง การวเิ คราะหความเสีย่ ง และการจัดลาํ ดับความเสี่ยง (รายละเอยี ดดูเพิ่มเติมใน 1.1.2 งานประเมนิ ความเส่ยี ง) 4) วางแผนการตรวจสอบ เปนการนาํ ผลการจัดลําดับความเส่ียงมาพจิ ารณาจัดชวงความเสยี่ ง เพื่อใหไดห นว ยงานหรือกิจกรรมใดท่มี ีความเสย่ี งในระดับสูง ท่คี วรนาํ มาวางแผนการตรวจสอบกอ นในป แรกๆ และไลเ รยี งความเสี่ยงในปถ ัดๆไป

6 สําหรบั การจัดทาํ แผนการตรวจสอบประจาํ ป จะมีการกําหนดวัตถุประสงคการตรวจสอบ ขอบเขตการปฏิบัตงิ าน ผูรับผดิ ชอบและงบประมาณ ซ่ึงจะใหค วามชดั เจนมากกวาแผนการตรวจสอบ ระยะยาว 5) เสนอขออนุมตั แิ ผนการตรวจสอบภายใน การเสนอแผนการตรวจสอบประจาํ ป รวมถงึ แผนการตรวจสอบระยะยาว ผอู ํานวยการหนวยตรวจสอบภายในเสนอแผนตอ ผูอํานวยการสาํ นักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา/มธั ยมศึกษาเพื่อพจิ ารณาอนมุ ตั ภิ ายในเดือนกันยายนของทุกป และ ควบคมุ ดูแลการปฏิบตั ิงานใหเปน ไปตามแผนกาํ หนด กรณีระหวางปฏิบัติงานถา พบวา ไมสามารถ ดําเนินการไดต ามแผน ผูอํานวยการหนวยตรวจสอบภายในควรพจิ ารณาทบทวนปรับปรุงแผนการ ตรวจสอบ รวมถึงกรณีท่ีไดรบั อนุมตั ิแผนแลวแตไมไดร ับงบประมาณทําใหไมอาจดาํ เนนิ การไดตามแผน ดว ย เสนอผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษาพิจารณาอนุมัตอิ ีกครัง้ หนง่ึ 6) จดั ทาํ แผนการปฏิบตั ิงาน (Engagement Plan) เม่ือแผนการตรวจสอบประจาํ ปไดร บั การ อนมุ ตั ิแลว ผูตรวจสอบภายในนาํ เร่ืองหรอื กิจกรรมท่ีระบุในแผน มาจดั ทําเปนแผนการปฏิบัตงิ าน (Engagement Plan) ซึ่งจะมีรายละเอียดของ เร่ืองและหนวยรบั ตรวจ วัตถุประสงคใ นการปฏิบตั งิ าน ขอบเขตในการปฏิบตั งิ าน แนวทางการปฏิบตั ิงาน ชือ่ ผูต รวจสอบและระยะเวลาทจ่ี ะตรวจสอบ 7) เสนอขอความเหน็ ชอบแผน ผตู รวจสอบภายใน จัดทาํ แผนการปฏิบตั งิ านเสนอให ผอู าํ นวยการหนวยตรวจสอบภายในใหความเห็นชอบกอนดําเนนิ การตรวจสอบในขนั้ ตอนตอ ไป

7 6. Flow Chart การปฏิบตั ิงาน กระบวนงาน งานวางแผนการตรวจสอบภายใน สํารวจขอ มลู เบ้อื งตน ทบทวน/ปรับปรงุ /แกไข ประเมนิ ระบบการควบคมุ ภายใน ประเมนิ ความเสย่ี ง กระดาษ ทาํ การ วางแผนการตรวจสอบระยะยาว/ประจําป (Audit Universe ) หรือ เสนอผอ. สพป./สพม. อนุมตั แิ ผน อนุมัติ แผนการตรวจสอบประจาํ ป (Audit Plan) ทบทวน/ปรับปรุง/แกไ ข วางแผนการปฏบิ ตั ิงาน (Engagement Plan) เสนอผอ. ตสน. เห็นชอบ อนมุ ตั ิ แผนการปฏิบตั ิงาน คมู ือการปฏิบตั งิ าน สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา 94 หนวยตรวจสอบภายใน

8 7. แบบฟอรม ท่ีใช กระดาษทําการตางๆ ทใี่ ชในการเก็บขอ มูล ของแตล ะปจจัยเส่ียง เพือ่ ใชในการวิเคราะหแ ละ จัดลาํ ดบั ความเส่ียง 8. เอกสาร/ หลักฐานอา งองิ 1) มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจรยิ ธรรมของผูตรวจสอบภายในของสวนราชการ : กรมบัญชกี ลาง 2) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดว ยการตรวจสอบภายในของสว นราชการ พ.ศ.2551 : กระทรวงการคลัง 3) หนงั สือแนวปฏิบัติการตรวจสอบภายใน เร่ืองการวางแผนการตรวจสอบและแผนการ ปฏิบัติงาน : กรมบญั ชกี ลาง 4) หนังสือคูม ือการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายในสาํ หรับผตู รวจสอบภายในสาํ นักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา : หนวยตรวจสอบภายในสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปง บประมาณ 2549

9. แบบฟอรม สรปุ มาตรฐานงาน ตัวชี้วดั ที่สําคญั ของกระบวนงาน : รอ ยละของกจิ กรรมที่กําหนดในแผน ทเ่ี ปนไปตามลําดับความเส่ียง ชือ่ งาน 2.1 งานวางแผนการตรวจสอบภายใน ลาํ ดับ ผังข้นั ตอนการดําเนนิ งาน รายละเอยี ดงาน เวลาดาํ เนินการ มาตรฐาน ผรู ับผดิ ชอบ คุณภาพงาน 1 สํารวจขอมลู เบ้อื งตน การสํารวจขอมลู เบื้องตน เปน การเรยี นรแู ละทาํ ความเขาใจเก่ียวกบั งานทจี่ ะตรวจสอบใน ภายใน 30 กันยายน ผอ. ตสน. รายละเอยี ด ซ่งึ จะชวยใหสามารถประเมนิ ความเส่ียงในช้ันตน ได มาตรฐานการ ภายในระยะเวลาท่ี ตรวจสอบภายใน ผูตรวจสอบ ประเมนิ ระบบการควบคุมภายใน แผนการตรวจสอบ และจรยิ ธรรม ภายใน ประจาํ ปกาํ หนด ของผูตรวจสอบ ภายใน ทบทวน/ปรับปรุง/แกไข2 ประเมินความเสย่ี ง กระดาษทําการ การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ประเมนิ ความเพียงพอและประสทิ ธิผลของระบบการควบคมุ ภายในที่ หนวยงานมอี ยู ซ่ึงผูต รวจสอบมีหนาท่ปี ระเมนิ ระบบการควบคมุ ภายในที่แตละหนว ยรบั ตรวจไดประเมินตนเองไวต าม ทบทวน/ปรับปรุง/แกไขวางแผนการตรวจสอบระยะยาว/ แนวทางท่ีระเบียบคตง.วาดว ยการกาํ หนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 กําหนด (รายละเอียดดเู พ่มิ เติมใน ประจําป(Audit Universe ) หรอื 1.1.1 งานประเมนิ ระบบการควบคมุ ภายใน) 3 การประเมินความเสยี่ ง การประเมนิ ความเสี่ยงเพื่อการวางแผนการตรวจสอบ ผตู รวจสอบภายในสามารถเลอื ก เสนอผอ. สพป./ ประเมินความเสยี่ งในระดบั หนว ยงานทุกหนวยงาน(ทุกกลมุ ในสํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา/มธั ยมศกึ ษา 4 สพม.อนมุ ตั แิ ผน และสถานศึกษา) หรือระดบั กจิ กรรมกไ็ ดตามความเหมาะสมกับศกั ยภาพของตน โดยมีการระบปุ จจยั เสย่ี ง การ วเิ คราะหค วามเสี่ยง และการจดั ลาํ ดบั ความเส่ียง (รายละเอียดดูเพ่มิ เติมใน 1.1.2 งานประเมินความเสี่ยง) อนมุ ัติ วางแผนการตรวจสอบ เปน การนาํ ผลการจัดลําดบั ความเสยี่ งมาพิจารณาจัดชวงความเส่ยี ง เพื่อใหไดหนว ยงานหรอื กิจกรรมใดทม่ี คี วามเสีย่ งในระดบั สงู ที่ควรนาํ มาวางแผนการตรวจสอบกอนในปแรกๆ และไลเ รยี งความเสี่ยงในป แผนการตรวจสอบประจาํ ป ถดั ๆไป สาํ หรับการจัดทําแผนการตรวจสอบประจําป จะมีการกาํ หนดวัตถปุ ระสงคก ารตรวจสอบ ขอบเขตการ 5 (Audit Plan) ปฏิบัติงาน ผูรบั ผิดชอบและงบประมาณ ซึ่งจะใหค วามชัดเจนมากกวาแผนการตรวจสอบระยะยาว เสนอขออนุมตั ิแผนการตรวจสอบภายใน การเสนอแผนการตรวจสอบประจําป รวมถึงแผนการตรวจสอบระยะยาว วางแผนการปฏิบัติงาน ผอู ํานวยการหนวยตรวจสอบภายในเสนอแผนตอผอู าํ นวยการสาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา/มธั ยมศึกษา (Engagement Plan) เพอ่ื พิจารณาอนุมัติภายในเดอื นกันยายนของทุกป และควบคุมดูแลการปฏบิ ตั งิ านใหเ ปน ไปตามแผนกาํ หนด กรณี ระหวา งปฏบิ ตั ิงานถา พบวาไมสามารถดําเนินการไดต ามแผน ผูอ ํานวยการหนวยตรวจสอบภายในควรพิจารณา อนุมตั ิ ทบทวนปรบั ปรงุ แผนการตรวจสอบ รวมถึงกรณีท่ีไดร ับอนุมัติแผนแลว แตไมไดร บั งบประมาณทําใหไ มอาจดําเนนิ การ ไดตามแผนดวย เสนอผูอํานวยการสํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศกึ ษาพิจารณาอนมุ ัติอีกครั้งหนึ่ง 6 เสนอผอ. ตสน. จัดทําแผนการปฏบิ ัติงาน (Engagement Plan) เมอ่ื แผนการตรวจสอบประจําปไดร บั การอนมุ ัตแิ ลว ผตู รวจสอบ เห็นชอบ ภายในนําเรอื่ งหรือกจิ กรรมท่ีระบใุ นแผน มาจัดทาํ เปน แผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) ซง่ึ จะมีรายละเอยี ด ของ เรอ่ื งและหนวยรับตรวจ วตั ถุประสงคในการปฏิบัติงาน ขอบเขตในการปฏิบัติงาน แนวทางการปฏิบัติงาน ชอ่ื 7 แผนการปฏบิ ตั งิ าน ผตู รวจสอบและระยะเวลาทจ่ี ะตรวจสอบ คาํ อธบิ ายสญั ลกั ษณผงั ขน้ั ตอน เสนอขอความเห็นชอบแผน ผตู รวจสอบภายใน จดั ทาํ แผนการปฏิบตั ิงานเสนอใหผอู ํานวยการหนว ยตรวจสอบ ภายในใหค วามเหน็ ชอบกอ นดําเนินการตรวจสอบในข้ันตอนตอไป จุดเร่มิ ตน หรือสิ้นสุดกระบวนงาน 9 กจิ กรรมงานหรอื การปฏบิ ัติ การตดั สินใจ ทิศทางหรือการเคล่ือนไหวของงาน จุดเชอ่ื มตอระหวางหนา (ถา ไมจ บภายใน ๑หนา )

10 ประเภทเอกสาร : คูมอื ขนั้ ตอนการดําเนินงาน ชอ่ื เอกสาร : 2.2. งานประกันคณุ ภาพงานตรวจสอบภายใน

11 1. ชือ่ งาน (กระบวนงาน) 2.2 งานประกันคณุ ภาพงานตรวจสอบภายใน 2. วัตถุประสงค 1) เพ่อื ชวยใหผ ูอาํ นวยการสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา/มธั ยมศึกษา มีกลไก หรอื เคร่อื งมือในการควบคมุ กํากับดแู ลงานตรวจสอบภายในใหสามารถเปน เครอ่ื งมือของผบู ริหารได อยางแทจ ริง 2) เพอ่ื ชว ยใหผูบริหารและผรู ับตรวจ รวมทงั้ ผตู รวจสอบภายในมคี วามมนั่ ใจในผลการ ตรวจสอบของหนวยงานตรวจสอบภายใน 3) เพือ่ ชวยใหหนวยงานตรวจสอบภายในไดมีการพฒั นาและปรบั ปรงุ งานในความรับผดิ ชอบ อยา งตอเนอื่ ง เพอ่ื ใหผ ลการทาํ งานมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธผิ ลย่งิ ข้นึ 3. ขอบเขตของงาน 1) ประเมนิ ตนเอง (Self Assessment) เพ่อื สอบทานหรอื ทบทวนการปฏิบตั ิงานในรอบปท่ี ผานมา และพิจารณาปรับปรุงแกไขและพัฒนางานใหมีประสิทธิภาพ โดยใชแบบประเมินตนเองของ หนวยตรวจสอบภายในท่กี รมบญั ชกี ลางกําหนด เปนแนวทางในการประเมนิ ตนเอง 2) จัดทาํ แบบสํารวจหรือแบบสอบถามความคดิ เห็นของผูบริหารและผูรบั การตรวจสอบ ภายหลังการตรวจสอบแตละครั้ง เพ่ือรับทราบความคิดเห็นของผูที่เก่ียวของตอการปฏิบัติงานของ หนวยตรวจสอบภายในรวมท้ังขอเสนอแนะท่ีจะนําไปพิจารณาปรับปรุงพัฒนางานตรวจสอบภายในให สามารถตอบสนองตอความตองการของผูบริหารและผูรบั ตรวจ 3) เตรียมความพรอมเพอ่ื รองรบั การประเมนิ ภายนอก 4. คําจาํ กัดความ การประกนั คุณภาพงานตรวจสอบภายใน คือ กระบวนการหรือกจิ กรรมทจี่ ดั ใหมีขึน้ เพ่ือให ความเชื่อมน่ั อยางสมเหตุสมผลวา กระบวนการทํางานของหนว ยตรวจสอบภายใน สามารถนําไปสูผล การทาํ งานทมี่ ีคุณภาพ รายงานผลการตรวจสอบไดร บั การยอมรับและเชื่อถือจากผบู รหิ าร ผรู บั ตรวจ และผทู เี่ กย่ี วของ

12 5. ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน 1) จัดทาํ แบบสาํ รวจหรอื แบบสอบถามความคิดเห็น สงใหหนวยรับตรวจ แสดงความเหน็ ของ ผบู รหิ ารและผรู ับการตรวจสอบ เกีย่ วกบั การปฏบิ ัตงิ านของหนว ยตรวจสอบภายใน โดยควรสง แบบ สาํ รวจใหภ ายหลังการตรวจสอบแตล ะครง้ั 2) รวบรวมรายงานผลการปฏิบตั ิงานตามแผนการตรวจสอบประจาํ ป และแบบสํารวจความคิดเห็น ตามรอบระยะเวลาที่ตอ งการทราบผล 3) วิเคราะหสรุปผลการปฏิบตั งิ านของหนวยตรวจสอบภายใน และความคดิ เห็นของหนว ยรบั ตรวจ แยกเปน 2 ลกั ษณะคือ 3.1) สภาพปญ หาทเี่ ปน สาระสาํ คัญของหนวยรับตรวจ สาเหตุ และแนวทางการแกไข 3.2) ผลการปฏิบัติงานของหนวยตรวจสอบภายใน ปญหาอปุ สรรค(ถา ม)ี สาเหตุ และ แนวทางการปรบั ปรงุ พัฒนางานตรวจสอบภายใน 4) จัดทํารายงานสรปุ ผลการปฏิบัติงาน และประเมนิ ตนเอง ตามแบบประเมินตนเอง กรมบญั ชีกลางกาํ หนด ซ่งึ จะมกี ารประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ในขัน้ ตอนตางๆของกจิ กรรมการตรวจสอบ ภายในตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของสวนราชการ ไดแก ดานการกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค อาํ นาจ หนา ท่ี ความรบั ผิดชอบ ความเปน อิสระความเทีย่ งธรรม ความระมัดระวังรอบคอบ ความเช่ยี วชาญ การบริหารงานตรวจสอบภายใน การวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน การปฏิบัตงิ าน การรายงาน และการ ติดตามผลการปฏิบตั ิงาน 5) เสนอผอู ํานวยการสํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา อยา งนอ ยปละครัง้ พรอ มเสนอแนวทางการพัฒนา แนวทางการดําเนินงาน เพือ่ ใหห นว ยตรวจสอบภายในมกี ารปฏิบัติงาน ใหไดม าตรฐาน หรอื ตามระดับเกณฑมาตรฐานที่กาํ หนด ซ่ึงกรมบัญชกี ลางไดกําหนดเกณฑการประเมิน ไวรวม 41 ประเด็น เชน การจดั ทาํ กฎบัตร 6) รวบรวมขอ มูลที่ไดไวเปน สารสนเทศเพ่ือการวางแผนการพัฒนางานตรวจสอบ และพฒั นา บคุ ลากรของหนวยตรวจสอบภายในตอ ไป 7) สงแบบประเมนิ ตนเองใหกรมบัญชกี ลาง ตามระยะเวลาท่ีกรมบัญชีกลางกาํ หนด และสง สรุปผลการปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบใหสพฐ.ทราบอยา งนอยปละครงั้ หรือตามระยะเวลาท่ีสพฐ.กาํ หนด

13 6. Flow Chart การปฏิบตั งิ าน กระบวนงาน งานประกันคณุ ภาพงานตรวจสอบภายใน แบบสํารวจความคดิ เห็น รวบรวมรายงานผลการตรวจสอบ และแบบสาํ รวจความคิดเหน็ วเิ คราะห สรปุ ผล อยางนอยป จดั ทําแบบประเมนิ ตนเอง /รายงานสรปุ ผล ละคร้งั เสนอ ผอ.สพป./สพม. กรมบญั ชีกลาง สพฐ. ธุรการและสารสนเทศ 7. แบบฟอรม ทใี่ ช 1) แบบประเมนิ ตนเองของ หนวยตรวจสอบภายใน โดยกรมบญั ชีกลาง 2) แบบสํารวจความคดิ เหน็ ของหนว ยตรวจสอบภายใน โดยกรมบัญชีกลาง 3) แบบสอบถามอนื่ ตามแนวทางการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในท่ีกรมบัญชกี ลาง กําหนด 8. เอกสาร/ หลกั ฐานอา งองิ แนวทางการประกันคณุ ภาพงานตรวจสอบภายใน โดยกรมบัญชกี ลาง

9. แบบฟอรมสรุปมาตรฐานงาน ชือ่ งาน 2.2 งานประกันคณุ ภาพงานตรวจสอบภายใน ลาํ ดบั ผงั ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ งาน รายละเอยี ดงาน เวลา มาตรฐาน ผรู บั ผิดชอบ ดาํ เนนิ การ คุณภาพงาน 1 แบบสํารวจความคดิ เห็น 1) จดั ทําแบบสํารวจหรอื แบบสอบถามความคดิ เหน็ สง ใหห นว ยรับตรวจ แสดงความเห็นของผูบริหารและผรู ับการ ตรวจสอบ เกย่ี วกบั การปฏิบัตงิ านของหนว ยตรวจสอบภายใน โดยควรสงแบบสาํ รวจใหภ ายหลังการตรวจสอบแตละคร้งั 2 2) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบประจาํ ปและแบบสํารวจความคิดเห็น ตามรอบระยะเวลาท่ี รวบรวมรายงานผลการตรวจสอบ ตองการทราบผล 3 และแบบสํารวจความคดิ เห็น 3) วเิ คราะหสรุปผลการปฏิบัติงานของหนว ยตรวจสอบภายใน และความคิดเหน็ ของหนว ยรบั ตรวจ แยกเปน 2 ลกั ษณะคอื 3.1) สภาพปญ หาท่เี ปน สาระสาํ คญั ของหนว ยรับตรวจ สาเหตุ และแนวทางการแกไข วิเคราะห สรุปผล 3.2) ผลการปฏบิ ัติงานของหนว ยตรวจสอบภายในปญหาอปุ สรรค(ถามี) สาเหตุและแนวทางการปรับปรุงพฒั นา งานตรวจสอบภายใน 4 จัดทําแบบประเมินตนเอง / 4) จัดทาํ รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน และประเมนิ ตนเอง ตามแบบประเมนิ ตนเองกรมบญั ชีกลางกําหนด ซงึ่ จะมี รายงานสรปุ ผล การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ในขนั้ ตอนตา งๆของกิจกรรมการตรวจสอบภายในตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของ สว นราชการ ไดแก ดา นการกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค อํานาจหนาที่ ความรบั ผิดชอบ ความเปน อิสระความเทยี่ งธรรม เสนอ ผอ.สพป./ อยา งนอย ความระมดั ระวงั รอบคอบ ความเช่ียวชาญ การบริหารงานตรวจสอบภายใน การวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน การ ปละคร้ัง ปฏบิ ตั งิ าน การรายงาน และการติดตามผลการปฏิบัตงิ าน 5 สพม. 5) เสนอผอู ํานวยการสํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา/มัธยมศกึ ษา อยางนอยปล ะครงั้ พรอ มเสนอแนว ทางการพฒั นา แนวทางการดําเนนิ งาน เพือ่ ใหหนวยตรวจสอบภายในมกี ารปฏบิ ัตงิ านใหไ ดม าตรฐาน หรือตามระดบั เกณฑม าตรฐานที่กําหนด ซงึ่ กรมบญั ชกี ลางไดกําหนดเกณฑก ารประเมนิ ไวรวม 41 ประเดน็ เชน การจัดทาํ กฎบตั ร 6 กรม ธุรการ 6) รวบรวมขอ มลู ทไ่ี ดไ วเ ปน สารสนเทศเพอ่ื การวางแผนการพฒั นางานตรวจสอบ และพฒั นาบคุ ลากรของหนว ย 7 บญั ชีกลาง และสารสนเทศ ตรวจสอบภายในตอ ไป 7) สง แบบประเมนิ ตนเองใหก รมบัญชกี ลาง ตามระยะเวลาทก่ี รมบัญชกี ลางกําหนด และสง สรปุ ผลการปฏิบตั ิงาน สพฐ. ตรวจสอบใหส พฐ.ทราบอยางนอยปละครัง้ หรือตามระยะเวลาทสี่ พฐ.กาํ หนด คําอธิบายสญั ลักษณผ งั ข้ันตอน กิจกรรมงานหรอื การปฏบิ ัติ การตัดสินใจ ทศิ ทางหรือการเคล่ือนไหวของงาน จุดเช่อื มตอ ระหวา งหนา (ถาไมจ บภายใน ๑หนา) 14 จุดเริม่ ตนหรอื สิน้ สุดกระบวนงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook