Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานการปฏิบัติงาน นายบงกช จันทร์สุขวงค์

มาตรฐานการปฏิบัติงาน นายบงกช จันทร์สุขวงค์

Published by jukrapong, 2020-07-29 20:41:11

Description: มาตรฐานการปฏิบัติงาน นายบงกช จันทร์สุขวงค์

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน นายบงกช จันทร์สขุ วงค์ ศึกษานเิ ทศก์ กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกพิจิตร เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คานา มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วชิ าชีพของศึกษานเิ ทศก์ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก์ ต้องมมี าตรฐาน ความรู้ มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาโททางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอืนทีคุรุสภารับรองโดย มีความรู้ ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านนโยบายและการวางแผนการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรและการสอน การประกัน คณุ ภาพการศกึ ษา การบริหารการจดั การศึกษา การวิจยั ทางการศกึ ษา กลวิธีการถา่ ยทอดความรู้ แนวคดิ ทฤษฎี และ ผลงานทางวิชาการ การบริหารการจัดการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณธรรมและจริยธรรมส่าหรับศึกษานิเทศก์ ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการนิเทศการศึกษาทีคณะกรรมการคุรุสภารับรอง ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องมี มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปี มีความรู้และสมรรถนะ ของผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ตามมาตรฐานความรู้เรืองการนิเทศการศึกษาประกอบด้วย สาระความรู้ วิธีการ และกระบวนการนิเทศ กลยทุ ธ์การนเิ ทศการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องปฏิบัติงานตาม มาตรฐานการปฏิบตั ิงานทางวิชาการเกียวกับการพัฒนาการนเิ ทศการศึกษา โดยค่านึงถงึ ผลทจี ะเกดิ แก่ผู้รบั การนิเทศ มุ่งมันพัฒนาผู้รับการนิเทศให้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มศักยภาพเกิดผลจริงและใช้นวัตกรรมการนเิ ทศการศึกษา จนเกิดผลงานทีมีคุณภาพสูงขึ้น จัดกิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยเน้นผลถาวรทีเกิดแก่ผู้รับการนิเทศ รายงานผล การนเิ ทศการศกึ ษาไดอ้ ย่างเปน็ ระบบและปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอย่างทดี ี ข้าพเจ้านายบงกช จันทร์สุขวงค์ ศึกษานิเทศก์ กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา และงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและ พลศึกษา หวังเป็นอย่างยิงว่า หน้าทีความรับผิดชอบของข้าพเจ้าจะเป็นประโยชน์ต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของ สา่ นักงานเขตพน้ื ทีการศกึ ษาประถมศึกพจิ ติ ร เขต 1 อยา่ งยงั ยืน ต่อไป บงกช จันทรส์ ขุ วงค์ ศกึ ษานิเทศก์

สารบัญ หนา้ คานา 1 หนา้ ทคี วามรบั ผดิ ชอบ 1 โรงเรียนทีรบั ผดิ ชอบ 2 รูปแบบการนเิ ทศ 2 มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพของศึกษานิเทศก์ 3 สาระความรูแ้ ละสมรรถนะของผู้ประกอบวชิ าชีพศึกษานิเทศก์ตามมาตรฐานความรู้ 3 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของศึกษานเิ ทศก์ 4-5 มาตรฐานวชิ าชีพศึกษานิเทศก์และจรรยาบรรณวชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก์

หน้าท่ีความรับผิดชอบ นายบงกช จันทร์สขุ วงค์ นายบงกช จันทร์สุขวงค์ ศึกษานิเทศก์ ต่าแหน่งเลขที 1๐๖ รับผิดชอบงานตามค่าสังส่านักงาน เขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 ที ๙๑/256๓ เรือง ก่าหนดหน้าทีและความรับผดิ ชอบของข้าราชการ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ได้ปฏิบัติหน้าทีกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การจัดการศึกษา มีหนา้ ท่ี และรับผิดชอบงานดังน้ี 1. งานสง่ เสริมการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา 2. งานนเิ ทศ กา่ กบั ติดตาม และประเมนิ ผลระบบประกันคุณภาพการศึกษา 3. จดั ท่าระบบสารสนเทศและเผยแพรผ่ ลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศึกษา 4. งานศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจยั ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา 5. งานการเปน็ วทิ ยากรการประชุม อบรม สมั มนา 6. นเิ ทศ กา่ กบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ เรง่ รดั ประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นในสังกดั ทกุ โรงเรียนและรับผิดชอบโรงเรียนตามบัญชแี นบท้าย 7. งานส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๘. งานโครงการทีไดร้ บั มอบหมาย ๘.๑ งานโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล ๘.๒ งานโครงการการพัฒนาโรงเรยี นขนาดเล็ก ๘.๓ งานโครงการโรงเรยี นสเี ขยี ว ๘.๔ งานโครงการโรงเรียนสิงแวดล้อมศึกษา ๙. โรงเรียนทีรบั ผดิ ชอบนเิ ทศ ก่าหนดการนิเทศภาคเรยี นละ 2 คร้ัง/โรงเรียน ได้แก่ ๙.1 โรงเรยี นวดั ราชชา้ งขวัญ อา่ เภอเมอื งพิจติ ร ๙.2 โรงเรยี นบ้านหนองถ่้า อา่ เภอเมอื งพจิ ติ ร ๙.3 โรงเรียนวดั เนินสมอ(พนิ จิ วทิ ยา) อา่ เภอเมอื งพจิ ิตร ๙.4 โรงเรยี นวดั ยางคอยเกลอื อ่าเภอเมอื งพิจติ ร ๙.5 โรงเรยี นบา้ นมาบมะไฟ อ่าเภอเมอื งพิจิตร ๙.6 โรงเรยี นวดั ป่ามะคาบ(สามคั คพี ิทยาคาร) อ่าเภอเมอื งพิจิตร ๙.7 โรงเรียนบา้ นหัวดง อา่ เภอเมอื งพจิ ิตร ๙.8 โรงเรยี นลา่ ชะลา่ อ่าเภอเมอื งพิจิตร ๙.9 โรงเรยี นบา้ นน้อย อา่ เภอเมอื งพิจติ ร

2 รปู แบบการนิเทศ ใช้การนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร ข้อดี 1. เน้นคุณภาพการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นส่าคัญ ครูทีได้รับการนิเทศแบบกัลยาณมิตร จากการ สังเกตการเรียนการสอนในห้องเรียน ครูมีการพัฒนาทักษะเพือใช้ในการส่งเสริมการเรียนการสอนทีเน้นผู้เรียนเป็น สา่ คัญ ร่วมกันคิดวิเคราะห์เหตุของปัญหาร่วมกบั ระหว่างผ้นู ิเทศกบั ผรู้ บั การนิเทศ ไวว้ างใจซงึ กันและกัน 2. ร่วมกันรักผูกพันห่วงใยผู้เรียน ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน ผู้รับการนิเทศ พร้อมรับขอ้ เสนอแนะจากผู้นิเทศ และวางแนวทางแกไ้ ขรว่ มกนั 3. ส่งเสริมสนับสนุน การให้ค่าปรึกษาแนะน่า ปรึกษาตามหลักอริยสัจ เน้นความรู้จริง ค้นหาเหตุ ปฏิบัติตามแนวทางอริยมรรค เปิดโอกาสให้ผูร้ ับการนิเทศได้เรียนรู้ ไม่สร้างความกดดัน เรืองทีนิเทศ นิเทศด้วยความ จรงิ ใจ มีเมตตา ใจกวา้ ง พรอ้ มรบั ฟงั การระบายความในใจของผรู้ ับการนเิ ทศ 4. เยียมชมการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน อย่างสงบ ไม่รบกวนการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนของผเู้ รยี น ตามสภาพจริง 5. การพูดคุยด้วยปิยวาจา แสดงออกถึงความใฝ่รู้ กล้าคิด กล้าท่า สร้างเวทีให้ครูผู้รับการนิเทศ เผยแพร่ผลงาน พิจารณาข้อดี ข้อควรพัฒนาต่อยอดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน ยกระดับคุณภาพการเรียน การสอน ปรับประยกุ ตใ์ ช้การจัดกิจกรรมการเรียนร้ตู ามความเหมาะสม การนิเทศแบบกัลยาณมิตรเป็นการช้ีแนะและช่วยเหลือด้านการเรียนการสอน มีหลักส่าคัญ 4 ประการ คือ 1. การสรา้ งศรทั ธา 2. การสาธิตรูปแบบการสอน 3. การรว่ มคิดแลกเปลยี นเรียนรู้ 4. การตดิ ตามประเมนิ ผลตลอดกระบวนการ ข้อเสนอแนะ 1. การนิเทศแบบกัลยาณมิตร ควรด่าเนินการด้วยความจริงใจอ่อนน้อมถ่อมตนมีน่้าใจและมีความ ตอ่ เนืองส่งผลใหเ้ กิดความยงั ยืนต่อคุณภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2. ปรับใช้รูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรทีมีผลต่อคุณภาพการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นส่าคัญ ให้เหมาะกับบรบิ ทของโรงเรยี น นายบงกช จนั ทรส์ ขุ วงค์ ศึกษานิเทศก์ ใหค้ วามสา่ คญั กบั มาตรฐานวิชาชีพของศกึ ษานเิ ทศก์ ดังนี้ หมวด ๑ มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพของศึกษานเิ ทศก์ ข้อ ๑ ผู้ประกอบวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก์ ตอ้ งมีมาตรฐานความรู้ ดังต่อไปน้ี (ก) มคี ณุ วุฒไิ มต่ า่ กว่าปริญญาโททางการศึกษาหรอื เทยี บเทา่ หรอื คุณวฒุ อิ ืนทีครุ ุสภารับรองโดย มีความรู้ ดังต่อไปนี้ (๑) การนิเทศการศกึ ษา (๒) นโยบายและการวางแผนการศกึ ษา (๓) การพฒั นาหลักสตู รและการสอน

3 (๔) การประกันคุณภาพการศึกษา (๕) การบริหารการจัดการศึกษา (๖) การวจิ ยั ทางการศึกษา (๗) กลวิธีการถา่ ยทอดความรู้ แนวคดิ ทฤษฎี และผลงานทางวิชาการ ๘) กา่ รบริหารการจดั การทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (๙) คุณธรรมและจริยธรรมสา่ หรบั ศกึ ษานเิ ทศก์ (ข) ผา่ นการฝกึ อบรมหลักสตู รการนิเทศการศกึ ษาทีคณะกรรมการคุรสุ ภารับรอง ขอ้ ๒ ผปู้ ระกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ตอ้ งมมี าตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) มปี ระสบการณด์ า้ นปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่นอ้ ยกวา่ สบิ ปี หรือมีประสบการณด์ า้ น ปฏบิ ตั ิการ สอนและมีประสบการณใ์ นตา่ แหน่งผบู้ ริหารสถานศึกษา หรอื ผู้บริหารการศึกษารวมกันมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสิบปี (๒) มผี ลงานทางวิชาการทีมีคุณภาพและมกี ารเผยแพร่ หมวด ๒ สาระความร้แู ละสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพศกึ ษานิเทศกต์ ามมาตรฐานความรู้ ข้อ ๓ การนิเทศการศึกษา ประกอบด้วย สา่ ระความรู้และสมรรถนะ ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) สาระความรู้ (๑) หลักการและรูปแบบการนิเทศ (๒) วิธีการและกระบวนการนิเทศ (๓) กลยุทธ์การนเิ ทศการศึกษา (๓.๑) การวเิ คราะห์พฤติกรรมการนิเทศการศกึ ษา (๓.๒) การสร้างทกั ษะในการนเิ ทศ (๓.๓) การใช้กลยุทธ์ในการนิเทศ (๓.๔) การน่านวัตกรรมมาประยุกตใ์ ช้ในการนิเทศ (๓.๕) การควบคมุ และการประเมนิ เพือการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (๔) การนิเทศภายใน หมวด ๓ มาตรฐานการปฏิบัตงิ านของศึกษานเิ ทศก์ ข้อ ๑๒ ผูป้ ระกอบวิชาชพี ศึกษานิเทศก์ ตอ้ งปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกยี วกับการพัฒนาการนิเทศการศกึ ษา เพือใหเ้ กดิ การพฒั นาวิชาชพี ทางการศกึ ษา (๒) ตัดสนิ ใจปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการนเิ ทศการศึกษา โดยค่านึงถึงผลทจี ะเกดิ แก่ผรู้ ับการนิเทศ (๓) มุ่งมนั พฒั นาผู้รบั การนิเทศใหล้ งมือปฏิบัตกิ ิจกรรมจนเกิดผลต่อการพฒั นาอยา่ งเต็มศกั ยภาพ (๔) พฒั นาแผนการนิเทศให้สามารถปฏบิ ตั ิได้เกิดผลจรงิ (๕) พัฒนาและใชน้ วตั กรรมการนิเทศการศกึ ษาจนเกิดผลงานทมี ีคุณภาพสูงขึน้ เป็นลา่ ดับ (๖) จดั กิจกรรมการนเิ ทศการศึกษาโดยเนน้ ผลถาวรทีเกดิ แกผ่ ู้รับการนิเทศ (๗) รายงานผลการนิเทศการศกึ ษาได้อยา่ งเปน็ ระบบ (๘) ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งทีดี

4 (๙) รว่ มพฒั นางานกบั ผอู้ ืนอย่างสร้างสรรค์ (๑๐) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพฒั นา (๑๑) เปน็ ผนู้ ่าและสร้างผนู้ ่าทางวิชาการ มาตรฐานวชิ าชพี ศกึ ษานเิ ทศก์และจรรยาบรรณวชิ าชพี ศกึ ษานเิ ทศก์ มาตรฐานวิชาชีพศกึ ษานิเทศก์ ประกอบดว้ ยมาตรฐาน 3 ดา้ น คือ 1. มาตรฐานความร้แู ละประสบการณ์วชิ าชพี 2. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน 3. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตน (จรรยาบรรณของวชิ าชพี ) มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชพี 1. มีคณุ วุฒไิ ม่ตา่ กวา่ ปรญิ ญาโททางการศกึ ษา 1. มีประสบการณด์ ้านปฏบิ ัติการสอนมาแล้ว โดยมคี วามรู้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปี หรือมีประสบการณด์ า้ น 2. ผ่านการฝกึ อบรมหลกั สตู รการนเิ ทศ ปฏบิ ตั กิ ารสอนและมีประสบการณ์ใน การศึกษาทีคณะกรรมการคุรุสภารบั รอง ต่าแหน่งผบู้ ริหารสถานศึกษา หรอื ผู้บริหาร การศึกษารวมกนั มาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปี 2. มผี ลงานทางวชิ าการทีมีคุณภาพและมกี าร เผยแพร่ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน 1. ปฏิบัติกจิ กรรมทางวิชาการเกียวกับการพัฒนาการนเิ ทศการศึกษาเพือใหเ้ กิดการพฒั นาวิชาชีพทางการศึกษา 2. ตดั สินปฏบิ ัติกิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยค่านงึ ถึงผลทจี ะเกิดแกผ่ รู้ ับการนเิ ทศ 3. ม่งุ มนั พฒั นาผรู้ บั การนเิ ทศให้ลงมอื ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมจนเกิดผลตอ่ การพฒั นาอย่างเต็มศกั ยภาพ 4. พัฒนาแผนการนิเทศใหส้ ามารถปฏบิ ัตไิ ด้เกิดผลจริง 5. พัฒนาและใชน้ วตั กรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกดิ ผลงานทีมคี ณุ ภาพสงู ข้ึนเป็นลา่ ดับ 6. จดั กิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยเนน้ ผลถาวรทเี กิดแกผ่ ู้รับการนเิ ทศ 7. รายงานผลการนิเทศการศึกษาไดอ้ ย่างเป็นระบบ 8. ปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอย่างทีดี 9. ร่วมพฒั นางานกับผอู้ นื อย่างสร้างสรรค์ 10.แสวงหาและใชข้ ้อมูลข่าวสารในการพฒั นา 11. เปน็ ผู้นา่ และสร้างผ้นู ่าทางวิชาการ 12.สร้างโอกาสในการพัฒนางานได้ทุกสถานการณ์

5 มาตรฐานการปฏบิ ัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) 1. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง 2. จรรยาบรรณตอ่ ผู้รับบรกิ าร 3. จรรยาบรรณต่อผู้รว่ มประกอบวชิ าชีพ 4. จรรยาบรรณตอ่ สงั คม จรรยาบรรณวิชาชพี ศกึ ษานิเทศก์ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 แก้ไข (ฉบับที 2) พ.ศ. 2551 ก.ค.ศ. ก่าหนดให้ศึกษานิเทศก์ เป็นต่าแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 38 8(1) โดยมีแบบ แผนพฤตกิ รรมตามจรรยาบรรณศึกษานเิ ทศก์ 9 ประการ ประกอบดว้ ย 1. ศึกษานิเทศก์ ต้องมวี ินัยในตนเอง พฒั นาตนเองดา้ นวิชาชีพ บคุ ลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทนั ต่อการพัฒนาทาง วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมอื งอยูเ่ สมอ 2. ศกึ ษานิเทศก์ ตอ้ งรัก ศรัทธา ซอื สัตย์สุจรติ รบั ผิดชอบตอ่ วิชาชีพและเปน็ สมาชิกทีดขี ององคก์ ารวชิ าชพี 3. ศึกษานิเทศก์ ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้ก่าลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาท หน้าทโี ดยเสมอหนา้ 4. ศึกษานิเทศก์ ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยทีถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตาม บทบาทหน้าทโี ดยเสมอหน้า 5. ศึกษานิเทศก์ ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยทีถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตาม บทบาทหน้าทีอยา่ งเตม็ ความสามารถดว้ นความบรสิ ุทธิ์ใจ 6. ศกึ ษานเิ ทศก์ ต้องประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งทดี ี ทัง้ ทางกาย วาจาและจติ ใจ 7. ศึกษานิเทศก์ ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาพ โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการ ใชต้ ่าแหน่งหนา้ ทีโดยมิชอบ 8. ศึกษานิเทศก์ พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึงกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมันในระบบคุณธรรมสร้างความ สามคั คีในหม่คู ณะ 9. ศึกษานิเทศก์ พึงประพฤติปฏิบัติตน เป็นผู้น่าในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิงแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมันในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข -----------------------------------------------------


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook