Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพ ของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล (Digital Citizenship)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพ ของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล (Digital Citizenship)

Published by 63302010032.siriyakorn.sang, 2020-12-13 12:51:17

Description: การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพ
ของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล
(Digital Citizenship)

Search

Read the Text Version

7หนว่ ยที่ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ในอาชพี ของการเป็ นพลเมอื งยคุ ดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship)

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ในอาชพี ของการเป็ นพลเมอื งยคุ ดจิ ิทลั ความหมายของพลเมืองดิจิทลั คุณลกั ษณะท่ีดีของพลเมืองดิจิทลั มิติของพลเมืองดิจิทลั ทกั ษะพลเมืองยคุ ดิจิทลั แนวคิดในการเป็ นพลเมืองดิจิทลั ประเภทของพลเมืองดิจิทลั Digital Literacy เทคโนโลยีดิจิทลั ในอาชีพที่ควรเรียนรู้

1. ความหมายของพลเมืองดจิ ทิ ลั ความเป็ นพลเมืองดิจิทลั คอื พลเมืองผใู้ ชง้ านส่ือ ดิจทิ ลั และสื่อสงั คมออนไลนท์ ่ีเขา้ ใจบรรทดั ฐานของการ ปฏบิ ตั ิตวั ให้เหมาะสมและมีความรับผดิ ชอบในการใช้ เทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การส่ือสารในยคุ ดิจิทลั เป็ นการสื่อสารที่ไร้พรมแดน

2. มิติของพลเมืองดิจิทลั ความเป็นพลเมืองดิจิทลั ออกเป็น 3 มิติ คอื มติ ดิ ้านความรู้เกยี่ วกบั ส่ือและ สารสนเทศ พลเมืองดิจทิ ลั ตอ้ งมีความรู้ความสามารถในการ เขา้ ถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สงั เคราะห์ และ สื่อสารขอ้ มูลขา่ วสารผา่ นเคร่ืองมือดจิ ิทลั

มติ ดิ ้านจริยธรรม พลเมืองดิจิทลั จะใชอ้ ินเทอร์เน็ตไดอ้ ยา่ ง ปลอดภยั มีความรับผดิ ชอบ และมีจริยธรรมได้ อยา่ งไร พลเมืองท่ีดีจะตอ้ งรู้จกั คุณค่าและ จริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี

มติ ดิ ้านการมสี ่วนร่วมทางการเมืองและสังคม พลเมืองดิจิทลั ตอ้ งรู้จกั ใชศ้ กั ยภาพของอินเทอร์เน็ตในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม อินเทอร์เน็ตเป็นไดท้ ้งั เครื่องมือเพ่มิ การมีส่วนร่วมทางการ เมืองในระบบ สรุป การจะเป็นพลเมืองดิจิทลั ทดี่ ีน้นั เราจะตอ้ งมีชุดทกั ษะและความรู้ท้งั ในเชิง เทคโนโลยแี ละการคิดข้นั สูง หรือที่เรียกวา่ “การรู้ดจิ ิทลั ” (Digital Literacy) เพื่อ ใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มูลข่าวสารในโลกไซเบอร์ รู้จกั ป้องกนั ตนเองจากความเส่ียง ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึงสิทธิ ความรับผดิ ชอบ

3. แนวในการเป็ นพลเมืองดิจิทลั แนวคิดเก่ียวกบั ความเป็ นพลเมืองออกเป็ น 3 แนวคิดหลกั ซ่ึงความเป็ นพลเมืองท้งั สามแบบน้ี ทางานร่วมกนั มากกวา่ แยกขาดจากกนั นน่ั คือ 1. ความเป็ นพลเมอื งชาตติ ามขนบ (traditional citizenship) แนวคิดความเป็น พลเมืองแบบเดิมน้นั ใหค้ วามสาคญั กบั “การเป็ น สมาชิกภายใตก้ ฎหมายของรัฐชาติท่ีตนสงั กดั ”

global citizenship ความเป็ นพลเมืองโลก 2. ความเป็นพลเมอื งโลก (global citizenship) แนวคดิ ความเป็นพลเมอื งโลก วิพากษ์ความเชอื่ ท่วี า่ พลเมอื งจะต้องผกู ติดกับความ เปน็ ชาตแิ ละวัฒนธรรมชาตทิ ต่ี นสงั กัดเพียงหนึ่งเดยี ว

3. ความเป็ นพลเมอื งดจิ ทิ ลั (digital citizenship) แนวคิดความเป็น พลเมืองดิจทิ ลั พดู ถึงความสามารถในการใช้ อินเทอร์เน็ตเพอื่ มีส่วนร่วมในสังคมเศรษฐกิจ ดิจทิ ลั อยา่ งมีประสิทธิภาพ

4. ประเภทของพลเมืองดิจิทลั พลเมืองยคุ ดิจทิ ลั สามารถแบง่ กลุ่มได้ 2 กลุ่ม ดงั น้ี กล่มุ ท่ี 1 กลุ่มทช่ี อบตลาดออนไลน์ คอื การขายและ การตลาด ซ่ึงจะเห็นไดใ้ นปัจจุบนั คอื อาชีพนักรีววิ ยทู บู เบอร์และบลอ็ กเกอร์ กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่มีความชอบดา้ นเทคโนโลยี คน กลุ่มน้ีจะมีองคค์ วามรู้และถนดั ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ เขียนโปรแกรมได้

5. คุณลกั ษณะของพลเมืองดิจิทลั 1. การตระหนักถงึ ความสามารถในการ เข้าถงึ เทคโนโลยสี ารสนเทศของผ้อู ื่น พลเมืองดิจิตอลที่ดีจึงไม่ควรเลือก ปฏิบตั ิและดูหม่ินบคุ คลผขู้ าดทกั ษะการใช้ เทคโนโลยฯี

2. การเป็ นผ้ปู ระกอบการและผู้บริโภคทมี่ ี คณุ ลกั ษณะของพลเมืองดจิ ทิ ลั จริยธรรม พลเมืองยคุ ดิจติ อลจะตอ้ งมีความซ่ือสัตยแ์ ละมีศีลธรรมในการ ทานิติกรรมและธุรกรรมทกุ ประเภทบนโลกออนไลน์ 3. การเป็ นผ้สู ่งสารและรับสารท่ีมีมรรยาท พลเมืองดิจติ อลท่ดี ีจะตอ้ งมีมรรยาทและความรับ ผดิ ชอบตอ่ การกระทาของตนในโลกออนไลน์ 4. การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ พลเมืองยคุ ตจิ ิตอลท่ีดีจะตอ้ งตระหนกั และรับทราบถึง กฎหมายและกฎระเบยี บดงั กล่าว ตลอดจนมีความยบั ย้งั ช่างใจ ตอ่ การกระทาของตนที่อาจเป็นการละเมิดสิทธิของบุคคลอ่ืน

5. การใช้เทคโนโลยใี ห้มคี วามเหมาะสมและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ พลเมืองยคุ ดิจิตอลจะตอ้ งควบคุมการใชอ้ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ให้มีความเหมาะสมเพ่ือป้องกนั มิให้ เกิดอาการเสพติดต่อ สิ่งดงั กล่าวจนเกิดผลเสียตอ่ สุขภาพโดยรวมได้ 6. เรียนรู้วธิ กี ารเสริมสร้างความปลอดภยั ในการใช้เทคโนโลยี พลเมืองดิจิตอลนอกจากจะตอ้ งเป็นผทู้ มี่ ีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีประสิทธิภาพแลว้ จะตอ้ งใฝ่ รู้และใหค้ วามสาคญั กบั มาตรการเพอ่ื ความปลอดภยั และการคุม้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคลดว้ ย (Digital Security) เนื่องจากในยคุ ดิจิตอลน้นั ผมู้ ีเจตนากระทาผดิ และ หลอกลวงสามารถใชเ้ ทคโนโลยที ีม่ ีความทนั สมยั เพอ่ื หลอกลวงผอู้ ื่นไดง้ ่าย

6. ทกั ษะของพลเมืองดิจิทลั 1. ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ตอ้ งมีความสามารถในการสร้างสมดุล บริหารจดั การ รักษาอตั ลกั ษณท์ ี่ดีของตนเองไวใ้ ห้ได้ ท้งั ในส่วนของโลก ออนไลนแ์ ละโลกความจริง

2. ทกั ษะในการรกั ษาข้อมูลส่วนตวั (Privacy Management) ดุลพินจิ ในการบริหารจัดการขอ้ มูลสว่ นตัว โดยเฉพาะ การแชรข์ ้อมูลออนไลนเ์ พอ่ื ป้องกันความเป็นสว่ นตัวทง้ั ของตนเองและผูอ้ ่นื 3. ทกั ษะในการคิดวเิ คราะห์มวี จิ ารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างข้อมูลทถ่ี ูกตอ้ งและขอ้ มูลทผ่ี ิด รู้ว่าข้อมูลลกั ษณะใดที่ถูกส่งผา่ น มาทางออนไลน์แลว้ ควรตั้งขอ้ สงสยั หาคาตอบใหช้ ัดเจนก่อนเช่อื และนาไปแชร์

4. ทักษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบริหารเวลากบั การใชอ้ ุปกรณ์ยคุ ดิจทิ ลั รวมไปถึงการควบคุมเพื่อใหเ้ กิดสมดุล ระหวา่ งโลกออนไลน์และโลกภายนอก

5. ทกั ษะในการรับมือกบั การคกุ คามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) วา่ ท่ีพลเมืองดิจิทลั ทกุ คนควรมีความสามารถในการรับรู้และรับมือ การคุกคามขม่ ข่บู นโลกออนไลนไ์ ดอ้ ยา่ งชาญฉลาด เพือ่ ป้องกนั ตนเองและคนรอบขา้ งจากการคุกคามทางโลกออนไลนใ์ หไ้ ด้ 6. ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งาน ทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ตอ้ งมีทกั ษะความสามารถท่จี ะเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการ ใชช้ ีวติ ในโลกดิจทิ ลั วา่ จะหลงเหลือร่องรอยขอ้ มูลทง้ิ ไว้ เสมอ รวมไปถึงตอ้ งเขา้ ใจผลลพั ธท์ ่ีอาจเกิดข้ึน เพอ่ื การ ดูแลส่ิงเหล่าน้ีอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ

7. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการป้องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ทีเ่ ขม้ แขง็ และป้องกนั การโจรกรรมขอ้ มูลไม่ใหเ้ กิดข้ึน ได้ ถา้ ตอ้ งทาธุรกรรมกบั ธนาคารหรือซ้ือสินคา้ ออนไลน์ 8. ทักษะในการใช้เทคโนโลยอี ย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) พลเมืองดิจทิ ลั ที่ดีจะตอ้ งรู้ถึงคุณค่าและจริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ตอ้ งตระหนกั ถึงผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม ทเี่ กิดจากการใชอ้ ินเทอร์เน็ต การกดไลก์ กดแชร์ ขอ้ มูล ข่าวสาร ออนไลน์

7. Digital Literacy ทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั หรือ Digital literacy หมายถึง ทกั ษะในการนาเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ที่มีอยใู่ นปัจจุบนั อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ แทปเลต โปรแกรม คอมพวิ เตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ทกั ษะดงั กล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ น้นั มีดงั น้ี การใช้ (Use) เขา้ ใจ (Understand) การสร้าง (create) เขา้ ถึง (Access) เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

\" ทกั ษะอะไรบา้ งทีเ่ ราควรจะมีไปพร้อมกบั การรู้ดิจทิ ลั \" 1. การรู้สื่อ (Media Literacy) จะทาใหเ้ รามีความสามารถในการเขา้ ถึง วเิ คราะห์และผลิตสื่อตา่ งๆเพ่ือถ่ายทอด ความคิดของเรา แตท่ ้งั น้ีเราจะตอ้ งตระหนกั ถึงผลกระทบต่างๆ ทอี่ าจเกิดข้ึนและตามมาไดห้ ากใชส้ ื่อแบบผดิ วธิ ี ดงั น้นั การเขา้ ใจประเดน็ ทางจริยธรรมและทางกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเขา้ ถึงและการใชส้ ื่อจึงเป็นเร่ือง พ้ืนฐานทคี่ วรจะศึกษาไวใ้ ห้ดี 2. การรู้เทคโนโลยี (Technology Literacy) ทาใหเ้ กิดความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ๆ ต้งั แต่ข้นั พ้ืนฐานไปจนถึงทกั ษะท่ีมีความซบั ซอ้ นเพอื่ ต่อยอดและไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั 3. การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) ทกั ษะน้ีคอื เร่ืองสาคญั มากสาหรับคนท่ชี อบหาคาตอบจากโลก ออนไลน์ เพราะจะทาใหเ้ รารู้จกั คดิ วเิ คราะห์ถึงแหล่งท่มี าของเน้ือหากลน่ั กรองขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งแม่นยา 4. การรู้เกี่ยวกบั ส่ิงที่เห็น (Visual Literacy) ความสามารถในการใชส้ ิ่งที่เห็นในการทางานและดาเนิน ชีวติ ประจาวนั ผา่ นการคดิ วเิ คราะห์ เรียนรู้และตดั สินใจจากประสบการณไ์ ด้

5. การรู้การสื่อสาร (Communication Literacy) รู้จกั ใชแ้ หล่งขอ้ มูลต่างๆ มาส่ือสารในการทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น ไดอ้ ยา่ งดี เหมาะสมกบั กาลเทศะ รู้วา่ อะไรควรโพสตห์ รือ อะไรท่ีไม่ควรทาในโลกออนไลนแ์ ละใชแ้ ลกเปลี่ยนความรู้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด 6. การรู้สงั คม (Social Literacy) ทกั ษะสาหรับการทางานท่ีมี Connection เครือขา่ ยทางสงั คม พอ่ื รวบรวมความรู้ มีความสามารถในการส่ือสาร และ แยกแยะไดห้ ากมีความขดั แยง้ ของขอ้ มูล

8. เทคโนโลยดี ิจิทลั ในอาชีพที่ควรเรียนรู้ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ในอาชีพท่ีควรเรียนรู้มีดงั น้ี 1. Digital Transformation คอื การนาเทคโนโลยดี ิจติ ลั เพื่อสร้างหรือพฒั นากระบวนการ ต่างๆในธุรกิจ เพ่ือใหอ้ งคก์ รสามารถปรับตวั เขา้ กบั การแข่งขนั ท่มี ากข้ึน 2. Big Data ความจากดั ความของขอ้ มูลจานวนมากที่รวมตวั กนั อยอู่ ยา่ งเป็ นระเบียบมี หมวดหมู่ท่ีชดั เจน 3. Artificial Intelligence หรือ ปัญญาประดิษฐ์ เป็นเทคโนโลยที ่จี าลองความฉลาดของ มนุษย์ โดยการพฒั นาระบบอจั ฉริยะทีม่ ีความสามารถในการรับรู้ เรียนรู้ ใชเ้ หตผุ ล และ ตดั สินใจเลือกทางเลือกท่ีดีสุดจากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทเ่ี ก่ียวขอ้ ง พิจารณาทางเลือกตา่ ง ๆ และผลลพั ธข์ องทางเลือกน้นั ๆ ทีเ่ ป็นไปไดท้ ้งั หมด ภายใตส้ ภาวะแวดลอ้ มหรือเง่ือนไขท่ี กาหนด

4. ยุค 5G (Generation 5) เรียกไดว้ า่ เป็น รุ่นท่ี 5 ของ การส่ือสารทอี่ นาคตจะไม่ใช่แคโ่ ทรศพั ทม์ ือถือแลว้ แต่ จะรวมถึงอุปกรณท์ ุกชนิดท่ีเช่ือมอินเตอร์เน็ตได้ หากเราเขา้ สู่ยคุ 5G เราจะดาวนโ์ หลดวดี ีโอ หนงั หรือ แอปฯ ไดเ้ ร็วถึง 10,000 Mbps ถา้ ใช้ 4G ดูวดิ ีโอ ออนไลน์ (ขนาด 8K) หรือดาวนโ์ หลดหนงั ตอ้ งรอ 6 นาที แต่ถา้ มี 5G ใชเ้ วลาแค่ 6 วนิ าที 5. บล็อกเชน เปรียบเสมือนเครือข่ายการเกบ็ ขอ้ มูลแบบหน่ึง ทีท่ ุกคนสามารถเขา้ ถึงและไดร้ ับขอ้ มูลเดียวกนั โดยขอ้ มูล เหล่าน้ีจะถูกเกบ็ อยใู่ นแตล่ ะบล็อก (Block) ทีเ่ ชื่อมโยงกนั บนเครือขา่ ยเหมือนกบั ห่วงโซ่ (Chain)

7. DID หรือ National Digital ID คอื ตวั ตนของผใู้ ชบ้ ริการบนโลกดิจิทลั ที่ สามารถทาธุรกรรมออนไลน์ตา่ งๆ เช่น การเปิ ดบญั ชีเงินฝากออนไลน์ การสมคั ร ขอสินเช่ือออนไลน์ เป็นตน้ โดยไม่ตอ้ งเดินทางไปท่สี าขา หรือสานกั งาน เพื่อทา การแสดงตนสาหรับสมคั รบริการ NDID อ่านวา่ N-D-I-D (เอ็น ดี ไอ ดี) ถา้ เป็นบริษทั จะเรียกวา่ National Digital ID Co., Ltd. หรือ บริษทั เนชนั่ แนลดิจิทลั ไอดี จากดั และเน่ืองจากชื่อบริษทั เป็นท่ี รู้จกั เป็นการทวั่ ไป ทางคณะกรรมการจงึ เห็นสมควรให้ต้งั ชื่อ N-D-I-D (เอน็ ดี ไอ ดี) เป็นชื่อของผลิตภณั ฑท์ านองเดียวกนั ในการส่ือสารออกไปวงกวา้ ง เมื่อผใู้ ชไ้ ป สมคั รเปิ ดบริการ NDID Services ยงั ผใู้ ห้บริการพสิ ูจนแ์ ละยนื ยนั ตวั ตน

8. Fintech/Mobile Payment การทาธุรกรรมการชาระเงินผา่ นเครือข่ายของระบบ โทรศพั ทม์ ือถือ โดยใชส้ มาร์ทโฟนเพอ่ื เป็น ตวั กลาง ในการชาระค่าสินคา้ หรือบริการต่าง ๆ โดยเง่ือนไข ในการเปิ ดใชบ้ ริการ M-Payment น้นั จาเป็นตอ้ ง ทาการลงทะเบียนขอใชบ้ ริการกบั ทางผใู้ ห้บริการก่อน หลงั จากน้นั ระบบจะทาการเช่ือมโยงบญั ชีของเราเขา้ กบั เบอร์โทรศพั ท์ ถือเป็นอนั เสร็จส้ิน