1 ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชีวติ 1l ระดบั ประถมศกึ ษา
2 ชดุ วิชา การเงนิ เพอื่ ชวี ติ 1 รายวชิ าเลอื กบงั คบั ระดับประถมศกึ ษา รหัส สค12021 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 1l ระดบั ประถมศกึ ษา
1 คานา ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ใช้กับผู้เรียนระดบั ประถมศึกษา ชุดนปี้ ระกอบด้วยเน้ือหา ความรู้เกี่ยวกบั วา่ ด้วยเรอื่ งของเงนิ การวางแผนการเงิน สินเช่ือ สิทธิและหนา้ ที่ของผู้ใช้บรกิ าร ทางการเงิน และภัยทางการเงิน ซ่ึงเนื้อหาความรู้ดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียน กศน. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และตระหนกั ถึงความจาเปน็ ของการเงินเพ่อื ชวี ติ สานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณธนาคาร แห่งประเทศไทย ท่ีให้การสนับสนุนองค์ความรู้ประกอบการนาเสนอเนื้อหา รวมทั้งผู้เก่ียวข้อง ในการจัดทาชุดวิชา หวังเป็นอย่างย่ิงว่าชุดวิชานี้จะเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน กศน. และนาไปสู่ การเงินเพอื่ ชวี ิตอย่างเหน็ คณุ คา่ ต่อไป สานกั งาน กศน. กรกฎาคม 2559 ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 1l ระดบั ประถมศึกษา
2 คาแนะนาการใชช้ ดุ วิชา ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ติ 1 รหสั วิชา สค12021 ใช้สาหรับผู้เรียนหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 โครงสรา้ งของชดุ วิชา แบบทดสอบกอ่ นเรยี น โครงสรา้ งของหนว่ ย การเรยี นรู้ เนือ้ หาสาระ กจิ กรรมเรยี งลาดบั ตามหนว่ ยการเรยี นรู้ และแบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบด้วย เฉลยแบบทดสอบ กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน เฉลยกจิ กรรมเรียงลาดับตามหนว่ ยการเรยี นรู้ วิธีการใช้ชุดวิชา ใหผ้ เู้ รียนดาเนนิ การตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษารายละเอยี ดโครงสรา้ งชดุ วชิ าโดยละเอียด เพ่ือให้ทราบวา่ ผู้เรียนต้อง เรียนรเู้ นอ้ื หาในเรอื่ งใดบ้างในรายวิชาน้ี 2. วางแผนเพ่ือกาหนดระยะเวลาและจัดเวลาท่ผี ู้เรยี นมคี วามพรอ้ มท่ีจะศกึ ษา ชุดวิชาเพ่ือให้สามารถศึกษารายละเอียดของเน้ือหาได้ครบทุกหน่วยการเรียนรู้ พร้อมทากิจกรรม ตามที่กาหนดให้ทนั กอ่ นสอบปลายภาค 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นของชุดวิชาตามทกี่ าหนด เพอื่ ทราบพ้นื ฐานความรู้ เดิมของผู้เรียน โดยให้ทาลงในสมุดบันทึกการเรียนรู้และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบ ทา้ ยเล่ม 4. ศึกษาเนื้อหาในชดุ วชิ าในแต่ละหนว่ ยการเรียนรอู้ ยา่ งละเอียดให้เข้าใจ ทงั้ ใน ชุดวิชาและสือ่ ประกอบ (ถ้ามี) และทากจิ กรรมที่กาหนดไว้ให้ครบถ้วน 5. เมอ่ื ทากิจกรรมเสร็จแต่ละกิจกรรมแล้ว ผเู้ รยี นสามารถตรวจสอบคาตอบได้ จากแนวตอบ/เฉลย ท้ายเล่ม หากผู้เรียนยังทากิจกรรมไม่ถูกต้องให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเนื้อหา สาระในเรอ่ื งนน้ั ซ้าจนกวา่ จะเข้าใจ 6. เมื่อศึกษาเน้อื หาสาระครบทกุ หน่วยการเรยี นรแู้ ลว้ ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบ หลังเรียนและตรวจกระดาษคาตอบจากเฉลยท้ายเล่มว่าผู้เรียนสามารถทาแบบทดสอบได้ถูกต้อง ทุกข้อหรือไม่ หากข้อใดยังไม่ถูกต้อง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเร่ืองนั้นให้เข้าใจอีก ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 1l ระดบั ประถมศกึ ษา
3 ครั้งหนึ่ง ผู้เรียนควรทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้คะแนนมากกว่าแบบทดสอบก่อนเรียน และควรได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของแบบทดสอบท้ังหมด (หรือ 24 ข้อ) เพ่ือให้มั่นใจว่า จะสามารถสอบปลายภาคผา่ น 7. หากนักศกึ ษาไดท้ าการศกึ ษาเน้ือหาและทากิจกรรมแล้วยงั ไม่เขา้ ใจ ผ้เู รยี น สามารถสอบถามและขอคาแนะนาไดจ้ ากครูหรอื แหลง่ คน้ ควา้ เพม่ิ เติมอ่ืน ๆ หมายเหตุ : การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลงั เรียน และทากจิ กรรมท้ายเรื่อง ให้ทาและบันทึก ลงในสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชดุ วิชา การศึกษาค้นควา้ เพม่ิ เติม ผู้เรียนอาจศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมได้จากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น ศูนย์คุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย โทร.1213, เว็บไซต์ : www.1213.or.th , เฟสบุ๊ค : www.facebook.com/hotline1213 การศึกษาจากอินเทอร์เน็ต พิพิธภัณฑ์ นทิ รรศการ หน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องกบั การเงนิ การธนาคาร การศึกษาจากผรู้ ู้ เป็นต้น การวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ผ้เู รียนต้องวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ดงั นี้ 1. ระหว่างภาค วัดผลจากการทากจิ กรรมหรืองานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายระหว่างเรียน รายบคุ คล 2. ปลายภาค วดั ผลจากการทาข้อสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิปลายภาค ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ติ 1l ระดบั ประถมศึกษา
4 โครงสร้างชุดวชิ า สาระการเรยี นรู้ สาระการพฒั นาสังคม มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนังถงึ ความสาคัญเกย่ี วกับภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนามาปรับใช้ในการดารงชีวติ มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกย่ี วกับภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครองในทอ้ งถิน่ ประเทศ นามาปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตและการประกอบอาชพี เพ่ือความ มั่นคงของชาติ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง - อธิบายข้อมูลเก่ยี วกบั เร่ืองการเงนิ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง - วิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ การชาระเงนิ ผา่ นช่องทางต่าง ๆ ตลอดจนบญั ชเี งนิ ฝากประเภท ตา่ ง ๆ และเลอื กใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - คานวณอตั ราแลกเปล่ยี นเงินตราต่างประเทศ และดอกเบี้ยบัญชีเงนิ ฝากได้ - ประยกุ ตใ์ ชแ้ ละเลอื กใชค้ วามรูท้ างการเงินมากาหนดเป้าหมายมาออกแบบวางแผน การเงนิ ของตนเองได้อย่างเหมาะสม - มคี วามรบั ผิดชอบต่อการใชจ้ ่าย จัดการการเงนิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม คุม้ ค่า ตระหนักถงึ สทิ ธิ และหน้าที่ทางการเงิน ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชีวติ 1l ระดบั ประถมศึกษา
5 สาระสาคญั เงินเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของประชาชนทุกคน เนื่องจากเป็นสื่อกลางท่ีใช้ สาหรับแลกเปล่ียนกับสินค้าและบริการต่าง ๆ ที่จาเป็นต้องใช้ในชีวิตประจาวัน นอกจากน้ัน “เงิน” ยังเป็นปัจจัยสาคัญสาหรับการลงทุน เพ่ือเพ่ิมพูนรายได้ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันนี้สภาพ สังคม เศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีวิธีทางการเงินใหม่ ๆ ถูกพัฒนาขึ้นอย่าง หลากหลาย เช่น บัตรเครดิต บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม การทาธุรกรรมทางโทรศัพท์ ทาง อินเทอร์เน็ต การลงทุนทางการเงินประเภทต่าง ๆ เป็นต้น และเม่ือมีการพัฒนาทางการเงิน เพ่ิมข้ึน ภัยทางการเงินก็เพ่ิมข้ึนเป็นเงาตามตัว เช่น เงินกู้นอกระบบ แชร์ลูกโซ่ ภัยการเงิน ออนไลน์ เป็นต้น จึงต้องพัฒนาทักษะความสามารถด้านการเงินให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ ออกแบบวางแผน และตดั สินใจทางการเงิน ตลอดจนหลีกเล่ียง ความเสี่ยงภัยทางการเงิน อันเป็น ประโยชน์ต่อการดารงชวี ติ ในปจั จบุ ัน ขอบขา่ ยเนื้อหา หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1. ว่าด้วยเรอ่ื งของเงิน 2. การวางแผนการเงนิ 3. สนิ เช่ือ 4. สิทธแิ ละหนา้ ทีข่ องผใู้ ช้บริการทางการเงนิ 5. ภัยทางการเงนิ สื่อประกอบการเรยี นรู้ 1. ชดุ วิชา 2. สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวชิ า 3. ส่ือเสรมิ การเรียนรู้อื่น ๆ จานวนหนว่ ยกติ 2 หนว่ ยกิต (80 ชั่วโมง) ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1l ระดบั ประถมศึกษา
6 กิจกรรมเรยี นรู้ 1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม 2. ศึกษาเนื้อหาสาระในหนว่ ยการเรียนรู้ทุกหน่วย 3. ทากจิ กรรมตามทกี่ าหนด และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม 4. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม การประเมินผล 1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน 2. ทากจิ กรรมในแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ 3. เขา้ รับการทดสอบปลายภาค ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวติ 1l ระดบั ประถมศกึ ษา
7 หน้า สารบญั 1 4 คานา 6 คาแนะนาการใช้ชุดวิชา 17 โครงสรา้ งชดุ วิชา 39 สารบญั 45 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าดว้ ยเร่ืองของเงิน 49 51 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน 54 เรอ่ื งที่ 2 ประเภทของเงนิ 60 เร่อื งท่ี 3 การฝากเงนิ และการประกนั ภยั 68 เรื่องท่ี 4 การชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์ 80 เรอื่ งท่ี 5 ผใู้ หบ้ รกิ ารทางการเงนิ ในประเทศไทย 86 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงิน 88 เรื่องที่ 1 การวางแผนการเงนิ 90 เรื่องที่ 2 การประเมินฐานะการเงินของตนเอง 98 เรอ่ื งท่ี 3 การบันทกึ รายรบั -รายจ่าย 99 เรอ่ื งที่ 4 การตั้งเป้าหมายและจดั ทาแผนการเงนิ เรื่องที่ 5 การออม หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สนิ เชอ่ื เรื่องที่ 1 ประเมินความเหมาะสมก่อนการตดั สนิ ใจกอ่ หนี้ เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะของสินเช่ือรายยอ่ ย เรื่องท่ี 3 วิธกี ารป้องกนั ปัญหาหนี้ เรื่องที่ 4 วิธกี ารแกป้ ัญหาหน้ดี ว้ ยตนเอง ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 1l ระดบั ประถมศกึ ษา
8 สารบญั (ตอ่ ) หน้า หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 สิทธแิ ละหน้าทข่ี องผูใ้ ชบ้ ริการทางการเงนิ 102 เรอื่ งที่ 1 สทิ ธิของผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน 104 เรอ่ื งท่ี 2 หน้าทขี่ องผู้ใช้บริการทางการเงิน 106 เรื่องที่ 3 บทบาทศนู ย์คุ้มครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.) และหนว่ ยงาน ทรี่ ับเรอื่ งรอ้ งเรียนอ่ืน ๆ 108 เรื่องท่ี 4 ข้นั ตอนการร้องเรียนและหลักการเขียนหนังสือรอ้ งเรยี น 110 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงิน 114 เรือ่ งที่ 1 หนีน้ อกระบบ 115 เร่ืองท่ี 2 แชร์ลกู โซ่ 120 เรื่องที่ 3 ภัยใกล้ตัว 122 เรอ่ื งที่ 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ 124 128 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น 129 168 เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื ง 171 บรรณานุกรม คณะผ้จู ดั ทา ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 1l ระดบั ประถมศึกษา
1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าดว้ ยเร่อื งของเงนิ สาระสาคัญ เงินเป็นส่ิงสาคัญท่ีมีผลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นสิ่งท่ีใช้ในการ ซอ้ื หาสง่ิ ของหรือบริการเพ่ือให้สามารถดารงชีพ หรือเพ่ือความสะดวกสบาย เงินท่ีรู้จักกันส่วนใหญ่ มี 2 ชนิด คือ ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ โดยในประเทศไทยใช้สกุลเงินบาท อย่างไรก็ดี หากต้อง เดนิ ทางหรือทาการคา้ ทต่ี า่ งประเทศ กจ็ ะตอ้ งเขา้ ไปเก่ยี วข้องกบั เงนิ ตราของประเทศอ่นื ๆ ด้วย เมอ่ื ได้รบั เงินจากแหลง่ ต่าง ๆ เชน่ จากการประกอบอาชีพ สิ่งที่ควรทา คือ แบ่งเงิน บางส่วนไปเกบ็ ออมเพือ่ วตั ถปุ ระสงค์ต่าง ๆ เช่น ไวใ้ ชย้ ามฉุกเฉิน เป็นค่าใช้จ่ายหลังเกษียณหรือ เลิกทางาน แต่บางครั้งการเก็บออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉินอาจไม่เพียงพอที่จะรองรับเหตุการณ์ ไม่คาดฝัน จึงอาจต้องพิจารณาความจาเป็นในการทาประกันภัยเพ่ือรองรับความเส่ียงที่ไม่คาดคิด เช่น ประสบอุบัติเหตุ หรือเสียชีวิต ซึ่งหากเกิดเหตุการณ์น้ันบริษัทประกันภัยจะเป็นผู้จ่าย สินไหมทดแทนให้ตามเงือ่ นไขท่ีตกลงไวใ้ นกรมธรรม์ ดว้ ยยุคสมยั ปัจจุบันเปลี่ยนไป มีการนาเทคโนโลยีมาอานวยความสะดวกเพ่ือให้ ใช้เงินได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องพกพาเงินสดจานวนมาก เช่น บัตรเดบิต และบัตรเครดิต ซ่ึงแต่ละชนิด ออกแบบมาเพือ่ ลกั ษณะการใชง้ านทตี่ ่างกัน นอกจากเงินจะมีบทบาทสาคัญต่อชีวิตประจาวันของทุกคน ยังเป็นสิ่งสาคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้ังระบบ ท้ังในด้านการลงทุน การผลิต และการจ้างงาน จึงมี ผู้ให้บริการทางการเงินในระบบจานวนมากซ่ึงมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันไปในการตอบสนอง ระบบเศรษฐกิจในแต่ละด้าน โดยสถาบันการเงินมีท้ังท่ีรับฝากเงิน และไม่ได้รับฝากเงิน ซึ่งผู้ใช้บริการทางการเงินสามารถวางใจและเช่ือถือได้ เนื่องจากมีหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีกากับ ดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าดว้ ยเรื่องของเงนิ
2 ตัวชว้ี ัด 1. บอกความหมายและประโยชนข์ องเงนิ 2. บอกความหมายและความแตกตา่ งของการใหเ้ งินและการใหย้ มื เงนิ 3. อธบิ ายวิธีการตรวจสอบธนบัตร 4. บอกสกุลเงินในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 5. บอกประเภทของบญั ชเี งินฝาก 6. บอกประโยชน์และข้อจากดั การฝากเงินประเภทตา่ ง ๆ 7. บอกความหมายของดอกเบ้ียเงนิ ฝาก 8. บอกความหมายของการคมุ้ ครองเงินฝาก 9. บอกบทบาทหนา้ ทขี่ องสถาบนั คมุ้ ครองเงนิ ฝาก 10. บอกความหมายและประโยชน์ของการประกนั ภัยรายยอ่ ย 11. บอกความหมายและประโยชน์ของการชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 12. บอกลกั ษณะของบตั รเอทเี อ็ม บัตรเดบิต บตั รเครดิต 13. บอกผูใ้ หบ้ รกิ ารทางการเงนิ ในประเทศไทย 14. บอกประเภทและหน้าที่ของธนาคารพาณชิ ย์ 15. บอกประเภทและหน้าทีข่ องสถาบนั การเงินเฉพาะกิจ (ธนาคารของรัฐ) ขอบข่ายเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน เรื่องที่ 2 ประเภทของเงิน เรอ่ื งที่ 3 การฝากเงิน และการประกนั ภยั เรอ่ื งที่ 4 การชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ เรือ่ งท่ี 5 ผใู้ ห้บรกิ ารทางการเงินในประเทศไทย ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ด้วยเรือ่ งของเงนิ
3 สื่อการเรยี นรู้ 1. เว็บไซต์ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) www.bot.or.th 2. เว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) www.sec.or.th 3. เว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) www.oic.or.th เวลาท่ีใช้ในการศกึ ษา 12 ชั่วโมง ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงิน
4 เรอื่ งที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน ความหมายและประโยชน์ของเงิน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของ “เงิน” คือ วัตถุที่กาหนดให้ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนหรือชาระหนี้ ปัจจุบันส่วนใหญ่ คือ ธนบัตร และเหรียญกษาปณ์ อย่างไรก็ดี เงินอาจไม่ได้จากัดอยู่ในรูปธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เท่าน้ัน แตอ่ าจอยู่ในรูปแบบอ่ืน ๆ อีก เชน่ เงินอิเล็กทรอนกิ ส์ “เงิน”เป็นส่ิงสาคัญที่มีผลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นสิ่งที่ใช้ใน การซ้อื หาสงิ่ ของหรือบรกิ ารเพื่อให้สามารถดารงชีพได้ หรือเพ่ือความสะดวกสบาย เช่น การซ้ือ หาอาหาร ส่ิงของจาเป็น การศึกษา การรักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายเดินทาง ดังนั้น ทุกคนจึง จาเป็นต้องประกอบอาชีพ สร้างอาชีพให้ตนเองเพ่ือให้มีเงินหรือมีรายได้เลี้ยงตนเองและคนใน ครอบครวั เมื่อได้เงินมาแล้วก็ควรรู้จักวางแผนการเงินของตนเอง เพื่อให้ใช้เงินอย่างรู้คุณค่า และมีเงินเพียงพอต่อการดารงชีพ เช่น เม่ือมีรายได้ให้นาไปเก็บออมส่วนหนึ่งก่อน โดยลาดับแรก ควรออมเผื่อฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันจะได้ดึงเงินท่ีออมมาใช้จ่ายได้ หรือการรู้จัก วางแผนการใช้จ่าย โดยใช้จ่ายในสิ่งท่ีจาเป็นก่อน หรือหากมีเงินออมเพียงพอแล้ว อาจนาเงินออม บางส่วนไปสร้างผลตอบแทนเพิ่มขึ้น เช่น การฝากเงินในบัญชีเงินฝากประจาเพื่อรับดอกเบ้ีย ที่สงู ข้นึ หรอื การลงทุนภายใตค้ วามเสย่ี งท่ียอมรบั ได้ เพือ่ ใหเ้ งินท่ีหามาไดส้ ร้างมลู คา่ ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ การใหเ้ งนิ และการให้ยืมเงนิ การใหเ้ งิน หมายถึง การให้เงนิ โดยไม่ได้หวังผลตอบแทน และไม่ได้หวังให้มีการ นาเงินดังกล่าวมาจ่ายคนื ให้ เชน่ พอ่ แมใ่ ห้คา่ ขนมแก่ลกู การบรจิ าคเงินเพ่ือการกุศล การใหย้ มื เงนิ หมายถงึ การใหเ้ งินโดยคาดหวังให้มกี ารจ่ายคืนภายในระยะเวลา ทกี่ าหนด และมีการกาหนดอัตราผลตอบแทนของการให้ยืมเงินนั้นด้วย ซึ่งเรียกว่า “ดอกเบ้ีย” ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 1 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าดว้ ยเรอ่ื งของเงิน
5 เช่น สมชายให้สมหญิงกู้ยืม 10,000 บาท คิดดอกเบี้ย 2% ต่อปีและให้ใช้คืนเม่ือครบ 1 ปี หมายความวา่ สมหญิงตอ้ งจา่ ยเงินคืนสมชาย 10,200 บาท เมือ่ ครบ 1 ปี จะเห็นว่าการให้เงินเป็นการให้เปล่าไม่ต้องคืน แต่สาหรับการให้ยืมเงินเป็นการ คาดหวังให้มีการจ่ายเงินคืน ซ่ึงผู้ให้ยืมอาจต้องการดอกเบ้ียหรือไม่ต้องการดอกเบ้ียก็ได้ ดังนั้น ก่อนที่จะให้เงินหรือให้ยืมเงิน ผู้ให้ยืมควรอธิบายให้ชัดเจนและเข้าใจตรงกันว่า ต้องการให้เงิน หรือตอ้ งการใหย้ มื เงิน ซง่ึ หากเป็นการให้ยืมเงิน ผู้ให้ยืมควรแจ้งอัตราดอกเบ้ีย ระยะเวลาท่ีต้อง ชาระคนื และควรทาเอกสารเป็นลายลักษณ์อกั ษรเพ่ือเป็นหลกั ฐานการใหย้ ืมเงนิ ไวด้ ว้ ย กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน (ให้ผ้เู รียนไปทากิจกรรมเรือ่ งที่ 1 ที่สมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู้) ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ด้วยเรื่องของเงนิ
6 เร่ืองท่ี 2 ประเภทของเงิน เงินตราไทย เงินตราท่ีใช้ในประเทศไทย ปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการธนบัตร ภายในประเทศทุกข้ันตอน เริ่มตั้งแต่การผลิตนาธนบัตรใหม่ออกใช้หมุนเวียนและทาลาย ธนบัตรเก่า รวมทั้งประเมินความต้องการใช้ธนบัตรใหม่ในแต่ละปีว่าควรจะผลิตธนบัตรชนิด ราคาใดออกมาจานวนมากน้อยเพียงใด เพ่ือให้เพียงพอต่อความต้องการใช้จ่ายของประชาชน ในประเทศ ซ่ึงในแต่ละปีปริมาณการผลิตธนบัตรจะผันแปรไปตามความต้องการใช้ธนบัตร ทเ่ี พม่ิ ขึน้ หรือลดลงตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้มีสิทธิ์พิมพ์และออกใช้ธนบัตรในประเทศไทย แต่เพียงผู้เดียว โดยปฏิบัติตามท่ีพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501 กาหนดไว้ว่าการนา ธนบัตรออกใชห้ มนุ เวยี นในระบบเศรษฐกจิ สามารถทาได้ 2 กรณี คือ 1. แลกเปลี่ยนทันทีกับธนบัตรที่ออกใช้หมุนเวียนอยู่แล้วในมูลค่าที่เท่ากัน เช่น ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท 10 ฉบับ มูลค่า 10,000 บาท แลกเปลี่ยนกับธนบัตรใหม่ชนิด ราคาเดียวกันหรือชนิดราคาอ่ืนในมูลค่าท่ีเท่ากัน อาทิ ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท จานวน 20 ฉบบั 2. แลกเปล่ียนทันทีกับสินทรัพย์ท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นทุนสารองเงินตรา ในมลู ค่าที่เท่ากนั เชน่ นาทองคามูลค่า 100 ล้านบาทมาเข้าบัญชีทุนสารองเงินตรา แลกเปล่ียน กบั ธนบตั รเพ่ือนาออกใชม้ ูลค่า 100 ลา้ นบาทเท่ากนั ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าด้วยเรอ่ื งของเงนิ
7 ทาไมธนบัตรจึงมีค่า การที่ธนบัตรได้รบั ความเชื่อถอื และมีมูลค่าตามราคาที่ระบไุ ว้ได้นั้น เนอื่ งจาก กฎหมายกาหนดใหต้ อ้ งนาสนิ ทรัพย์ เช่น ทองคา เงินตราตา่ งประเทศ และหลักทรัพย์ ต่างประเทศ มาแลกเปล่ียนเท่ากับจานวนมูลค่าของธนบตั รทจ่ี ะนาออกใช้ ซ่ึงสินทรัพยด์ งั กล่าว จะโอนเขา้ ไว้ในบัญชีทุนสารองเงนิ ตรา โดยธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผดู้ แู ลรักษาบัญชี และ มีสานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดินตรวจสอบเป็นประจาทุกปี ดังนั้น จงึ ม่นั ใจไดว้ ่าธนบัตรทกุ ฉบับ มีมูลคา่ ตามราคาทีต่ ราไว้อยา่ งแท้จรงิ ธนบตั รท่ใี ช้หมุนเวียนในปจั จุบัน นบั จากปี พ.ศ. 2445 ที่เริ่มนาธนบัตรแบบแรกออกใช้ จนถงึ ปัจจุบันปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมีธนบัตรออกใช้หมุนเวียนรวมจานวน 16 แบบ โดยธนบัตรแบบปัจจบุ ัน คอื ธนบตั รแบบสิบหก1 มี 5 ชนิดราคา ได้แก่ 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยูห่ วั ในฉลองพระองคค์ รุยมหาจกั รีบรมราชวงศ์ ลักษณะธนบัตรด้านหนา้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรยี ์พ่อขนุ รามคาแหง มหาราช ลกั ษณะธนบตั รดา้ นหลงั ภาพประกอบ : ภาพการประดษิ ฐอ์ กั ษรไทย ภาพศิลาจารึก ขนาด หลกั ท่ี 1 จารึกพ่อขนุ รามคาแหง ภาพลายสอื ไทย ภาพทรง วนั ประกาศออกใช้ รบั เรอ่ื งราวรอ้ งทุกขข์ องราษฎร ภาพกระด่งิ และภาพ วันออกใช้ เครอ่ื งสงั คโลก 7.20 x 13.80 เซนติเมตร 1 ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2559 ลงวนั ท่ี 2 พฤศจิกายน 2555 วนั ที่ 1 เมษายน 2556 ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชีวติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงิน
ลักษณะธนบัตรดา้ นหน้า 8 ลักษณะธนบัตรดา้ นหลัง ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลกั ษณ์พระบาทสมเด็จ ขนาด พระเจา้ อยหู่ ัว ในฉลองพระองค์ครุยมหาจกั รีบรมราชวงศ์ วันประกาศออกใช้ วนั ออกใช้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวร มหาราช ลกั ษณะธนบตั รด้านหน้า ภาพประกอบ : ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ทรงพระแสงดาบ นาทหารเขา้ ตีค่ายพม่า พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ อนุสรณ์ ลักษณะธนบัตรดา้ นหลัง ดอนเจดีย์ และพระเจดีย์ชยั มงคล วดั ใหญช่ ยั มงคล จังหวดั ขนาด พระนครศรอี ยุธยา วนั ประกาศออกใช้ 7.20 x 14.40 เซนติเมตร วันออกใช้ ลงวันท่ี 24 มิถนุ ายน 2554 วันที่ 18 มกราคม 2555 ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลกั ษณ์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัว ในฉลองพระองคค์ รยุ มหาจักรบี รมราชวงศ์ ภาพประธาน : ภาพพระบรมรูปสมเด็จพระเจา้ ตากสิน มหาราช ภาพประกอบ : ภาพทรงเกลยี้ กล่อมให้ประชาชนรวมกาลัง กนั ต่อสูก้ ้อู ิสรภาพ ภาพท้องพระโรงพระราชวังกรงุ ธนบรุ ี ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช ทรงมา้ พระทน่ี ง่ั ออกศึก และภาพปอ้ มวิไชยประสิทธ์ิ 7.20 x 15.00 เซนตเิ มตร ลงวนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2557 วนั ท่ี 26 กุมภาพันธ์ 2558 ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงนิ
ลกั ษณะธนบตั รด้านหน้า 9 ลกั ษณะธนบัตรดา้ นหลัง ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเดจ็ ขนาด พระเจ้าอย่หู ัว ในฉลองพระองคค์ รยุ มหาจักรีบรมราชวงศ์ วันประกาศออกใช้ วนั ออกใช้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ลกั ษณะธนบัตรดา้ นหนา้ ภาพประกอบ : ภาพวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม ลักษณะธนบตั รด้านหลัง ภาพป้อมพระสเุ มรุ ขนาด 7.20 x 15.60 เซนติเมตร วนั ประกาศออกใช้ ลงวนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2556 วนั ออกใช้ วนั ที่ 12 พฤษภาคม 2557 ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลกั ษณ์พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ในฉลองพระองคค์ รุยมหาจกั รบี รมราชวงศ์ ภาพประธาน : ภาพพระบรมรูปพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว พระปยิ มหาราช ภาพประกอบ : ภาพพระบรมราชานุสาวรยี ์พระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงม้าพระทนี่ ั่ง ภาพพระทนี่ ่งั อนันตสมาคม และภาพการเลกิ ทาส 7.20 x 16.20 เซนติเมตร ลงวนั ที่ 24 มถิ ุนายน 2558 วนั ที่ 21 สงิ หาคม 2558 ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ด้วยเรื่องของเงิน
10 ขนาดมาตรฐานของธนบตั รแบบปจั จบุ นั 2 (แบบสิบหก) การกาหนดขนาดธนบตั รมุ่งเน้นถึงความสะดวกในการพกพาเป็นหลัก และเพ่ือ ประโยชน์ต่อการสังเกตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่มีความบกพร่องทางสายตา ซ่ึงสามารถแยกแยะชนดิ ราคาธนบัตรด้วยการสัมผัสเท่าน้ัน จึงกาหนดให้ธนบัตรทุกชนิดราคา มีความกว้างเทา่ กันคือ 72 มิลลเิ มตร แต่มีความยาวท่ีลดหลัน่ กันชนดิ ราคาละ 6 มิลลิเมตร วิธกี ารตรวจสอบธนบตั รแบบสบิ หก 1. สมั ผสั 1.1 สมั ผัสกระดาษธนบัตร ธนบัตรทาจากกระดาษชนิดพิเศษท่ีมีใยฝ้ายเป็นส่วนประกอบหลัก จงึ มีความแกรง่ ทนทาน ไม่ยุ่ยงา่ ย เม่อื จบั สัมผสั จะใหค้ วามรสู้ ึกแตกตา่ งจากกระดาษท่วั ไป 1.2 ลายพมิ พ์เส้นนนู สามารถสัมผัสความนูนตามจุดต่าง ๆ ได้แก่ ตัวเลขอารบิกแจ้งชนิด ราคาที่มุมขวาบนของธนบัตร ตัวอักษรคาว่า “รัฐบาลไทย” และตัวเลขไทยแจ้งชนิดราคา ด้านหนา้ ธนบัตร นอกจากน้ี ท่ีบริเวณมุมล่างด้านขวาของธนบัตรทุกชนิดราคาจะมีลายพิมพ์ เส้นนูนรูปดอกไม้ ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แจ้งชนิดราคาธนบัตรที่ประยุกต์มาจากอักษรเบรลล์ เพอ่ื อานวยความสะดวกแกผ่ มู้ คี วามบกพรอ่ งทางสายตา 2 ขอ้ มูล ณ มิถนุ ายน 2559 ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าด้วยเรือ่ งของเงิน
11 2. ยกสอ่ ง 2.1 ลายน้า ลายน้าเกิดข้ึนในข้ันตอนการผลิตกระดาษท่ีทาให้เน้ือกระดาษมีความ หนาไมเ่ ทา่ กนั เม่ือยกธนบัตรส่องกับแสงสวา่ งจงึ มองเหน็ ภาพที่มีการไล่ระดับของแสงเงา และ ตัวเลขไทยตามชนิดราคาธนบัตรที่มีความโปร่งแสงเป็นพิเศษ ประดับควบคู่ลายน้าพระบรม ฉายาสาทิสลกั ษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว 2.2 แถบสีและแถบสเ่ี หลีย่ มเคลอ่ื นไหวสลบั สี ธนบัตรทุกชนิดราคามีแถบสีต่าง ๆ ตามชนิดราคาธนบัตรที่ฝังไว้ใน เน้ือกระดาษตามแนวตั้ง มีบางส่วนของแถบปรากฏให้เห็นเป็นระยะ ๆ ท่ีด้านหลังของธนบัตร เมื่อยกส่องดูกับแสงสว่างจะเห็นเป็นเส้นตรงยาวต่อเน่ือง บนแถบมีตัวเลขและตัวอักษร โปร่งแสงแจ้งชนิดราคาธนบัตรท่ีมองเห็นได้ทั้งสองด้าน และสามารถมองเห็นการเปล่ียนสี ของแถบนีเ้ มือ่ พลิกเอยี งธนบตั รไปมา ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงนิ
12 ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ภาพท่ี 5 ภาพที่ 1 - 3 เปน็ แถบสี ซงึ่ มอี ยู่ในธนบตั รชนิดราคา 20 บาท 50 บาท และ 100 บาท ภาพที่ 4 - 5 เป็นแถบสีที่มีส่ีเหลี่ยมเคล่ือนไหวสลับสี ซึ่งมีอยู่ในธนบัตรชนิดราคา 500 บาท และ 1000 บาท 2.3 ภาพซอ้ นทบั บริเวณมุมบนด้านซ้ายของธนบัตร มีตัวเลขอารบิกแจ้งชนิดราคาธนบัตร ท่ีพิมพ์แยกไว้ในตาแหน่งตรงกันของด้านหน้าและด้านหลังธนบัตร จะมองเห็นเป็นตัวเลข ทสี่ มบูรณ์เม่อื ยกธนบตั รส่องกบั แสงสวา่ ง ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงนิ
13 3. พลกิ เอยี ง 3.1 หมกึ พิมพ์พเิ ศษสลับสี เป็นจุดสังเกตสาหรับธนบัตรชนิดราคา 500 บาท และ 1000 บาท เท่าน้ัน โดยให้สังเกตที่มุมล่างด้านซ้ายของธนบัตรเม่ือพลิกขอบล่างธนบัตรข้ึน ลายประดิษฐ์ สีทองจะเปล่ียนเป็นสีเขยี ว 3.2 แถบฟอยล์ 3 มิติ แถบฟอยล์ 3 มิติท่ีผนึกอยู่บนด้านหน้าธนบัตรชนิดราคา 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท จะมองเห็นเป็นหลายมิติแตกต่างกันตามชนิดราคาและจะเปลี่ยน สีสะทอ้ นแสงวาววบั เมอ่ื พลิกเอยี งธนบตั รไปมา ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงิน
14 3.3 ตวั เลขแฝง ในลายประดิษฐ์มุมลา่ งซ้ายของธนบตั รทุกชนิดราคาเมื่อยกธนบัตรเอียง เข้าหาแสงสว่างและมองผ่านจากมุมล่างซ้ายเข้าหาก่ึงกลางธนบัตรในมุมที่เหมาะสม จะเห็น ตวั เลขอารบกิ แจ้งชนดิ ราคาธนบัตรฉบับนนั้ เหรียญกษาปณ์ กรมธนารักษ์ได้ผลิตเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนออกใช้ในระบบเศรษฐกิจตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา ซึ่งมีหลากรุ่นหลายแบบ โดยได้ปรับเปลี่ยนรูปลักษณะ ลวดลาย และ กรรมวธิ ีการผลิตเรือ่ ยมา เพอื่ ใหส้ ะดวกตอ่ การพกพา การใช้สอยและยากต่อการปลอมแปลง เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ใช้หมุนเวียนกันอยู่ท่ัวไปใน ชีวิตประจาวัน มี 9 ชนิดราคา คือ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ 10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ แต่ใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนิดราคา คือ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ ส่วนเหรียญชนิดราคา 10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ มีใช้ในทางบญั ชีเท่านั้น ในปี พ.ศ. 2551 กระทรวงการคลังได้อนุมัติให้กรมธนารักษ์ จัดทาเหรียญ กษาปณอ์ อกใชห้ มนุ เวียนชดุ ใหมใ่ นระบบเศรษฐกจิ โดยมลี กั ษณะและชนดิ ราคา ดังน้ี 1. เหรยี ญกษาปณโ์ ลหะสองสี (สีขาวและสีทอง) ชนดิ ราคา 10 บาท 2. เหรียญกษาปณ์โลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล เคลือบไส้ทองแดง) ชนดิ ราคา 5 บาท ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงิน
15 3. เหรียญกษาปณ์โลหะสีทอง (ทองแดงผสมนิกเกิลและอลูมิเนียม) ชนิดราคา 2 บาท 4. เหรียญกษาปณ์โลหะสขี าว (ไส้เหลก็ ชุบนิกเกลิ ) ชนดิ ราคา 1 บาท 5. เหรยี ญกษาปณ์โลหะสีแดง (ไสเ้ หลก็ ชุบทองแดง) ชนิดราคา 50 สตางค์ 6. เหรยี ญกษาปณโ์ ลหะสแี ดง (ไสเ้ หลก็ ชุบทองแดง) ชนดิ ราคา 25 สตางค์ 7. เหรียญกษาปณ์โลหะสีขาว (อลูมิเนียม) ชนิดราคา 10 สตางค์ 5 สตางค์ 1 สตางค์ เหรียญกษาปณ์กับการใชช้ าระหน้ตี ามกฎหมาย ตามพระราชบญั ญัติเงนิ ตรา พ.ศ. 2501 มาตรา 11 ระบุว่า เหรียญกษาปณ์เป็น เงนิ ทช่ี าระหนี้ได้ตามกฎหมาย ไมเ่ กนิ จานวนท่กี าหนดโดยกฎกระทรวง ดังน้ี ชนิดราคา จานวนการชาระหนต้ี อ่ ครัง้ เหรยี ญชนิดราคา 1 สตางค์ ชาระหน้ไี ด้ครั้งละไมเ่ กิน 5 บาท เหรียญชนดิ ราคา 5, 10, 25 และ 50 สตางค์ ชาระหนไี้ ดค้ ร้ังละไม่เกนิ 10 บาท เหรยี ญชนิดราคา 1, 2 และ 5 บาท ชาระหนไ้ี ด้คร้ังละไมเ่ กนิ 500 บาท เหรียญชนิดราคา 10 บาท ชาระหน้ีไดค้ รงั้ ละไมเ่ กิน 1,000 บาท สาเหตุที่กฎหมายต้องกาหนดจานวนเงินในการชาระหนี้ของเหรียญกษาปณ์ คือ เพื่อปอ้ งกันการกล่นั แกลง้ ระหว่างลกู หนก้ี ับเจ้าหนีใ้ นการชาระหนี้ เงินตราต่างประเทศ ในการดาเนินชีวิตประจาวันทั่ว ๆ ไป เราจะใช้เงินสกุลของประเทศไทยคือ เงนิ บาทในการจับจ่ายใชส้ อยในประเทศ แตห่ ากตอ้ งเดินทางหรือมีการทาธุรกิจระหว่างประเทศ เราก็จะต้องเขา้ ไปเกีย่ วข้องกับเงนิ ตราของประเทศอ่นื ๆ ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 วา่ ด้วยเรอื่ งของเงนิ
16 เงนิ สกุลในกลมุ่ ประเทศอาเซียน ชอื่ ประเทศ ชื่อสกลุ เงิน อกั ษรยอ่ สกุลเงนิ บรไู น ดอลลาร์บรูไน (Brunei Dollar) BND กัมพชู า เรยี ล (Cambodia Riel) KHR อนิ โดนเี ซยี รเู ปยี ห์ (Indonesian Rupiah) IDR ลาว กบี (Lao Kip) LAK มาเลเซยี ริงกติ (Malaysian Ringgit) MYR เมยี นมา จัต (Myanmar Kyat) MMK ฟิลปิ ปนิ ส์ เปโซ (Philippine Peso) PHP สิงคโปร์ ดอลลาร์สงิ คโปร์ (Singapore Dollar) SGD ไทย บาท (Thai Baht) THB เวยี ดนาม ดอง (Vietnam Dong) VND ซ่งึ ค่าของเงนิ ในแตล่ ะสกุลจะไม่เท่ากัน จงึ ตอ้ งมีการกาหนดอตั ราแลกเปลี่ยนขน้ึ อัตราแลกเปล่ยี น หมายถงึ ราคาของเงินตราสกลุ หนึง่ เม่ือเทียบกับเงินตราอีกสกุลหนึง่ เช่น 1 USD เท่ากับ 31 บาท หมายถึง เงินบาทจานวน 31 บาท แลกเป็นเงิน ดอลลาร์สหรฐั ได้ 1 ดอลลาร์สหรฐั 1 EUR เท่ากับ 42 บาท หมายถึง เงินบาทจานวน 42 บาท แลกเป็นเงินยูโรได้ 1 ยูโร อัตราแลกเปล่ยี นไมไ่ ด้คงท่แี ตม่ ีการเปล่ียนแปลงข้ึนลงอยู่เสมอในแต่ละช่วงเวลา ตามปจั จยั ที่มผี ลกระทบ เช่น ภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศ เศรษฐกิจโลก ภาวะตลาดการเงนิ กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 2 ประเภทของเงิน (ให้ผ้เู รยี นไปทากจิ กรรมเรอ่ื งท่ี 2 ทีส่ มดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรยี นร)ู้ ชดุ วิชาการเงินเพื่อชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงนิ
17 เรือ่ งท่ี 3 การฝากเงิน และการประกนั ภัย การฝากเงิน เมื่อได้รับเงินจากแหล่งต่าง ๆ เช่น รายได้จากการประกอบอาชีพ สิ่งที่ควรทา คือ แบง่ เงนิ บางสว่ นไปเก็บออมเพื่อวตั ถปุ ระสงค์ต่าง ๆ เช่น ไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เป็นค่าใช้จ่ายหลัง เกษียณหรือเลิกทางาน การมองหาสถานท่ีเก็บรักษาเงินจึงเป็นเรื่องจาเป็น โดยแหล่งเก็บเงิน ที่นิยมกันคือการฝากเงินไว้กับธนาคาร ซ่ึงนอกจากมีความปลอดภัยกว่าการเก็บเงินสดไว้กับตัว หรือไว้ที่บ้านแล้ว การฝากเงินไว้กับธนาคารยังทาให้ได้รับผลตอบแทนในรูปของดอกเบ้ีย เงินฝากดว้ ย อย่างไรก็ดี การจะได้รับดอกเบี้ยมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่าเป็นบัญชีเงินฝาก ประเภทใด มีเงื่อนไขอย่างไร เราจึงจาเป็นต้องรู้จักบัญชีเงินฝากแต่ละประเภท เพื่อเลือกบัญชี ที่เหมาะสมและตรงกบั ความตอ้ งการของเรามากทส่ี ุด โดยปัจจุบันบัญชีเงินฝากท่ีรู้จักและใช้กัน มาก เช่น บญั ชเี งินฝากออมทรัพย์ บญั ชเี งินฝากประจา และบัญชีเงนิ ฝากกระแสรายวนั ประเภทของบญั ชีเงนิ ฝาก 1. บัญชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ ลักษณะ สามารถฝากหรือถอนเงนิ เมื่อไหรก่ ็ได้ กาหนดจานวนเงนิ ฝากข้ันตา่ ไวไ้ ม่สงู นัก เช่น 100 - 1,000 บาท จ่ายดอกเบี้ยใหป้ ลี ะ 2 ครัง้ ในเดอื นมิถนุ ายนและธนั วาคมของทุกปี ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงิน
18 ประโยชน์ ถ้าดอกเบี้ยรับไม่เกิน 20,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี 15% ของดอกเบี้ย ที่ได้รบั (รวมรับจากทุกสถาบันการเงินใน 1 ปี) ถ้าเกิน 20,000 บาท ธนาคารจะหักภาษี ณ ที่จ่าย ไวเ้ ลยจากบญั ชีเงินฝาก มีบริการบัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิต สาหรับใช้ถอนหรือโอนเงินที่เครื่อง เอทีเอ็มได้สะดวก (บัตรเดบิตยังสามารถใช้ชาระค่าสินค้าและบริการได้ด้วย) แต่หากต้องการ เปิดบญั ชเี พียงอย่างเดียวก็สามารถทาได้โดยไมจ่ าเป็นต้องทาบตั รใด ๆ ขอ้ จากดั อตั ราดอกเบยี้ คอ่ นขา้ งต่า มีค่าธรรมเนียมกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหวและมียอดเงินฝาก คงเหลอื นอ้ ยกว่าทกี่ าหนด กรณีทาบัตรเอทีเอ็มและบัตรเดบิตมักจะต้องเสียค่าทาบัตรและ ค่าธรรมเนียมรายปี บัญชนี ีเ้ หมาะกับใคร ผูท้ ใ่ี ช้บริการรับโอนเงนิ เดอื นหรอื คา่ จา้ ง หรอื คา่ สินคา้ ผู้ท่ีเบิกถอนบ่อยคร้ัง หรือใช้บริการหักบัญชีเพ่ือชาระค่าใช้จ่าย รายเดอื น เช่น คา่ น้า คา่ ไฟ คา่ บัตรเครดิต และค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ ผู้ที่ต้องการออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เนื่องจากถอนได้สะดวก (ถอนได้ หลายช่องทางและถอนเมอ่ื ใดกไ็ ด้) นอกจากนี้ บางธนาคารมีบัญชีเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ ซึ่งให้อัตราดอกเบ้ีย ทส่ี งู กวา่ บัญชีเงนิ ฝากออมทรัพย์ แต่จะมีเง่ือนไขท่ีเพ่ิมขึ้นด้วย เช่น เงินฝากขั้นต่า 10,000 บาท ถอนได้ไม่เกิน 2 คร้ังต่อเดือน หากถอนตั้งแต่คร้ังที่ 3 เป็นต้นไปในเดือนน้ันจะถูกคิด ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเรือ่ งของเงนิ
19 ค่าธรรมเนียมคร้ังละ 500 บาท ซึ่งบัญชีในลักษณะน้ีเหมาะกับการออมเงินมากกว่าท่ีจะใช้เป็น บัญชีเพอ่ื ชาระค่าใช้จา่ ย คาแนะนา 1. ควรทารายการฝาก ถอน หรือโอนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพ่ือหลีกเล่ียง การถูกคิดค่าธรรมเนียมรักษาบัญชีกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหว และมียอดเงินฝากคงเหลือ น้อยกวา่ ทีก่ าหนด 2. ปรับสมุดบัญชีอย่างสม่าเสมอเพ่ือดูว่ามีเงินคงเหลือในบัญชีเพียงพอ สาหรบั การหกั บัญชีหรือเง่อื นไขต่าง ๆ ที่กาหนดหรือไม่ เช่น ค่าใช้จ่ายท่ีจะถูกตัดออกจากบัญชี ยอดเงินข้ันต่าที่ธนาคารกาหนด เพื่อไม่ให้พลาดการชาระเงินหรือมีเงินไม่พอที่จะชาระซ่ึงอาจ ทาให้ต้องเสยี คา่ ใช้จ่ายเพ่ิมเติม 3. หากไม่มีความจาเป็นต้องใช้บัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิตควรแจ้งยกเลิก บตั ร หรอื แจ้งเจา้ หน้าที่ว่าไม่ตอ้ งการทาบัตร จะชว่ ยประหยัดคา่ ธรรมเนยี มที่ไมจ่ าเป็นได้ 2. บัญชีเงนิ ฝากประจา มีหลายรปู แบบ เช่น 2.1 บญั ชีเงนิ ฝากประจาทว่ั ไป ลักษณะ มรี ะยะเวลาการฝากหลายแบบ เชน่ 3 เดอื น 6 เดอื น 12 เดอื น ส่วนใหญ่จะกาหนดจานวนเงนิ ฝากขน้ั ตา่ ไวป้ ระมาณ 1,000 บาท การจ่ายดอกเบี้ย แล้วแต่เง่ือนไขธนาคาร เช่น บัญชี 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือน จ่ายดอกเบี้ยเม่ือครบกาหนด บัญชี 24 เดือน และ 36 เดือน จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน โดยอาจจะนาดอกเบี้ยที่ได้มาฝากเข้าบัญชีเงินฝากประจา (ทบต้น) หรืออาจจะโอน ดอกเบี้ยเงินฝากเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซึ่งธนาคารจะแจ้งให้ทราบ ตง้ั แตต่ อนเปิดบญั ชีกับธนาคาร ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าดว้ ยเร่ืองของเงิน
20 กรณีถอนก่อนครบกาหนด อาจไม่ได้รับดอกเบ้ีย หรือได้รับใน อัตราดอกเบีย้ เงินฝากออมทรัพย์ เช่น ธนาคารอาจกาหนดว่าหากเลือกฝากประจา 6 เดือน แต่ ฝากยังไม่ถึง 3 เดือนแล้วต้องการถอนออกมา จะไม่ได้รับดอกเบ้ีย หรือถอนหลัง 3 เดือน ไปแล้ว แต่ยังไม่ครบกาหนด 6 เดือน จะได้รับดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ พร้อมทั้ง ถูกหกั ภาษี ณ ที่จา่ ย นอกจากนี้ บางธนาคารมีรูปแบบการฝากประจาแบบพิเศษ เช่น ให้เลือก ระยะเวลาการฝากได้ตามที่สะดวก กาหนดระยะการฝากเป็นจานวนวัน (เช่น 99 วัน) หรือจ่าย ดอกเบ้ียเงินฝากตั้งแต่วันแรกที่ผู้ฝากเปิดบัญชี โดยอาจมีเงื่อนไขที่กาหนดจานวนเงินฝากที่ คอ่ นขา้ งสงู เช่น 100,000 บาทข้ึนไป บญั ชนี เ้ี หมาะกับใคร ผู้ท่ตี อ้ งการเกบ็ ออมเพอื่ เพิ่มรายได้จากดอกเบีย้ ผู้ท่ีมีเงินก้อนและไม่มีความจาเป็นท่ีจะใช้เงินที่ออมไว้ในช่วง ระยะเวลาหน่งึ 2.2 บัญชเี งินฝากประจาแบบปลอดภาษี ลักษณะ เป็นบญั ชเี งนิ ฝากประจาท่ไี ด้รบั ยกเว้นภาษี แตเ่ ปิดไดเ้ พียงบญั ชีเดยี ว ตามเกณฑ์สรรพากรไม่ได้มีการกาหนดจานวนเงินฝากข้ันต่าไว้ แต่มี เพดานฝากสูงสุดอยู่ที่ 25,000 บาทต่อเดือน และเม่ือรวมจานวนเงินท่ีฝากทุกเดือนแล้วต้อง ไม่เกิน 600,000 บาท ซึ่งต้องฝากต่อเน่ืองในจานวนที่เท่ากันทุก ๆ เดือน เดือนละ 1 คร้ัง เป็น เวลาไม่นอ้ ยกวา่ 24 เดือน หากเงินฝากครบกาหนด บางธนาคารจะโอนเงินต้นและดอกเบี้ย เขา้ บญั ชอี อมทรัพย์หรอื บญั ชกี ระแสรายวันตามท่ีลูกค้าแจ้งความประสงค์ไว้ตอนเปิดบัญชี หรือ ชุดวิชาการเงินเพื่อชวี ติ 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงิน
21 บางกรณีหากลูกค้าไม่ได้ถอนเงินออก ธนาคารก็อาจเปลี่ยนประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจาให้ อตั โนมัติโดยมเี งื่อนไขการฝากเงินและอัตราดอกเบีย้ ตามประกาศของธนาคารทใ่ี ชอ้ ยู่ในขณะนนั้ ในระหว่างระยะเวลาการฝาก ขาดฝากได้ไม่เกิน 2 คร้ัง และยังคง ต้องฝากใหค้ รบตามวงเงินทีก่ าหนด กรณีถอนก่อนครบกาหนด ส่วนใหญ่มักกาหนดว่าหากฝากไม่ถึง 3 เดอื น จะไม่ได้รบั ดอกเบยี้ หากถอนหลังจาก 3 เดือนไปแล้วจะได้รับในอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก ออมทรพั ย์ พรอ้ มท้งั ถกู หกั ภาษี ณ ทจี่ า่ ย จ่ายดอกเบ้ียเมื่อครบกาหนดระยะเวลาการฝาก โดยท่ัวไปจะโอน ดอกเบีย้ ไปยงั บญั ชีเงินฝากออมทรพั ยห์ รอื กระแสรายวนั ประโยชน์ ไดร้ ับอตั ราดอกเบ้ียเงนิ ฝากสงู กว่าบัญชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ ได้ฝึกวนิ ยั การออม (ตอ้ งนาเงินไปฝากทกุ เดอื น เดือนละเทา่ ๆ กัน) ดอกเบี้ยทไ่ี ด้รับไมต่ อ้ งเสยี ภาษี ข้อจากัด มีข้อจากัดและเง่ือนไขในการถอน เช่น หากมีการถอนก่อน ระยะเวลาทกี่ าหนดไว้อาจไม่ได้รบั ดอกเบ้ีย และไม่ได้รับสิทธิยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จา่ ย 15% บญั ชนี ้ีเหมาะกบั ใคร ผูท้ ่ตี ้องการสร้างวนิ ยั การออม และเพิม่ รายได้จากดอกเบย้ี ผู้ที่ไม่มีความจาเป็นที่จะใช้เงินที่ออมไว้ในช่วงระยะเวลาหน่ึง (อยา่ งนอ้ ย 2 ปี) คาแนะนา ผู้สนใจจะฝากเงินในบัญชีเงินฝากประจาทั้ง 2 ประเภทน้ี ควรศึกษา เงื่อนไขการฝากและถอนเงินให้เข้าใจ และต้องมั่นใจว่ายังไม่มีความจาเป็นต้องใช้เงินในระหว่าง ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงนิ
22 ท่ีฝากเงินไว้กับธนาคาร เพ่ือป้องกันปัญหาการไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไขและทาให้ไม่ได้รับดอกเบ้ีย ตามท่ีกาหนด 3. บญั ชเี งินฝากแบบขั้นบนั ได ลักษณะ จานวนเงินฝากข้ันต่า ส่วนใหญ่มักจะสูงกว่าบัญชีเงินฝากประจาท่ัวไป เชน่ ไม่น้อยกวา่ 5,000 บาท กาหนดการจ่ายดอกเบี้ยขน้ึ อยู่กบั เงือ่ นไขของธนาคาร เช่น จ่ายดอกเบี้ย ทกุ เดอื น โดยจะโอนดอกเบี้ยเงินฝากเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซึ่งธนาคาร จะแจ้งใหท้ ราบตัง้ แต่ตอนเปิดบญั ชีกับธนาคาร มกั จงู ใจผู้ฝากด้วยการโฆษณาวา่ ใหอ้ ัตราดอกเบย้ี สงู มาก แต่ในความจริง แล้ว มักเป็นเพียงช่วงเวลาส้ัน ๆ (ส่วนใหญ่จะสูงมากเฉพาะเดือนสุดท้าย) และในแต่ละช่วงเวลา การฝากดอกเบีย้ จะคอ่ ย ๆ เพ่มิ สูงข้นึ อาทิ เดอื นที่ 1 - 5 อตั ราดอกเบี้ย 1% เดือนที่ 6 - 7 อตั ราดอกเบ้ีย 1.7% เดือนท่ี 8 - 9 อัตราดอกเบี้ย 1.9% เดือนท่ี 10 อตั ราดอกเบี้ย 8% ดังน้ัน ผู้สนใจฝากต้องมองหาอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยต่อปีของท้ังโครงการ ท่ีธนาคารต้องเขียนไว้ในใบโฆษณา หรือสอบถามจากเจ้าหน้าที่ธนาคารเพิ่มเติมเพื่อ ขอรายละเอียดท่ีชัดเจน หากเงินฝากครบกาหนด แล้วไม่ได้ถอนเงินออก ธนาคารมักจะเปลี่ยน ประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจาให้อัตโนมัติโดยมีเงื่อนไขการฝากเงินและอัตราดอกเบี้ยตาม ประกาศของธนาคารท่ีใชอ้ ยู่ในขณะนัน้ ข้อกาหนดในเร่ืองถอนก่อนครบกาหนดมีหลายรูปแบบ อาทิ อาจต้อง ปิดบัญชีเลย หรือต้องถอนทั้งจานวนของแต่ละยอดการฝาก เช่น ฝากคร้ังแรก 10,000 บาท คร้ังท่ี 2 ฝาก 20,000 บาท หากต้องการถอนเงินที่ฝากไว้จะต้องถอนเงินท่ียอด 10,000 บาท หรอื 20,000 บาท เทา่ น้ัน ไม่สามารถถอนบางส่วนได้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงิน
23 สาหรับเร่ืองดอกเบี้ย ผู้ฝากที่ถอนก่อนครบกาหนดอาจได้ดอกเบี้ยตาม อัตราท่ีกาหนดไว้ในแต่ละช่วงระยะเวลาการฝาก หรืออาจไม่ได้ดอกเบ้ีย หรือได้รับอัตรา ดอกเบ้ยี เงนิ ฝากออมทรัพย์ ข้นึ อยูก่ ับเงอื่ นไขท่ธี นาคารกาหนด ขอ้ จากัด ให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสูงกว่าเงินฝากออมทรัพย์ แต่ส่วนใหญ่มักอยู่ ในรูปแบบของบัญชีเงนิ ฝากประจาจึงจะถกู หักภาษี ณ ท่ีจ่าย 15% ของดอกเบีย้ ท่ีไดร้ ับ มีข้อจากัดและเง่ือนไขในการถอน เช่น กรณีการถอนก่อนครบกาหนด (อย่างท่ีกล่าวไปแลว้ ) บญั ชีน้ีเหมาะกับใคร ผู้ทตี่ ้องการเก็บออมเพอื่ เพ่มิ รายไดจ้ ากดอกเบี้ย ผทู้ ี่มีเงนิ ก้อนและไมม่ คี วามจาเป็นท่ีจะใช้เงินในชว่ งระยะเวลาหน่ึง ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงนิ
24 ข้อแนะนาการเลอื กประเภทบญั ชเี งนิ ฝาก เมอื่ ได้ประเภทบัญชีท่ีต้องการแล้ว ให้หาข้อมูลบัญชีประเภทเดียวกันจากหลาย ๆ ธนาคาร เพือ่ นามาเปรยี บเทียบ ซ่ึงสามารถหาข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของธนาคารแต่ละแห่ง หรือ แผ่นพับหรือโฆษณาท่ีธนาคารเผยแพร่ อย่างไรก็ตาม ควรดูประกาศอัตราดอกเบ้ียเงินฝากของ ธนาคารประกอบด้วย เน่ืองจากจะมีการระบุรายละเอียดและเง่ือนไขในการจ่ายดอกเบี้ยต่าง ๆ ในส่วนท้ายของประกาศ โดยข้อมลู ท่ีควรนามาเปรียบเทยี บมดี งั น้ี 1. อัตราดอกเบี้ย ไม่ควรดูเฉพาะในใบโฆษณา แต่ควรดูจากประกาศอัตรา ดอกเบ้ียในเวบ็ ไซตข์ องธนาคารท่ีเราสนใจจะนาเงนิ ไปฝากด้วย เพ่อื ให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน 2. ระยะเวลาการฝาก ต้องมน่ั ใจว่าสามารถฝากได้ตามระยะเวลาท่ีเป็นเง่ือนไข ของบญั ชนี นั้ 3. เงินฝากขั้นต่า และเง่ือนไขการฝาก เช่น ต้องฝากต่อเน่ืองทุกเดือนหรือไม่ และที่สาคัญควรดูความสามารถในการฝากของตนเองด้วย เพราะหากเป็นเงินฝากที่ให้อัตรา ดอกเบีย้ สงู ก็มักจะกาหนดจานวนเงินฝากข้นั ต่าไวส้ ูงเช่นกัน 4. วิธีการจ่ายดอกเบ้ีย หากเป็นบัญชีออมทรัพย์ท่ัวไป ธนาคารจะนาดอกเบ้ีย เข้าบัญชีเงินฝากไปสมทบกับเงินต้นให้ แต่หากเป็นบัญชีเงินฝากประจาบางประเภท ธนาคาร อาจจะโอนดอกเบี้ยเข้าบัญชีออมทรัพย์หรือบัญชีกระแสรายวันตามที่ได้แจ้งให้ลูกค้าทราบตอน เปิดบัญชี ซ่ึงการจ่ายดอกเบ้ียจะมีท้ังจ่ายเม่ือครบกาหนดระยะเวลาการฝาก หรือจ่ายดอกเบ้ีย ทกุ 3 เดือน 5. เง่ือนไขเก่ียวกับภาษี ดอกเบ้ียจะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% หรือไม่ เพราะ หากเสยี ภาษี อตั ราดอกเบ้ยี ทจี่ ะไดร้ ับก็จะน้อยกวา่ ทธ่ี นาคารประกาศไว้ 6. เงื่อนไขการใช้บริการ ฝาก ถอน โอน หรือเง่ือนไขกรณีการถอนก่อนครบ ระยะเวลา หรือการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เช่น กรณีบัญชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหวหรือมียอดเงิน ในบญั ชีต่ากวา่ ท่ีกาหนดจะถูกเรียกเกบ็ คา่ ธรรมเนยี มรักษาบญั ชี หรอื กรณมี ีเงอื่ นไขเรื่องจานวน ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าด้วยเรื่องของเงนิ
25 คร้ังการถอน เช่น ถอนได้เพียง 2 คร้ังต่อเดือน หากถอนตั้งแต่ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป จะเสีย คา่ ธรรมเนยี มการถอนคร้ังละ 500 บาท ดอกเบยี้ เงินฝาก ดอกเบ้ียเงินฝาก หมายถึง ผลตอบแทนท่ีผู้ฝากเงินจะได้รับจากการนาเงินไป ฝากไวก้ บั สถาบนั การเงนิ โดยทั่วไปแต่ละสถาบันการเงินจะกาหนดเป็นอัตราดอกเบี้ยต่อปี เช่น 3% ต่อปี อย่างไรก็ดี แต่ละสถาบันการเงินจะมีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยที่แตกต่างกันไป จึงควรศึกษารายละเอียดอัตราดอกเบ้ียตลอดจนเงื่อนไขอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องเพื่อหาข้อมูล และ เปรียบเทียบ เพ่ือเลือกฝากเงินกับสถาบันการเงินท่ีให้อัตราดอกเบี้ยสูงภายใต้เง่ือนไขท่ีผู้ฝากรับ ได้ เชน่ ระยะเวลาการฝาก เง่ือนไขการเบิกถอน โดยสามารถดูรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ของ สถาบันการเงนิ นัน้ ๆ หรือจากประกาศอตั ราดอกเบยี้ ทจี่ ะตดิ ไว้ ณ ทท่ี าการของสถาบนั การเงิน สูตรคานวณดอกเบย้ี เงนิ ฝาก * จานวนวันใน 1 ปีขึ้นกับการกาหนดของสถาบันการเงิน ซึ่งอาจเป็น 360 วัน 365 วัน หรือ 366 วันก็ได้ แต่ไม่ว่าจะ กาหนดจานวนวันเป็นเท่าใดก็ตาม สถาบันการเงินจะต้องใช้จานวนวันเดียวกันสาหรับการคานวณท้ังดอกเบ้ียจ่าย เช่น เงนิ ฝาก และดอกเบย้ี รับ เชน่ สนิ เชือ่ กรณีดอกเบยี้ เงินฝากที่ต้องเสียภาษี ดอกเบ้ียเงินฝากที่ต้องเสียภาษี ณ ที่จ่าย ต้องนาอัตราดอกเบี้ยท่ีได้รับหักภาษี ณ ท่ีจ่ายออกก่อน จึงจะรู้ว่าอัตราดอกเบ้ียหลังหักภาษี ณ ที่จ่ายแล้ว จะได้รับในอัตราเท่าไร มีวิธีคดิ ดังนี้ ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าดว้ ยเร่ืองของเงนิ
26 วิธกี ารหาอัตราดอกเบีย้ หลังหกั ภาษี ณ ท่ีจา่ ย อัตราดอกเบ้ียหลงั หกั ภาษี ณ ท่จี ่าย = อตั ราดอกเบี้ย x 0.85 (เนอื่ งจากถกู หกั ภาษไี ป 15%) สลากออมทรพั ย/์ สลากออมสนิ เป็นทางเลือกการออมอย่างหนึ่งของผู้ท่ีชอบลุ้นรางวัล แม้จะให้ผลตอบแทน ไม่สูงนัก (หากไม่ถูกรางวัล) แต่จะได้เงินต้นคืนเต็มจานวนเมื่อครบกาหนด ซ่ึงแตกต่างจากการ ซื้อหวย หรือสลากกินแบ่งรัฐบาล สถาบันการเงินที่ออกสลากในปัจจุบัน3เป็นสถาบันการเงิน เฉพาะกจิ ของรฐั ลกั ษณะของสลากออมทรัพย์/สลากออมสนิ คือ ขายเป็นจานวนหน่วยและมีการ กาหนดอายทุ ีแ่ น่นอน (เชน่ อายุ 3 ปี หรอื 5 ปี) และมกั มกี ารจ่ายดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทนหาก ถือจนครบตามเกณฑ์ท่ีผู้ออกสลากกาหนด ผู้ซ้ือสลากสามารถลุ้นรางวัลได้ทุกงวดจนกว่าสลาก จะหมดอายุ แต่กอ็ าจมสี ลากบางรุ่นซ่งึ หากถอนก่อนครบกาหนดอาจไดค้ ืนเงินต้นน้อยกว่าที่จ่าย ไป หรอื มีบริการพิเศษท่ีสามารถใช้สลากคา้ ประกันการกเู้ งนิ ไดด้ ว้ ย ท้ังน้ี เม่ือซ้ือสลาก สถาบันการเงินที่ออกสลากมักแนะนาให้เปิดบัญชีเงินฝาก ออมทรพั ยค์ กู่ นั เพือ่ เปน็ บญั ชเี งนิ ฝากสาหรบั การรับเงนิ หากถกู รางวัล ข้อจากัด 1. เงินที่นามาซ้ือสลากออมทรัพย์ควรจะเป็นเงินเย็น หรือเป็นเงินที่ไม่ต้องการ ใชต้ ลอดอายขุ องสลาก เพราะหากถอนสลากกอ่ นกาหนด อาจไดร้ บั เงนิ คนื นอ้ ยกว่าจานวนท่ีซอื้ 2. ควรศึกษาเงือ่ นไขใหล้ ะเอียดกอ่ นซอื้ 3. เมื่อได้สลากมาควรตรวจสอบความถกู ต้องทกุ ครง้ั เช่น ชือ่ นามสกุล จานวน หนว่ ย จานวนเงินทีซ่ อ้ื 3 ขอ้ มลู ณ มถิ ุนายน 2559 ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 1 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงิน
27 4. ควรเก็บรกั ษาสลากให้ดี หากทาหายตอ้ งไปแจง้ ความ และตดิ ต่อขอทาสลาก ใหม่ซึง่ จะมคี า่ ธรรมเนยี มในการออกสลากใหม่ดว้ ย 5. ควรพิจารณาและเปรียบเทียบผลตอบแทนของสลากแต่ละประเภท หรือ แตล่ ะรุ่นกอ่ นตัดสนิ ใจซอ้ื การค้มุ ครองเงนิ ฝาก เปน็ การคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ฝากเงินไว้กับสถาบันการเงิน ซ่ึงเป็น ระบบสากลท่ีประเทศต่าง ๆ นามาใช้มากกว่า 100 ประเทศ โดยการกาหนดวงเงินท่ีรับรองว่า ผฝู้ ากจะได้รบั คืนเป็นจานวนทแ่ี น่นอนภายในระยะเวลาทกี่ าหนดโดยเร็วหากสถาบันการเงิน ถกู ปดิ กิจการ สาหรับเงินฝากสว่ นท่เี กนิ วงเงินดังกล่าว ผู้ฝากมีโอกาสได้รับเพิ่มเติมหลังจากการ ขายสนิ ทรพั ยแ์ ละชาระบัญชีสถาบนั การเงินนน้ั แล้ว การคุ้มครองเงนิ ฝากในประเทศไทย ในอดีตหากสถาบันการเงินถูกปิดกิจการ ผู้ฝากเงินจะต้องไปดาเนินการฟ้องร้อง เพ่ือให้ได้รับเงินฝากคืนเอง ซ่ึงไม่มีความแน่นอนว่าจะได้รับเงินคืนหรือไม่ จะได้รับเงินคืนเม่ือใด และจานวนเท่าไร ดังน้ัน ภาครัฐจึงได้จัดให้มีระบบคุ้มครองเงินฝากข้ึน เพ่ือช่วยเหลือประชาชน ผู้ฝากเงินใหไ้ ดร้ ับเงินฝากคืนภายในเวลาท่ีรวดเร็วหากสถาบนั การเงนิ ถูกปดิ กิจการ ซ่ึงการมีระบบ คุ้มครองเงินฝากจะไม่ก่อให้เกิดภาระกับภาครัฐ เน่ืองจากมีการเรียกเก็บเงินนาส่งจากสถาบัน การเงินต่าง ๆ สะสมไว้ใช้ในการจ่ายคืนเงินให้กับประชาชนผู้ฝากเงิน ซึ่งดาเนินการโดยสถาบัน คมุ้ ครองเงนิ ฝาก สถาบันคุ้มครองเงินฝาก เป็นหน่วยงานของรัฐ จัดตั้งข้ึนเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2551 เพ่ือคมุ้ ครองประชาชนผ้ฝู ากเงนิ โดยมหี น้าทีห่ ลกั คอื 1. จ่ายเงินคืนผู้ฝากภายในวงเงินและระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด ในกรณี ที่สถาบนั การเงนิ ทอี่ ยู่ภายใต้การคุ้มครองถกู ปิดกจิ การ ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเรื่องของเงนิ
28 2. ชาระบัญชีสถาบันการเงินท่ีถูกปิดกิจการ เพื่อรวบรวมเงินจากการขาย สินทรัพย์มาชาระคืนให้แก่เจ้าหนี้ของสถาบันการเงินนั้น รวมถึงเงินฝากส่วนที่เกินวงเงิน คุ้มครองด้วย คมุ้ ครองอะไรบ้าง เงินบาทท่ีฝากไว้กับสถาบันการเงินท่ีอยู่ภายใต้การคุ้มครอง (ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) แต่ไม่ครอบคลุมถึงเงินที่ฝากไว้กับสถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรฐั เนื่องจากมกี ฎหมายเฉพาะจดั ตง้ั ขึน้ ท้งั นี้ สถาบนั การเงนิ ท้ังหมดอยู่ภายใต้การ กากับดูแลของกระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย ซ่ึงจะกากับดูแลความม่ันคง อยา่ งใกล้ชดิ และจะปอ้ งกันหรือแก้ไขปญั หาทอ่ี าจเกิดขน้ึ มิใหต้ อ้ งปดิ กิจการโดยงา่ ย เงินฝากท่ไี ด้รับความคุม้ ครอง เงนิ ฝากทไี่ ม่ไดร้ บั การคมุ้ ครอง เงนิ ฝากออมทรัพย์ เงินฝากทเ่ี ปน็ เงนิ ตราต่างประเทศ เงินฝากประจา เงินฝากท่มี อี นพุ นั ธ์แฝง เงินฝากกระแสรายวนั เงนิ ฝากระหว่างสถาบันการเงิน บัตรเงินฝาก เงินฝากในบัญชเี งินบาทของผูม้ ถี ่นิ ท่ีอยู่ ใบรับฝากเงนิ เงนิ ฝากใน “บัญชีรว่ ม” หรอื “บัญชีเพ่อื ” นอกประเทศ (เปน็ ประเภทบญั ชีพิเศษที่ เปิดเพ่อื ทารายการเฉพาะ ตาม พ.ร.บ. ควบคมุ การแลกเปล่ียนเงิน) เงินฝากในสหกรณ์ (เน่ืองจากสหกรณ์ไมไ่ ด้ เปน็ สถาบนั การเงินภายใต้กฎหมาย คมุ้ ครองเงนิ ฝาก) เงินลงทนุ อื่น ๆ เช่น กองทุนรวม หนุ้ กู้ ตว๋ั แลกเงนิ พันธบัตรรัฐบาล สลาก ออมทรพั ย์ (เป็นผลติ ภณั ฑ์อน่ื ทม่ี ใิ ช่ เงินฝาก จึงไม่ได้รบั การคุ้มครอง) ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงิน
29 จานวนเงนิ ท่ไี ด้รับการคุ้มครอง 4 จานวนเงินฝากรวมดอกเบ้ียทจ่ี ะไดร้ ับการคุ้มครองตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด ดังน้ี ระยะเวลา จานวนเงนิ ฝากท่ีคุ้มครอง (ตอ่ รายผู้ฝาก ต่อสถาบนั การเงิน) 11 ส.ค. 2558 – 10 ส.ค. 2559 11 ส.ค. 2559 – 10 ส.ค. 2561 ไม่เกนิ 25 ลา้ นบาท 11 ส.ค. 2561 – 10 ส.ค. 2562 ไม่เกิน 15 ล้านบาท 11 ส.ค. 2562 – 10 ส.ค. 2563 ไม่เกนิ 10 ล้านบาท ไม่เกิน 5 ล้านบาท 11 ส.ค. 2563 เป็นตน้ ไป ไมเ่ กิน 1 ล้านบาท หมายเหตุ: เงินฝากส่วนท่ีเกินความคุ้มครอง จะได้รับคืนเพ่ิมเติมหลังจากการชาระบัญชี สถาบนั การเงนิ ทีป่ ดิ กิจการ การประกันภยั ความหมายและประโยชน์ การทาประกันภัยเป็นการบริหารความเสี่ยงภัยวิธีหนึ่ง ซ่ึงจะโอนความเสี่ยงภัย ของผูเ้ อาประกันภัยไปสูบ่ ริษัทประกันภัย เมื่อเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายจากเหตุการณ์ ไม่คาดฝัน บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามที่ได้รับความคุ้มครองในกรมธรรม์ ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยท่ีผู้เอาประกันภัยจะต้องเสียเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัท ประกนั ภยั ตามท่ีได้ตกลงกันไว้ การประกันภัยจะช่วยสร้างความม่ันคงทางการเงินให้แก่ผู้เอาประกันภัยและ ครอบครัว กล่าวคือ หากเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อส่ิงที่เอาประกันจะไม่ส่ง ผลกระทบต่อฐานะการเงินของผู้เอาประกัน นอกจากน้ี การทาประกันภัยยังช่วยให้ 4 ขอ้ มูลน้อี าจมกี ารปรับเปลีย่ นในอนาคต ดังนัน้ ควรสอบถามรายละเอียดเพมิ่ เติมได้ท่ี สถาบันคมุ้ ครองเงนิ ฝาก โทร. 1158 เว็บไซต์ www.dpa.or.th ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ
30 ผู้เอาประกันภัยคลายความกังวลกับส่ิงท่ีเหนือการควบคุมหรือคาดเดาได้ยากว่าในอนาคตจะ เกิดอะไรขึ้นบ้าง เช่น การทาประกันชีวิต โดยหากผู้เอาประกันเกิดเสียชีวิตขึ้นมาในขณะที่ ยังมีภาระดูแลครอบครัว ผู้ที่อยู่ข้างหลังจะได้รับค่าสินไหมทดแทนในฐานะผู้รับประโยชน์ตามท่ี ผเู้ อาประกนั ภยั ไดต้ กลงไวก้ ับบรษิ ทั ประกนั ภยั หลกั การพจิ ารณาความจาเปน็ ในการทาประกนั ภัย อย่างไรก็ตาม ไม่จาเป็นว่าทุกคนต้องทาประกันภัยเสมอไป หากตัวเราเอง สามารถรับความเส่ียงหรือมีแผนการรองรับท่ีดีก็ไม่จาเป็นต้องทาประกันภัย โดยมีหลักในการ พิจารณาวา่ จาเป็นต้องทาประกันภัยหรอื ไมด่ ังน้ี 1. ภาระรับผิดชอบท่ีมี หากเราเป็นเสาหลักทางการเงินของครอบครัว เช่น เป็นคนดูแลค่าใช้จ่ายของทุกคนในบ้าน หรือมีภาระหนี้ท่ีต้องรับผิดชอบ ถ้าเกิดปัญหากับเรา จนไม่สามารถดูแลครอบครัวได้ เช่น เจ็บป่วยหนัก เกิดอุบัติเหตุรุนแรง หรือเสียชีวิต จะสร้าง ภาระให้แก่คนท่ีอยู่เบ้ืองหลังมากน้อยแค่ไหน เรามีแผนการรองรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นแล้ว หรือไม่ (ถ้าเรามีเงินเก็บมากพอ มีทรัพย์สินที่ปลอดภาระแล้ว การเสียชีวิตของเราไม่ทาให้ผู้ท่ี อยเู่ บื้องหลงั เดอื ดรอ้ น ประกันภัยกอ็ าจไมจ่ าเป็นสาหรับเรา) 2. โอกาสความเป็นไปได้ที่จะเกิดความเสี่ยงหรือประกอบอาชีพที่มีความเส่ียง เช่น ต้องอยู่ในเขตก่อสร้าง ผลิตสารเคมี หรือเดินทางบ่อย ย่อมมีความเส่ียงมากกว่าผู้ที่ทางาน ในออฟฟศิ ในกรณีนี้กค็ วรทาประกนั ภัย ในการประกันภัยจะมีบคุ คลทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 3 ฝ่าย คือ ผ้รู ับประกนั ภยั คอื บริษทั ทีป่ ระกอบธรุ กิจประกนั ภยั ผู้เอาประกันภัย คือ บุคคลที่ต้องการจะทาประกันภัยและมีหน้าที่จ่าย เบี้ยประกนั ภัยให้แกผ่ ู้รับประกนั ภัย ผูร้ ับประโยชน์ คอื คนท่จี ะไดร้ ับสินไหมทดแทนตามที่ผู้เอาประกันภัยระบุไว้ โดยผูเ้ อาประกนั ภยั กับผ้รู ับประโยชน์อาจเปน็ คนคนเดียวกันได้ ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงิน
31 รปู แบบประกนั ภัย ก่อนซ้ือประกันภัย ผู้เอาประกันภัยควรศึกษาทาความเข้าใจ เปรียบเทียบ รูปแบบ ความคุ้มครอง และเบี้ยประกันภัยของการประกันภัยก่อน เพ่ือให้ได้รับแบบประกันภัย ที่มีความเหมาะสม ตรงตามความต้องการมากท่ีสุด ซึ่งสามารถแบ่งประกันภัยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ (1) ประกันชีวิต (2) ประกันวินาศภัย โดยแต่ละประเภทก็ยังมีรูปแบบ การประกันภัยที่จาแนกย่อยอีก 1. ประกันชีวิต เป็นสัญญาระหว่างผู้รับประกันภัย (บริษัทประกันชีวิต) กับ ผู้เอาประกันภัย โดยเรียกสัญญาดังกล่าวว่ากรมธรรม์ประกันชีวิต ซึ่งกาหนดให้ผู้เอาประกันภัย ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเรือ่ งของเงิน
32 ต้องจ่ายเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัทประกันชีวิต หากผู้เอาประกันภัยเกิดเสียชีวิตขณะที่ กรมธรรม์มีผลบังคับ (ยังอยู่ในระยะเวลาการคุ้มครอง) ภายใต้เง่ือนไขในกรมธรรม์ เช่น การ เสียชีวิตท่ีไม่ใช่การฆ่าตัวตาย บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินจานวนหนึ่งให้กับผู้รับผลประโยชน์ เรียกวา่ เงนิ สินไหม การประกันชีวิตมีหลายรูปแบบ ซ่ึงแต่ละแบบก็จะแตกต่างกันไปตาม ลักษณะความค้มุ ครองและผลประโยชน์ เชน่ ประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองการเสียชีวิต ก่อนวัยอันสมควร ผู้เอาประกันภัยจะจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์เมื่อ ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต เบย้ี ประกันภัยตา่ กวา่ แบบอน่ื ๆ ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือคุ้มครองการเสียชีวิต และการออมทรัพย์ บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายจานวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย เม่ือมีชีวิตอยคู่ รบกาหนดสัญญา หรือจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์เม่ือผู้เอาประกันภัย เสียชีวิตลงภายในระยะเวลาเอาประกันภัย โดยในส่วนของการออมทรัพย์ ผู้เอาประกันภัยจะ ไดร้ บั เงนิ คืนในระหวา่ งสญั ญาหรอื เม่อื สัญญาครบกาหนด เบย้ี ประกันชีวติ จะแตกต่างกันไปตามประเภทของประกันที่ทา เช่น ถ้าเป็นประกันชีวิต แบบสะสมทรพั ย์ คา่ เบ้ยี ประกันภัยจะแพงกวา่ แบบอื่น ๆ นอกจากน้ี ข้อมูลของผู้เอาประกันภัย เช่น เพศ อายุ ก็มีผลต่อการคานวณเบยี้ ประกันภัยดว้ ยเช่นกัน 2. ประกันวินาศภัย เป็นการทาประกันภัยเพ่ือให้ความคุ้มครองต่อทรัพย์สิน เช่น ประกันอัคคีภยั ประกันภัยรถยนต์ หากทรัพยส์ นิ ทีไ่ ดร้ ับการคุ้มครองเสยี หาย บริษัทอาจจะ จ่ายเป็นตัวเงิน หรือซ่อมแซม หรือหาของมาทดแทน หรือทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิม ขึ้นอยู่กับ เง่ือนไขที่ได้ตกลงหรอื กาหนดไว้ ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงนิ
33 เบี้ยประกนั วนิ าศภัย ค่าเบ้ียประกันภัยก็จะแตกต่างกันตามระดับความเส่ียงภัย ระยะเวลาที่ คมุ้ ครอง และจานวนเงนิ เอาประกนั ภยั นอกจากน้ี ยงั มีรายละเอียดเพิ่มเตมิ เช่น - เบ้ียประกันอัคคีภัย จะพิจารณาปัจจัยจากสถานที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง ลักษณะของสิ่งปลูกสร้าง คานึงถึงความเสี่ยงภัยท่ีจะเกิด เช่น อยู่ในพื้นท่ีที่มีส่ิงปลูกสร้าง หนาแน่น การเขา้ ถงึ ไดข้ องรถดับเพลิง หรอื สิ่งปลกู สร้างเปน็ ไมห้ รือวสั ดตุ ิดไฟ - เบ้ียประกันภัยรถยนต์ ผู้รับประกันภัยจะพิจารณาจากหลาย ๆ ปัจจัย เช่น อายุ รุ่น ประเภทของรถยนต์ ขนาดของเครื่องยนต์ ประเภทกรมธรรม์ รวมถึงอายุ เพศ ของผ้เู อาประกันภยั ด้วย ร้จู กั ประกนั ภยั รายยอ่ ย กรมธรรมป์ ระกันภยั สาหรับรายย่อยหรอื ไมโครอินชวั รนั ส์ หมายถึง การประกันภัย สาหรบั ผมู้ รี ายได้นอ้ ย-ปานกลาง ซง่ึ มลี กั ษณะท่สี าคัญดงั น้ี เบย้ี ประกันภยั ราคาไม่แพง ความคมุ้ ครองไมซ่ บั ซ้อน เข้าใจงา่ ย การขอรบั เงนิ คา่ สนิ ไหมทดแทนไม่ยงุ่ ยาก ช่องทางการจาหน่ายหลากหลาย เขา้ ถงึ ประชาชนทุกกลุ่ม สามารถเป็นเคร่ืองมือในการรองรับความเส่ียงของประชาชนได้ โดยเฉพาะ ผมู้ ีรายได้นอ้ ย ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชวี ิต 1 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงิน
34 รูปแบบกรมธรรม์ไมโครอนิ ชวั รันส์ ท่ีเสนอขายในปจั จุบัน 1) เสนอขายโดยบริษัทประกันชีวติ แบบการประกันภยั ความคมุ้ ครอง 1) การประกันชีวติ 1.1) แบบชั่วระยะเวลา (1-5 ปี) คุ้มครองการเสียชีวติ ภายในระยะเวลาเอาประกนั ภยั โดยจานวนเงินเอา ประกันภยั คงทตี่ ลอดระยะเวลาเอาประกนั ภัย 1.2) แบบสะสมทรพั ย์ คุม้ ครองการอยู่รอดหรอื เสียชีวิต ภายในระยะเวลาเอาประกันภยั ท้งั น้ี ไม่รวมผลประโยชน์ การคืนเงินระหว่างระยะเวลาเอาประกันภัย 2) สัญญาเพม่ิ เตมิ การประกนั คุ้มครองผลประโยชนช์ ดเชยรายได้ตอ่ วันระหว่างการเขา้ พกั สขุ ภาพ รักษาตวั ในฐานะผู้ป่วยใน เน่อื งจากการเจ็บป่วยหรือ บาดเจบ็ 3) สัญญาเพม่ิ เติมการประกันภยั คุม้ ครองการเสยี ชีวิต สูญเสียอวัยวะ สายตา หรือ อบุ ตั ิเหตสุ ่วนบคุ คล ทพุ พลภาพถาวรส้นิ เชงิ จากอุบตั ิเหตุ ทั้งนี้ เบี้ยประกันภัยไม่เกิน 1,000 บาทต่อปี ยกเว้นกรมธรรม์ประกันชีวิต แบบสะสมทรัพย์ เบี้ยประกนั ภยั ไมเ่ กนิ 500 บาทตอ่ เดอื น 2) เสนอขายโดยบรษิ ัทประกันวนิ าศภัย แบบการประกนั ภัย ความคุม้ ครอง 1) กรมธรรมป์ ระกนั ภยั อบุ ัติเหตุ - การเสยี ชีวติ สูญเสียอวยั วะ สายตา หรือทพุ พลภาพ ส่วนบุคคล + ชดเชยรายได้ ถาวรส้ินเชงิ เนอื่ งจากอบุ ัติเหตุ ระหว่างการเข้าพักรักษาตัวใน - ผลประโยชน์ชดเชยรายไดร้ ะหว่างการเขา้ พักรักษา ฐานะผู้ป่วยใน + คา่ ใช้จ่ายในการ ตัวในฐานะผปู้ ว่ ยใน เน่ืองจากอบุ ตั เิ หตุ จัดการงานศพ - ค่าใช้จา่ ยในการจัดการงานศพ กรณีผู้เอาประกันภัย เสยี ชวี ติ เน่ืองจากการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วย 2) กรมธรรม์ประกนั ภัยสาหรับ คมุ้ ครองไฟไหม้ ฟ้าผ่า ระเบดิ และคา่ เช่าสาหรับทพี่ ัก ที่อยูอ่ าศยั แบบประหยัด อาศยั ชว่ั คราว ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าด้วยเรื่องของเงิน
35 แบบการประกนั ภัย ความคมุ้ ครอง 3) กรมธรรมป์ ระกันภัยพืชผลจาก คุ้มครองความเสียหายของข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์จากภัยแล้ง ภยั แล้ง โดยใช้ดัชนนี ้าฝนและดัชนี ความแหง้ แล้ง สาหรบั ขา้ วโพด คมุ้ ครองความเสยี หายของขา้ วจากภัยแล้ง เลีย้ งสัตว์ 4) กรมธรรมป์ ระกันภัยพืชผล คุม้ ครองความเสียหายของข้าว จากภยั น้าท่วมหรือฝนตก ประเภทภัยแล้ง โดยใชด้ ชั นีน้าฝน หนกั ฝนทง้ิ ช่วง ลมพายุหรอื พายุไตฝ้ นุ่ ภัยอากาศหนาว สาหรับข้าว หรือนา้ คา้ งแข็ง ลูกเหบ็ ไฟไหม้ โดยการใช้การประเมนิ 5) กรมธรรมป์ ระกันภัยข้าวนาปี ความเสียหายแปลงผลผลิต ท้ังน้ี เบี้ยประกันภัยไม่เกิน 1,000 บาทต่อปี ยกเว้นกรมธรรม์ประกันภัย พืชผลจากภัยแล้งโดยใช้ดัชนีน้าฝนและดัชนีความแห้งแล้งสาหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กรมธรรม์ ประกันภัยพชื ผลประเภทภัยแล้งโดยใช้ดัชนีน้าฝนสาหรับข้าว จะกาหนดเบ้ียประกันภัยเป็นร้อยละ ของวงเงินความคมุ้ ครอง นอกจากนี้ ยังมีแบบประกันภัยสาหรับรายย่อยที่เสนอขายได้ทั้งบริษัทประกัน ชีวิตและบริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งถูกออกแบบมาให้เหมาะกับผู้มีรายได้น้อย คือ กรมธรรม์ ประกันภัย 200 สาหรับรายย่อย ลักษณะของกรมธรรมป์ ระกนั ภัย มีระยะเวลาคุ้มครอง 1 ปี สามารถต่ออายุปีถัดไปได้ ให้ความคุ้มครองกรณี เสียชวี ิต การสูญเสยี มือ เท้า สายตา หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิงจากอุบัติเหตุหรือถูกฆาตกรรม รวมถงึ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั งานศพกรณีเสียชวี ติ จากการเจบ็ ป่วย ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงนิ
36 ชอ่ งทางการซื้อกรมธรรม์ประกนั ภยั มีขั้นตอนการซ้ือง่ายเพียงใช้บัตรประชาชนพร้อมชาระเบี้ยประกันภัยเพียง 200 บาท ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะได้รับใบรับรองการประกันภัย และได้รับความคุ้มครองทันที เมื่อซ้ือ ผู้สนใจสามารถติดต่อซื้อได้ตามช่องทางการจาหน่ายต่าง ๆ เช่น บริษัทประกันภัยและ สาขา ตัวแทนประกันชีวิต/ประกันวินาศภัย นายหน้าประกันชีวิต/ประกันวินาศภัย เคาน์เตอร์ เซอร์วสิ ในร้านเซเวน่ อีเลฟเวน่ โบรกเกอร์ประกันภัยในห้างเทสโก้ โลตัส ท่ีทาการไปรษณีย์ โดย ซ้อื ไดค้ นละไมเ่ กิน 2 กรมธรรม์ ข้อแนะนาในการตัดสินใจเลอื กประเภทประกนั ภัย เมื่อเรารู้จักผลิตภัณฑ์ประกันภัยแต่ละประเภทแล้ว ก็อาจทาให้เราอยากจะทา ประกนั ภัยข้ึนมาบ้าง และเพ่อื ใหเ้ ราไดป้ ระกนั ภยั ตามท่ีต้องการ โดยไม่เกินความสามารถในการ จ่ายเบ้ยี ประกันภัย กอ่ นตัดสินใจทาประกนั ภัย เราควรพิจารณาขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ของการทาประกันภัย เป็นส่ิงที่ต้องพิจารณาเป็นอันดับแรก ต้องร้กู อ่ นว่า “เราตอ้ งการทาประกนั ภัยเพอื่ อะไร”เพื่อเลือกไดต้ รงกับความตอ้ งการ เชน่ ต้องการป้องกันความเสี่ยง ควรจะเลือกประกันภัยโดยดูที่การคุ้มครอง เป็นหลัก เช่น ถ้ากังวลว่าครอบครัวจะผ่อนบ้านต่อไม่ไหวหากเราซ่ึงเป็นผู้หารายได้หลักของ ครอบครัวเสียชวี ิตไปกอ่ น ก็ควรเลือกทาประกันคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ ถ้ากังวลว่าจะไม่มีเงินซื้อ รถใหม่ถา้ รถหาย ก็ควรเลือกทาประกนั ภยั รถยนตป์ ระเภท 1 ต้องการทาประกนั ชวี ิตและเนน้ การออมเงนิ ควบคู่ไปดว้ ย อาจจะเลือก ทาประกันภัยแบบสะสมทรัพย์ หรือแบบบานาญท่ีจะจ่ายคืนเงินก้อนครั้งเดียว หรือทยอยคืน อย่างสม่าเสมอหลงั เกษยี ณ ต้องการทาประกันชีวิตเพ่ือให้ลูกหลานไม่ลาบากในอนาคตหาก ตนเองเสียชวี ติ กะทันหนั อาจเลอื กทาประกันชีวิตแบบช่ัวระยะเวลา (Term Insurance) ซ่ึงจะ ให้ความคุ้มครองชีวิตสูงในขณะท่ีจ่ายค่าเบี้ยประกันน้อย (หากเปรียบเทียบกับประกันภัยแบบ ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าดว้ ยเรอื่ งของเงนิ
37 สะสมทรพั ยใ์ นกรณที ีจ่ า่ ยค่าเบยี้ ประกนั ภยั เทา่ กัน) ถ้าผูเ้ อาประกันภัยเสียชีวิตในระยะเวลาที่ทา ประกนั ภยั แบบชวั่ ระยะเวลาจะใหผ้ ลตอบแทนแกผ่ ้รู ับประโยชนม์ ากกว่าแบบสะสมทรัพย์ 2. การเลือกระยะเวลาทาประกันภัยให้ครอบคลุม ผู้ท่ีทาประกันภัยโดยเลือก ระยะเวลาส้ัน แต่เพิ่งคิดอยากจะทาต่อเมื่อสิ้นสุดกรมธรรม์ มักต้องจ่ายเบ้ียประกันภัยแพงกว่า การเลือกระยะเวลายาวตั้งแต่แรก เพราะความเส่ียงของตนเองจะสูงข้ึนตามอายุท่ีมากข้ึนใน กรณีประกันชีวิต หรือในกรณีประกันคุ้มครองวงเงินสินเช่ือหากประกันท่ีทาไม่ครอบคลุมกับ ระยะเวลาผ่อนหน้ี และต่อมามีเหตุเกิดขึ้นหลังจากท่ีประกันภัยหมดสัญญา ผู้ขอสินเช่ือหรือ ลูกหลานกต็ อ้ งเป็นผู้รับผิดชอบภาระหน้นี ้นั เอง 3. ความสามารถในการจ่ายเบี้ยประกันภัย ควรพิจารณาด้วยว่า มีความสามารถในการจ่ายเบ้ียประกันภัยหรือไม่ แม้ว่าต้องการทาประกันภัยให้ครอบคลุม ความเส่ียง แต่หากเกินกาลังในการจ่ายเบี้ยประกันภัย ก็อาจเลือกเงินเอาประกันภัยท่ีจานวน ไมส่ ูงนกั เพอ่ื ทีอ่ ยา่ งน้อยจะไดช้ ่วยแบ่งเบาภาระบางสว่ นหากเกดิ เหตุร้ายขึ้นจรงิ 4. การเปรียบเทียบข้อมูล ควรเปรียบเทียบรายละเอียดความคุ้มครอง ระยะเวลาการคุ้มครอง เบ้ียประกันภัยของบริษัทหลาย ๆ แห่ง เพ่ือเลือกประกันภัยท่ีคุ้มค่า ในราคาที่เหมาะสม เมื่อได้รับกรมธรรม์ประกันภัย ควรอ่านสาระสาคัญของกรมธรรม์ประกันภัย และตรวจสอบความถูกต้อง ได้แก่ 1. ชื่อ - ท่อี ยูข่ องผเู้ อาประกันภยั ทตี่ ั้งของทรัพยส์ นิ 2. ระยะเวลาประกนั ภัย ไดแ้ ก่ วนั ทเี่ ริม่ ตน้ จนถงึ วนั ท่สี ิ้นสดุ 3. ขอ้ มลู ของสิ่งที่เอาประกนั ภยั เชน่ กรณปี ระกันภยั รถยนต์ จะตอ้ งมีข้อมูลของ ชอื่ รนุ่ เลขทะเบียนรถยนต์ ขอ้ มลู เลขตัวถัง เลขเครื่อง ปี รุ่นท่ีผลิต จานวนท่นี ัง่ 4. จานวนเงินเอาประกนั ภัย และรายละเอียดความคมุ้ ครอง 5. เบ้ยี ประกนั ภัยที่ต้องจ่าย ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเร่อื งของเงนิ
38 6. ช่ือผ้รู ับประโยชน์ 7. เงื่อนไขท่ัวไป หรือข้อยกเว้นการคุ้มครอง ในส่วนนี้ควรทาความเข้าใจ รายละเอียดความคุม้ ครองว่าตรงกบั ทต่ี ้องการหรือไม่ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 3 การฝากเงิน และการประกันภยั (ให้ผ้เู รยี นไปทากิจกรรมเรอื่ งที่ 3 ทีส่ มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนร้)ู ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงนิ
39 เรื่องที่ 4 การชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ความหมายและประโยชนข์ องการชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ การชาระเงิน คือ การส่งมอบเงินหรือโอนเงินผ่านช่องทางต่าง ๆ เพ่ือซ้ือสินค้า และบริการ หรือชาระหน้ี โดยสามารถใช้ส่ือการชาระเงินที่เป็นได้ทั้งเงินสดและไม่ใช่เงินสด ในบางคร้ังการชาระเงินอาจทาผ่านคนกลางท่ีเป็นผู้ให้บริการเพื่ออานวยความสะดวก และ รักษาความปลอดภัยของการทารายการ ซึ่งผู้ให้บริการมีท้ังท่ีเป็นสถาบันการเงินและมิใช่ สถาบันการเงิน เงินสดเป็นส่ิงท่ีเราคุ้นเคยในการใช้จ่ายมากท่ีสุด จนนึกไม่ถึงว่าที่จริงแล้วการใช้ เงินสดน้ันไม่สะดวกหลายประการ เช่น ต้องเตรียมเงินสดให้เพียงพอในการซื้อสินค้า และหาก ยิง่ พกพาจานวนมากก็เสยี่ งต่อการถูกปล้น ขโมย หรือหากมองในมุมเจา้ ของกิจการ การรับชาระ ด้วยเงินสดอาจถูกยักยอกหรือขโมยได้ง่ายและตรวจสอบได้ยาก รวมถึงเสียโอกาสในการขาย สินค้าหากมีช่องทางให้ลูกค้าชาระค่าสินค้าเป็นเงินสดเพียงอย่างเดียว สาหรับมุมของประเทศ น้ัน เงินสดมีค่าใช้จ่ายในการจัดการค่อนข้างสูง เช่น ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการผลิต การขนส่ง การเก็บรักษา การตรวจนับ การคัดแยก และการทาลาย ถ้าเราหันมาช่วยกันใช้การชาระเงิน ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ จะชว่ ยลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การได้ 2 - 3 เทา่ เลยทเี ดยี ว ความหมายของการชาระเงินทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การส่งมอบหรือโอนเงินเพ่ือซื้อสินค้า และบริการ หรือชาระหน้ี ผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่มีความสะดวกและรวดเร็วโดยใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ มาช่วยทั้งด้านสื่อที่ใช้ชาระเงินแทนเงินสด เช่น บัตรเอทีเอ็ม บัตรเดบิต บัตรเครดิต เงินอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงช่องทางการชาระเงินที่ใช้งานง่ายและรวดเร็ว เช่น ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใช้อปุ กรณ์ประเภทตา่ ง ๆ อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ทม์ อื ถอื ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวติ 1 l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงิน
40 ประโยชนข์ องการชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ต่อประชาชน ต่อเจ้าของกจิ การ โอนเงินหรือชาระเงนิ ได้ทุกทีท่ กุ เวลา ไมต่ อ้ งเก็บเงินสดจานวนมากไว้ทรี่ ้านค้า ไม่ตอ้ งเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการ ลดปญั หาพนักงานยักยอกหรือขโมยเงนิ เดินทาง จัดทาบญั ชไี ดร้ วดเร็ว และมรี ะบบที่ ปลอดภัย ไม่ตอ้ งกลวั เงนิ สดหายหรือ ตรวจสอบได้ ถูกขโมย มีทางเลอื กใหล้ ูกคา้ ในการชาระเงนิ ได้ ตรวจสอบได้ มหี ลักฐานชัดเจน หลายวธิ ี มีรปู แบบการชาระเงินให้เลือกได้ ไม่จาเป็นตอ้ งมสี ถานทห่ี รือหน้าร้าน หลากหลายตามความสะดวก กข็ ายของได้ ขยายฐานลูกค้าไดก้ ว้างข้นึ ไม่จากัดอยใู่ น พ้นื ทใี่ ดพ้นื ทห่ี นง่ึ หรอื ในประเทศเท่าน้ัน ตอ่ ประเทศ ลดค่าใช้จา่ ยในการพมิ พ์ธนบตั ร ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการบริหารจดั การเงินสด เชน่ การขนสง่ ธนบตั ร การหมุนเวียนของเงนิ ในเศรษฐกิจมคี วามคลอ่ งตวั การค้าและการชาระเงนิ ระหว่างประเทศทาไดส้ ะดวกรวดเรว็ ข้นึ ลักษณะของบัตรเอทเี อม็ บตั รเดบิต และบตั รเครดิต บัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่ือการชาระเงินที่ถูกพัฒนาเพื่อนามาใช้แทนเงินสด บทเรียนนจ้ี ะกลา่ วถงึ บัตรเอทีเอม็ บัตรเดบิต และบตั รเครดิต เทคโนโลยีของบัตรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บัตรอิเล็กทรอนิกส์มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ ซึ่งจะทาให้เราสามารถใช้งานได้ อย่างปลอดภัยและหายกังวล โดยแบบด้ังเดิมเป็นบัตรแถบแม่เหล็ก (magnetic stripe) มีลักษณะเป็นแถบสีดาคาดอยู่หลังบัตร กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ซึ่งข้อมูลของผู้ถือบัตรจะ ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 1 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184