41 6. ผลการด้าเนินงาน /ผลสมั ฤทธ์ิ หรือประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางปลาม้า ร่วมกับบุคลากร กศน.อาเภอบางปลาม้า ในการจัดกิจกรรมการศึกษา ตามอัธยาศัยในชุมชนอย่างต่อเนื่อง และร่วมกันพัฒนาภาพลักษณ์ของห้องสมุดประชาชนอาเภอ บางปลาม้า ให้มี บรรยากาศท่ีดี ดึงดดู ความสนใจ สวยงาม และมีบรรยากาศที่น่าสนใจต่อการเข้ามารับบริการจนเกิดความประทับใจ ซึ่ง ไดป้ ระโยชนท์ ี่ไดร้ บั ดงั นี้ - ประโยชน์ต่อผู้เรียน นักศึกษา กศน. ได้เข้ามาค้นคว้า ศึกษาหาความรู้ ในห้องสมุด มีการให้บริการ หนังสือ สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ตา่ งๆ และขอ้ มลู ในการสืบค้นข้อมูล - ประโยชน์ต่อชุมชน ชุมชนมีสถานท่ีในการสืบค้นหาข้อมูลในศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตและ สามารถเข้ามาหาความรูเ้ มอ่ื ใดกไ็ ด้ ตามต้องการ 7. ปจั จัยความสา้ เรจ็ - ด้านผบู้ ริหาร ใหค้ าชแ้ี นะและให้คาปรกึ ษาในการดาเนนิ งานห้องสมดุ ประชาชนฯ - ด้านบุคลากร ไดร้ ับความร่วมมือจากบุคลากร กศน.อาเภอบางปลามา้ ในการรว่ มกนั พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนให้เปน็ ศูนยก์ ลางแหง่ การเรยี นร้ใู นชุมชน - ด้านชุมชน ประชาชน ในพนื้ ท่ีอาเภอบางปลาม้า เห็นความสาคญั ของการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มกี ารเขา้ มาใช้ บริการห้องสมุดประชาชนฯ และเขา้ รว่ มกิจกรรมอยา่ งต่อเน่ือง - ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ย ภาคเี ครือขา่ ย เหน็ ความสาคัญของการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั จึงไดร้ บั ความร่วมมอื จากภาคี เครือข่ายในการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชนอยา่ งดีเสมอมา 8. บทเรยี นทไี่ ดร้ ับ 1. ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางปลามา้ มีบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ของชมุ ชน และจัดกิจกรรมการจัด การศกึ ษาตามอธั ยาศยั สอดคล้องกบั ความต้องการของชมุ ชน 2. การมสี ่วนรว่ มของชุมชน ทง้ั ระดับผนู้ าชุมชน ผู้นาท้องถ่ิน ประชาชนในชมุ ชนได้ เห็นความสาคญั ของ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และใหค้ วามร่วมมอื ในการจัดกิจกรรมในชมุ ชน
42 9. การเผยแพร่ผลงาน ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางปลาม้า มี Facebook Fanpage คือ ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางปลาม้า เว็บไซต์ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบางปลามา้ และ เผยแพร่ผลงานผ่าน application line Group Suphan NFE เพื่อ แสดงผลงานการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆท่ีเกยี่ วข้องกับการส่งเสริมการอ่าน เช่น กิจกรรมส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดฯ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นเคลอื่ นทภ่ี ายนอกห้องสมดุ ฯ กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านออนไลน์ เป็นต้น โดยมีข้อมูลอย่างเป็น ปัจจบุ นั
43 10. ผูเ้ ขียน/บรรณาธิการกิจ ผู้เขียน นางสาวชลธชิ า บุญประเสริฐ บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางปลามา้ อาเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบุรี ผู้สนับสนนุ และตรวจสอบข้อมลู นางสมควร วงษ์แกว้ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางปลาม้า
44 ประเดน็ การนเิ ทศ งานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เรอ่ื ง บา้ นหนังสือชุมชน 1. นโยบาย จุดเนน้ การด้าเนินงานของสา้ นกั งาน กศน. ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภารกิจต่อเน่ือง 1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคล่ือนท่ี ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สม่าเสมอ รวมท้ัง เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่าน อยา่ งหลากหลายรปู แบบ 3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพ่ือส่งเสริม การ จดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหม้ ีรูปแบบทห่ี ลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์ ศูนย์ เรียนรู้ แหล่งโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หอ้ งสมดุ รวมถึงภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ เป็นตน้ 2. สภาพที่พบ บ้านหนงั สอื ชมุ ชนแต่ละแห่งเปน็ สถานท่ีทีม่ ีความเหมาะสม ส่วนใหญ่บ้านหนังสือชุมชนตั้งอยู่ท่ีร้านค้าประจา หมู่บ้าน ผู้ดูแลบ้านหนังสือชุมชนเป็นผู้มีจิตสาธารณะและมีความพร้อมในการให้บริการ ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมใน การส่งเสริม สนับสนุน บ้านหนังสือชุมชนแต่ละแห่งมีคณะกรรมการบ้านหนังสือชุมชน บรรณารักษ์/เจ้าหน้าที่ ห้องสมดุ ครู กศน.ตาบล มกี ารจัดทาแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ น มีการเปิดให้บริการอย่างสม่าเสมอเนื่องจากส่วนใหญ่เป็นร้านค้าในแหล่งชุมชน มีการอานวย ความ สะดวกในการอ่านหนังสือและการจัดกิจกรรม อาทิ มีโต๊ะ เก้าอี้ และชั้นวาง ส่ือ หนังสือ บรรณารักษ์/เจ้าหน้าท่ี หอ้ งสมดุ ครู กศน.ตาบล มกี ารประสานงานอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน/ภาคีเครือข่าย ร่วมส่งเสริม สนับสนุนการจัด กิจกรรม บ้านหนงั สือชมุ ชนบางแห่งอยู่ในพน้ื ทท่ี มี่ ีสญั ญาณอินเทอร์เนต็ FREE WIFI จากกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสงั คม และเนต็ ประชารัฐ ให้บริการ มีการนากิจกรรมส่งเสริมการอ่านไปจัดท่ีบ้านหนังสือชุมชนอย่างสม่าเสมอ มี การประเมินความพงึ พอใจของผ้รู ับบริการ มผี รู้ ับบรกิ ารเพ่มิ มากข้นึ 3. ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อความส้าเร็จ 1. กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน 2. กจิ กรรมหลากหลาย ทนั สมยั สอดคลอ้ งกับกลุ่มเปา้ หมาย 3. ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย สอดคลอ้ งกับความ ต้องการของกล่มุ เป้าหมาย มีการพัฒนาตนเองอย่างสมา่ เสมอ 4. วสั ดุ อปุ กรณ์ เพียงพอ 5. การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นบา้ นหนงั สือชุมชนครอบคลุมทกุ แหง่
45 6. ผูจ้ ดั กจิ กรรมมีความสามารถดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยใี นการจัดกจิ กรรม เชน่ การจัดทา QR Code และการ ประชาสัมพันธ์กจิ กรรม/โครงการ 7. ภาคีเครอื ขา่ ยส่งเสรมิ สนับสนุน มสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรม 8. การนิเทศ ติดตามผลการดาเนนิ งานอยา่ งสมา่ เสมอ 4. ปญั หาอุปสรรค 1. ขาดการจัดสรรงบประมาณสาหรับบ้านหนังสือชุมชน 2. พฤติกรรมการอ่านของประชาชนเปล่ยี นแปลงไป ทาให้การคน้ ควา้ ในแหล่งเรยี นรู้ ลดนอ้ ยลง เนอื่ งจาก สามารถคน้ หาความรูไ้ ด้เองโดยผ่านสอื่ ออนไลน์ ดว้ ยโทรศัพทส์ มาร์ทโฟน 3. ขาดหนงั สือพิมพ์รายวนั /หนงั สือ สื่อท่ีทนั สมัย เนื่องจากผู้ดูแลบ้านหนังสอื ชุมชน และผ้รู บั บริการมีความ ตอ้ งการอา่ นหนังสือพิมพร์ ายวัน 5. ขอ้ นเิ ทศต่อผรู้ ับการนิเทศ 1. ควรมกี ารประชาสมั พันธก์ ารจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านสาหรบั บ้านหนงั สอื ชมุ ชนเปน็ ประจาสม่าเสมอ 6. ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา 6.1 ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา 1. จัดกจิ กรรม/โครงการศึกษาดูงานแหลง่ เรียนรูบ้ ้านหนังสือชมุ ชนสาหรับผ้ดู แู ลบ้านหนังสือชมุ ชน อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน 2. จัดประกวดบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สา้ นกั งาน กศน.จังหวดั ไมม่ ี 6.3 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สา้ นักงาน กศน. ไมม่ ี 7. Best Practice ไม่มี
46 8. ภาพกิจกรรม
47 ประเด็นการนิเทศ เรอื่ ง การพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 1. นโยบาย จุดเน้นการดาเนนิ งานของสานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ภารกจิ ต่อเน่ือง 2. ด้านหลักสูตร สื่อรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการ ประกันคณุ ภาพการศึกษา 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในที่ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทและภารกจิ ของ กศน. มากขึ้น เพ่อื พร้อมรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มี ความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนินการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาไดอ้ ย่างต่อเนอื่ งโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มี ระบบสถานศึกษาพ่ีเลี้ยงเข้า ไปสนับสนุนอยา่ งใกลช้ ดิ สาหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด 2. สภาพท่ีพบ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาและบคุ ลากรของสถานศึกษา มีความรู้ มีความรู้ความเข้าใจในการดาเนินการดาเนินการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดาเนินการจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา กาหนดค่าเปา้ หมายของสถานศึกษาเพือ่ ใช้ในการประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน การศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สถานศึกษาตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาสม่าเสมอ ในการประชุมบุคลากรประจาสัปดาห์ ประจาเดือน ควบคุมติดตามการดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดคล้อง กับมาตรฐานและเกณฑก์ ารพจิ ารณา กศน.อาเภอบางปลาม้า อย่างต่อเนื่อง บุคลากร กศน.อาเภอบางปลาม้า รับชมวี ดีทัศน์การบรรยายหัวข้อ “แนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-19” เพ่ือสนับสนุนให้ บคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ บั ความรู้ และเข้าใจเกย่ี วกับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกอย่างกว้างขวาง และท่ัวถึง พร้อม ลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดาเนินการจัดเตรียมเอกสาร หลักฐาน ตามมาตรฐานและเกณฑ์การพิจารณา เพ่ือรองรับการประเมินจากต้นสกัด และสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. 3. ปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อความสาเรจ็ 1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาติดตามงานประกนั คุณภาพภายในอย่างต่อเน่ือง 2. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ส่งเสริม สนบั สนุนให้มีการอบรมพัฒนาบุคลากรด้านการประกนั คุณภาพภายใน สถานศึกษา
48 3. กศน.อาเภอบางปลาม้า มีบุคลากร จานวนมาก บุคลากรส่วนใหญ่รับผดิ ชอบมาตรฐานเพยี ง คนละ 1-2 ประเด็น ทาให้ไม่ต้องรับประเด็นที่ซ้าซ้อน 4. มกี ารจดั ทาคาส่งั แต่งตั้งคณะกรรมการท่ีมคี วามเหมาะสอดคล้องกบั ความรบั ผดิ ชอบงานทส่ี ถานศึกษา มอบหมายให้ เหมาะสมทาความสามารถและศักยภาพของแต่ละบคุ คล 4. ปญั หาอุปสรรค ไม่มี 5. ขอ้ นเิ ทศต่อผู้รับการนิเทศ ไม่มี 6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา 6.1 ขอ้ เสนอแนะตอ่ สถานศึกษา ไม่มี 6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสานักงาน กศน.จังหวดั ไมม่ ี 6.3 ข้อเสนอแนะต่อสานักงาน กศน. ไมม่ ี 7. Best Practice ไมม่ ี 8. ภาพกิจกรรม
คณะผู้จดั ทา ทปี่ รึกษา วงษแ์ กว้ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางปลาม้า 1. นางสมควร พิทกั ษ์วงศ์ ครชู านาญการพเิ ศษ 2. นายปรชี า พฒั นไชยการ ครผู ู้ชว่ ย 3. นายนรนิ ทร์ธร คณะทางาน 1. นายสทิ ธวิ ฒุ ิ จันทรมะโน ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวราตรี นว่ มใจดี ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางอญั ชลี ด้วงประสิทธ์ิ ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นายไพศาล สขุ สาราญ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางจรี ะภา โกพฒั น์ตา ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน 6. นางสาวเพญ็ จนั ทร์ วงศศ์ รเี ผือก รวบรวม เรยี บเรียง ออกแบบปก ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น ครูผู้ช่วย 1. นางสาวเพญ็ จันทร์ วงศ์ศรเี ผือก 2. นายนรนิ ทรธ์ ร พฒั นไชยการ
Search