46 จุดประสงค์ การจดั จานวนชว่ั โมง การเรยี นรู้ ท่ี เรอ่ื ง เนือ้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู้ 3.4 การข้นึ ลวดลายการสาน โดยการเร่ิม จากขอบด้านลา่ ง ของโครงแบบ ชน้ิ งาน พรอ้ มกับ การทาไพร 3.5 การขัด ลวดลายจาก ด้านล่างของ โครงแบบ ช้นิ งาน จนถึง ขอบดา้ นบนของ โครงแบบชน้ื งาน - การสาน ลวดลายไทย - การสาน ลวดลายขา้ ว หลามตดั และลายหัวใจ - การสาน ลวดลายดอก พิกุล ลายดอก จนั และลายดอก ขงิ ฯลฯ 3.6 การเก็บ ลวดลายของหู โครงแบบช้นิ งาน และขอบของ โครงแบบชน้ิ งาน ให้เรยี บร้อย (ใช้กรรไกร ในการเก็บ ความเรียบร้อย)
47 จดุ ประสงค์ การจดั จานวนชว่ั โมง การเรียนรู้ ที่ เรือ่ ง เนอื้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรียนรู้ 4 การสานตะกร้า ผูเ้ รียนสามารถ 4.1 การวดั 4.1 วทิ ยากร 5 20 จากผักตบชวา สานตะกรา้ จาก ขนาดโครงแบบ อธิบายขั้นตอน ผักตบชวาได้ ชนิ้ งานเพอื่ นามา ตามลาดบั ตดั เส้นผักตบชวา ผเู้ รยี นลงมอื ฝึก ในการสาน ปฏิบัตจิ ริงโดย (ใชก้ รรไกรใน เลือกตามลาย การตัดเส้น) 4.2 ตรวจ 4.2 นาเส้น ชน้ิ งาน ผกั ตบ มาสาน แตล่ ะขนาด และเลอื ก ลวดลาย ในการสาน ผักตบชวา - ลายข้าว หลามตัด - ลายหวั ใจ - ลายไทย - ลายดอก พิกุล - ลายดอกขงิ ขั้นตอนการทา 4.3. การเริ่ม จากการทาลาย พืน้ ฐาน (ลายขัด) 4.4 การขน้ึ ลวดลาย การสาน โดยการเร่ิม จากขอบด้านล่าง ของโครงแบบ ช้นิ งาน พรอ้ มกบั การทาไพร
48 จดุ ประสงค์ การจัด จานวนชว่ั โมง การเรียนรู้ ที่ เรอื่ ง เน้อื หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรยี นรู้ 4.5 การขดั ลวดลายจาก ด้านล่างของ โครงแบบช้นิ งาน จนถงึ ขอบ ด้านบนของ โครงแบบชน้ื งาน - การสาน ลวดลายไทย - การสาน ลวดลายข้าว หลามตดั และลายหัวใจ - การสาน ลวดลาย ดอกพกิ ุล ลายดอกจนั และลายดอกขิง ฯลฯ 4.6. การเก็บ ลวดลายของหู โครงแบบช้นิ งาน และขอบของ โครงแบบชิ้นงาน ใหเ้ รียบรอ้ ย (ใช้กรรไกรใน การเกบ็ ความ เรียบร้อย) 5 การสานฝาชีจาก ผูเ้ รยี นสามารถ 5.1 การวดั 6.1 วิทยากร 5 20 ผักตบชวา สานฝาชีจาก ขนาดโครงแบบ อธิบายข้นั ตอน ผกั ตบชวา ชิน้ งานเพอื่ นามา ตามลาดับ ตดั เสน้ ผักตบชวา ผู้เรยี นลงมือฝึก ในการสาน ปฏบิ ตั จิ รงิ โดย (ใช้กรรไกรใน เลอื กตามลาย การตัดเสน้ )
49 จุดประสงค์ การจดั จานวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ ท่ี เรอ่ื ง เนือ้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ เรยี นรู้ 5.2 เสน้ ผกั ตบ 6.2 ตรวจ ในการสานแตล่ ะ ชิ้นงาน ขนาด 5.3 การเลอื ก ลวดลายในการ สานผกั ตบชวา - ลายขา้ ว หลามตัด - ลายหวั ใจ - ลายไทย - ลายดอก พิกลุ - ลายดอกขงิ ขน้ั ตอนการทา 5.3. การเรม่ิ จากการทาลาย พื้นฐาน (ลายขัด) 5.4 การขึน้ ลวดลาย การ สาน โดยการเรมิ่ จากขอบดา้ นล่าง ของโครงแบบ ช้นิ งาน พรอ้ มกับ การทาไพร 5.5 การขัด ลวดลายจาก ด้านล่างของโครง แบบ ชิน้ งาน จนถงึ ขอบ ด้านบนของโครง แบบชนื้ งาน - การสาน ลวดลายไทย - การสาน
50 จดุ ประสงค์ การจัด จานวนช่ัวโมง การเรียนรู้ ที่ เรอื่ ง เนื้อหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรยี นรู้ ลวดลายขา้ ว หลามตดั และ ลายหัวใจ - การสาน ลวดลายดอก พกิ ลุ ลายดอก จัน และลายดอก ขิง ฯลฯ 5.6 การเกบ็ ลวดลายของหู โครงแบบช้นิ งาน และขอบของ โครงแบบช้นิ งาน ให้เรียบร้อย(ใช้ กรรไกรในการ เก็บความ เรียบร้อย 6 การสานหมวก ผ้เู รียนสามารถ 6.1 การวัด 6.1 วทิ ยากร 5 20 จากผักตบชวา สานหมวกจาก ขนาดโครงแบบ อธบิ ายขน้ั ตอน ผักตบชวา ช้นิ งานเพ่ือนามา ตามลาดับ ตดั เสน้ ผกั ตบชวา ผู้เรยี นลงมอื ฝึก ในการสาน(ใช้ ปฏิบตั ิจรงิ โดย กรรไกรในการ เลือกตามลาย ตัดเส้น) 6.2 ตรวจ 6.2 เสน้ ผกั ตบ ชนิ้ งาน ในการสานแต่ละ ขนาด การเลอื ก ลวดลายในการ สานผักตบชวา - ลายขา้ ว หลามตดั - ลายหัวใจ - ลายไทย - ลายดอก
51 จุดประสงค์ การจดั จานวนชว่ั โมง การเรยี นรู้ ท่ี เรอ่ื ง เน้ือหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรียนรู้ พกิ ุล - ลายดอกขงิ ขั้นตอนการทา 6.3 การเรม่ิ จากการทาลาย พื้นฐาน (ลายขดั ) 6.4 การขนึ้ ลวดลาย การสาน โดยการเริม่ จากขอบดา้ นลา่ ง ของโครงแบบ ชน้ิ งาน พรอ้ มกับ การทาไพร 6.5 การขดั ลวดลายจาก ดา้ นล่างของ โครงแบบ ชิน้ งาน จนถึง ขอบด้านบนของ โครงแบบช้ืนงาน - การสาน ลวดลายไทย - การสาน ลวดลายข้าว หลามตดั และ ลายหัวใจ - การสาน ลวดลายดอก พิกุล ลายดอก จัน และลายดอก ขิง ฯลฯ
52 จดุ ประสงค์ การจดั จานวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ ที่ เร่อื ง เนอื้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรยี นรู้ 6.6 การเก็บ ลวดลายของหู โครงแบบชิน้ งาน และขอบของ โครงแบบชน้ิ งาน ใหเ้ รียบร้อย(ใช้ กรรไกรในการ เก็บความ เรียบร้อย 7 การสานรองเท้า ผ้เู รยี นสามารถ 7.1 การวัด 7.1 วิทยากร 5 20 จากผักตบชวา สานรองเท้าจาก ขนาดโครงแบบ อธิบายขัน้ ตอน ผกั ตบชวา ชน้ิ งานเพอ่ื นามา ตามลาดับ ตดั เสน้ ผกั ตบชวา ผเู้ รยี นลงมือ ในการสาน ฝึกปฏิบตั ิจริง (ใชก้ รรไกรใน โดยเลือก การตดั เส้น) ตามลาย 7.2 เสน้ ผักตบ 7.2 ตรวจ ในการสานแต่ละ ชนิ้ งาน ขนาด การเลอื ก ลวดลายในการ สานผักตบชวา - ลายข้าว หลามตดั - ลายหวั ใจ - ลายไทย - ลายดอก พกิ ุล - ลายดอกขงิ .ขัน้ ตอนการทา 7.3. การเริ่ม จากการทาลาย พนื้ ฐาน (ลายขัด)
53 จุดประสงค์ การจดั จานวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ ท่ี เรอ่ื ง เน้อื หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ เรยี นรู้ 7.4. การขน้ึ ลวดลายการสาน โดยการเร่มิ จาก ขอบดา้ นล่างของ โครงแบบชน้ิ งาน พรอ้ มกบั การทา ไพร 7.5 การขัด ลวดลายจาก ด้านลา่ งของ โครงแบบ ชนิ้ งาน จนถึง ขอบด้านบนของ โครงแบบชื้นงาน - การสาน ลวดลายไทย - การสาน ลวดลายข้าว หลามตัด และลายหัวใจ - การสาน ลวดลาย ดอกพิกุล ลายดอกจนั และลายดอกขิง ฯลฯ 7.6 การเกบ็ ลวดลายของหู โครงแบบชน้ิ งาน และขอบของ โครงแบบชนิ้ งาน ใหเ้ รยี บรอ้ ย (ใช้กรรไกร ในการเกบ็ ความเรียบรอ้ ย
54 จุดประสงค์ การจัด จานวนชว่ั โมง การเรียนรู้ ท่ี เรอื่ ง เนื้อหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบัติ เรียนรู้ 8 การดแู ลและวิธี ผ้เู รยี นสามารถ 8.1 ข้ันตอน 8.1 บรรยาย/ 2 3 เก็บรกั ษา บอกการดูแล การเคลอื บกาว สาธติ ผลติ ภณั ฑไ์ ด้ และวธิ ีเก็บรักษา ตัวผลติ ภณั ฑ์ 8.2 ฝกึ ปฏบิ ตั ิ อยา่ งถูกวิธี ผลติ ภณั ฑไ์ ด้อย่าง 8.2 ข้ันตอน จริง ถูกวิธี การอบกามะถัน 8.3 วธิ ีตรวจ ขนั้ ตอน ผลงาน การเคลอื บเงา 9 การบรหิ าร ผู้เรียนมีความรู้ 9.1 วธิ กี ารขาย 9.1 บรรยาย/ 2 3 จดั การและแนว ความเข้าใจเร่ือง 9.2 การขาย สาธิต ทางการจดั การตลาด การ ออนไลน์ 9.2 ศึกษาจาก จาหน่าย ขายสินคา้ และ 9.3 การคดิ เทคโนโลยี การคิดตน้ ทุน ต้นทนุ กาไร 9.3 ฝกึ ปฏิบตั ิ กาไร จริง สือ่ การเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้ และสื่อออนไลน์ 2. ช้นิ งานตัวอยา่ ง การวดั ผลและประเมินผล การสังเกต การสมั ภาษณ์ ผลงาน/ชิ้นงาน เกณฑ์การจบหลกั สูตร 1. มเี วลาเรียน ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60
55 หลักสูตรอาชีพ การนวดใบหู นวดมือ และนวดเท้าเพ่ือสุขภาพ จานวน 90 ช่วั โมง กลมุ่ อาชพี พาณชิ ยกรรมและการบริการ ************** ความเป็นมา การนวดแผนไทยน้ันนิยมมาอย่างต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบัน และมีแนวโน้มว่าจะได้มีอัตราการใช้บริการ มากขึ้นอย่างมากในอนาคต เพราะประโยชน์ของการนวดมีอยู่มากมายและหลากหลายด้านสุขภาพท้ังทางตรง และทางออ้ ม สาหรับการประกอบอาชพี นวดแผนไทยเป็นอาชีพเสริมน้ันก็ถือว่าเป็นอีกทางเลือกหน่ึงที่น่าสนใจ และไม่ส่งผลกระทบกบั งานประจา สามารถทจี่ ะนวดทไี่ หนก็ได้ นวดตามบ้าน โรงแรมต่างๆ เป็นอิสระ สามารถ ท่ีจะได้ค่าตอบแทนรายชั่วโมง ซึ่งสามารถนาวิชาไปทางานได้หลากหลายท่ี ไม่ว่าจะเป็น ร้านนวดแผนไทย ร้านนวดสปา ร้านสปาตามโรงแรม รีสอร์ทต่างๆ และสามารถที่จะไปต่อยอดรับจ้างนวดในต่างประเทศได้ อกี ทงั้ เรายงั สามารถทีเ่ ปิดธุรกิจเป็นตนเองไดโ้ ดยงา่ ย เปน็ เจา้ ของกจิ การทเี่ ราสามารถจะลงมือปฏบิ ตั ิได้เอง การดูแลสุขภาพ ดูแลความเจ็บป่วยของคนไทยแบบดั้งเดิมสอดคล้องกับขนมธรรมเนียมวัฒนธรรม แบบไทย วิธีปฏิบัติของการแพทย์แผนไทย หัตถบาบัด ประกอบด้วยการใช้สมุนไพร ด้วยการต้ม การอาบ การประคบ ฯลฯ รักษาสุขภาพจิต การดูแลแบบดั้งเดิม และธรรมชาติบาบัด โดยการบอกเล่า การสังเกต การบันทึก และการศึกษาผ่านสถาบันการศึกษาด้านการแพทย์แผนไทย การนวดใบหู นวดมือ และนวดเท้า ด้วยสมุนไพรพื้นบ้านน้ัน เป็นการนวดผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการนาสมุนไพรพ้ืนบ้าน มาประยุกต์ใช้ในการนวดเพ่ือผ่อนคลายกล้ามเน้ือบริเวณใบหู มือ เท้า ผู้ท่ีมาเรียนนวดใบหู มือ และเท้าน้ัน ต้องมีพ้ืนฐานเกี่ยวกับจุดอวัยวะบนใบหู มือ เท้า จุดปลายประสาทต่างๆ ชีพชรทั่วร่างกายและสมุนไพรสามัญ ขนั้ มลู ฐาน ควบคไู่ ปกบั การเรยี นแบบปฏบิ ตั ิจริง จากผทู้ ่มี ีความรคู้ วามชานาญด้านการนวด หลักการของหลักสตู ร 1. เป็นหลกั สูตรที่เน้นการจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ 2. เป็นหลกั สตู รท่บี รู ณาการภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 3. เป็นหลักสูตรที่ผเู้ รยี นสามารถนาความรูไ้ ปใช้ จุดมงุ่ หมาย 1. เพื่อใหผ้ ู้เรียนมคี วามร้แู ละทักษะการฝึกปฏิบัติการนวดใบหูด้วยสมนุ ไพรพ้ืนบา้ นไดอ้ ย่างถกู วิธี 2. เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามรู้และทักษะการฝกึ ปฏบิ ัติการนวดมือด้วยสมุนไพรพื้นบา้ นได้อยา่ งถูกวธิ ี 3. เพื่อใหผ้ ู้เรียนมคี วามรแู้ ละทักษะการฝกึ ปฏิบัติการนวดเท้าดว้ ยสมนุ ไพรพ้ืนบ้านได้อย่างถกู วธิ ี 4. เพอื่ สรา้ งทศั นคตทิ ีด่ ีเก่ยี วกับการแพทย์แผนไทยและภมู ิปัญญาไทยท่สี ืบตอ่ กนั มา 5. เพอื่ เปน็ ช่องทางในการประกอบอาชีพนวดแผนไทย เป้าหมาย ประชาชนท่วั ไป ระยะเวลา จานวน 90 ชั่วโมง ทฤษฎี 23 ชวั่ โมง ปฏบิ ัติ 67 ช่ัวโมง
56 โครงสร้างเนอื้ หา จดุ ประสงค์ เน้ือหา การจัด จานวนชว่ั โมง กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ท่ี เรอื่ ง การเรียนรู้ 2.1 การใช้สมนุ ไพร พน้ื บ้าน เรียนรู้ 32 1 เภสัชกรรมไทย 2.1 ผู้เรียนมคี วามรู้ 2.2 บญั ชีสมนุ ไพร 2.1 บรรยาย เบอ้ื งตน้ เก่ียวกับ การใช้ สามัญขน้ั มลู ฐาน 2.2 สาธิต 7 28 สมุนไพรพน้ื บา้ น 2 การนวดใบหู 2.2 ผู้เรยี นสามารถ 2.1 ความรู้เก่ียวกบั 2.1 บรรยาย 2.1 สรรี ะวิทยา อธิบายและเลือก รา่ งกายท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2.2 สาธิต เบ้อื งต้นท่ี วธิ ีการใชส้ มนุ ไพร กับสว่ นตา่ งๆ 2.3 ฝึกปฏบิ ตั ิ เกยี่ วข้อง พื้นบ้าน บนใบหู กับการนวดใบหู ประกอบการนวดได้ 2.2 ข้นั ตอน วิธีการ 2.2 ขนั้ ตอน ถกู ต้อง ประโยชน์ ข้อหา้ ม การนวดใบหู 2.1 ผเู้ รยี นมีความรู้ ในการนวดใบหู เกีย่ วกบั ร่างกาย 2.3 การนวดใบหู มนุษย์เบอื้ งตน้ เชน่ เพ่อื ผ่อนคลาย กระดูก เสน้ ประสาท บริเวณศรี ษะ กลา้ มเนือ้ ใบหน้า อวัยวะต่างๆ ภายใน 2.4 การนวดใบหู ร่างกาย เพื่อผ่อนคลาย 2.2 ผ้เู รยี นมีความรู้ บรเิ วณคอ บา่ ไหล และฝกึ ปฏิบัติ 2.5 การนวดใบหู เกยี่ วกับ การนวดใบ เพอ่ื ผ่อนคลาย หูด้วยสมนุ ไพร บริเวณหลัง พืน้ บ้าน ได้อยา่ งถูก 2.6 การนวดใบหู วธิ ี เพื่อผ่อนคลาย บรเิ วณเอว สะโพก 2.7 การนวดใบหู เพ่ือผ่อนคลาย บรเิ วณแขน 2.8 การนวดใบหู เพื่อผ่อนคลาย
57 ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ การจดั จานวนช่ัวโมง การเรียนรู้ เนอื้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรยี นรู้ 4 16 บรเิ วณขา 4 16 2.9 การนวดใบหู เพือ่ ผ่อนคลาย บริเวณเทา้ 3 การนวดมอื 3.1 ผเู้ รียนมคี วามรู้ 3.1 ความรูเ้ กี่ยวกับ 3.1 บรรยาย 3.1 สรรี ะวิทยา เกี่ยวกับรา่ งกาย รา่ งกายทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 3.2 สาธติ เบ้ืองตน้ ท่ี มนษุ ยเ์ บ้อื งต้น เช่น กบั บริเวณ หลังมอื 3.3 ฝกึ ปฏบิ ัติ เกยี่ วขอ้ งกบั การ กระดูก เส้นประสาท ฝ่ามอื นวิ้ มือ สาธติ นวดมอื กลา้ มเนอื้ และข้อมือ 3.2 ข้ันตอน อวยั วะตา่ งๆ ภายใน 3.2 ข้นั ตอน วธิ ีการ การนวดมอื ร่างกาย ประโยชน์ ข้อหา้ ม 3.2 ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ในการนวดมือ และฝกึ ปฏิบตั ิ 3.3 การนวดหลังมอื เก่ยี วกับการนวดมือ เพ่ือผ่อนคลาย ดว้ ยสมนุ ไพรพ้ืนบา้ น บริเวณแผน่ หลัง ไดอ้ ย่างถูกวิธี คอ บา่ และไหล่ 3.4 การนวดฝ่ามือ เพอ่ื ผ่อนคลาย บริเวณชอ่ งท้อง ขาดา้ นหน้า ใบหนา้ 3.5 การนวดนิ้วมอื เพ่ือผ่อนคลาย บริเวณหู ตา และจมกู 3.6 การนวดข้อมือ เพื่อผ่อนคลายระบบ ปอดและหวั ใจ 4 การนวดเท้า 4.1 ผู้เรียนมีความรู้ 4.1 ความรู้เก่ียวกบั 4.1 บรรยาย 4.1 สรรี ะวิทยา เก่ียวกบั ร่างกาย รา่ งกายที่เก่ียวข้อง 4.2 สาธติ เบื้องต้นที่ มนษุ ย์เบือ้ งตน้ เชน่ กบั บรเิ วณ หลังเท้า 4.3 ฝกึ ปฏิบัติ เกี่ยวขอ้ งกบั การนวดเทา้ กระดูก เสน้ ประสาท ฝ่าเทา้ นว้ิ เท้า สาธิต กล้ามเน้อื อวัยวะ และข้อเท้า ตา่ งๆ ภายในร่างกาย 4.2 ขน้ั ตอน วธิ ีการ 4.2 ขั้นตอน 4.2 ผเู้ รียนมีความรู้ ประโยชน์ ขอ้ หา้ ม การนวดเท้า และฝึกปฏิบตั ิ ในการนวดเทา้
58 ที่ เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา การจดั จานวนชวั่ โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 5. ชอ่ งทางในการ เกี่ยวกบั การนวดเทา้ 4.3 การนวดหลัง ประกอบอาชีพ ดว้ ยสมุนไพรพืน้ บ้าน เทา้ เพื่อผ่อนคลาย เรียนรู้ 55 นวด ได้อยา่ งถกู วธิ ี บริเวณซโ่ี ครง กระบงั ลม หน้าอก 5.1 บรรยาย ผู้เรียนมีความรู้ และระบบของ 5.2 สาธติ ในเรื่องชอ่ งทาง การหายใจ 5.3 ฝกึ ปฏบิ ัติ และแนวทางพฒั นา 4.4 ฝกึ ปฏบิ ัติ สาธติ ตอ่ ยอดอาชพี การนวดฝ่าเทา้ ดา้ นการนวดแผนไทย เพอ่ื ผ่อนคลาย บริเวณช่องท้อง 4.5 ฝึกปฏิบัติ การนวดนิว้ เท้า เพ่ือผ่อนคลาย บรเิ วณศรี ษะ 4.6 ฝกึ ปฏิบัติ การนวดข้อเท้า เพอ่ื ผ่อนคลายระบบ ต่อมน้าเหลือง แนวทางพัฒนา ต่อยอดอาชพี ดา้ นตา่ งๆ 5.1 ชอ่ งทาง แนวทาง ในการ ประกอบอาชีพ เปน็ พนกั งานนวด 5.2 แนวทาง ในการประกอบ กจิ การนวดแผนไทย เปิดรา้ นธรุ กิจ SMEs ส่วนตัว 3. แนวทางในการ ประกอบธรุ กิจสปา (SPA)
59 ส่ือ/วสั ดุอุปกรณ์การเรยี นรู้ 1. รปู ภาพ/ตวั อยา่ งวิธีการนวด 2. เอกสารความรูเ้ รือ่ งการนวดมือดว้ ยสมุนไพรพ้นื บา้ น การวัดและประเมินผล การสังเกต การสัมภาษณ์ ผลงาน/ชน้ิ งาน เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60
60 หลกั สตู รอาชีพ การผูกผ้าในงานพิธีต่างๆ จานวน ๕๐ ชั่วโมง กลุ่มอาชพี สรา้ งสรรค์ ************** ความเปน็ มา จากนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ท่ีมุ่งเน้นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัย “กศน. เพื่อประชาชน” โดยการจัดการเรียนวิชาชีพระยะสั้น (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) ให้กับประชาชน ท่ีสอดคล้องกับ ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน บรบิ ทของพืน้ ทจี่ ัดการศึกษาเพ่ือเตรียมความพร้อมรับมือกับการเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และการเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม (Thailand ๔.๐) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด รวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ให้ชุมชนพ่ึงพาตนเองได้ จากสารวจสภาพชุมชนในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่าประชากร มีอาชีพเกษตรกรรม และรับจ้างท่ัวไป และประกอบกับผลผลิตท่ีได้มีราคาต่า ส่งผลให้เกษตรกรได้รับความเดือดร้อน และการรับจ้างก็ไม่มีทุกวัน ทาให้ประชาชนขาดรายได้ และเกิดภาวะว่างงาน จึงได้จัดกิจกรรมหลักสูตรพัฒนาอาชีพระยะสั้น วิชาการผูกผ้า ในงานพิธีต่างๆ เป็นการช่วยประชาชนได้นาองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนไปสร้างงาน สร้างอาชีพ ทหี่ ลากหลายทาใหม้ ีรายไดม้ ากยง่ิ ขน้ึ หลักการของหลักสตู ร 1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั การผูกผ้าในงานพิธี 2. เพอื่ ให้ผเู้ รยี นสามารถนาความรูไ้ ปใชป้ ระกอบอาชพี ได้ จุดมงุ่ หมาย 1. เพือ่ ใหผ้ ้เู รียน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการผูกผา้ ในงานพธิ ีต่างๆ 2. เพ่อื ให้ผเู้ รียน เกิดทักษะการเรียนร้กู ารผูกผ้าในงานพธิ แี ละสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพ และมีรายได้เพ่ิมขนึ้ 3. เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมีความรูใ้ นการคานวณต้นทนุ กาไรในการประกอบอาชีพ เปา้ หมาย ประชาชนทัว่ ไป ระยะเวลา จานวน ๕๐ ช่วั โมง ภาคทฤษฏี ๕ ชว่ั โมง ภาคปฏบิ ัติ ๔๕ ช่ัวโมง
61 โครงสรา้ งหลกั สตู ร ที่ เรอ่ื ง จุดประสงค์ เนื้อหา การจดั จานวนชวั่ โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1.1 ความรูท้ ่วั ไป ๑ ความรู้พ้นื ฐาน ผเู้ รยี นมีความรู้ เกีย่ วกับการผูกผา้ เรียนรู้ ๓- เก่ยี วกับการผูกผา้ เกี่ยวกบั วัสดุ และโอกาสทีใ่ ช้ ในงานพิธีต่างๆ อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการ ในงานพธิ ีตา่ งๆ ๑.1 อธิบาย ผกู ผา้ ท่ใี ชใ้ นงานพิธี - งานมงคล ใหค้ วามรู้ ต่างๆ - งานอวมงคล เรือ่ งการผูกผา้ - งานเทศกาลต่างๆ ในงานพธิ ีตา่ งๆ 1.2 วสั ดุ อปุ กรณ์ 1.2 การเลอื ก ต่างๆทีใ่ ช้ในการผูก วสั ดอุ ุปกรณ์ ผา้ ในการผูกผ้า ๓.ชนดิ ของผ้าที่ และการเก็บ นามาใชใ้ นการผูกผ้า รักษาผา้ ๒ ฝกึ การผูกผา้ ผเู้ รยี นสามารถ 2.1 การเลือกโทนสี 2.1 วิทยากร - ๑๐ การจบั ดอก ปฏิบตั ิ การจบั จีบ ผ้า และเนือ้ ผ้า ให้ บรรยายใหค้ วามรู้ และการจบั กลีบผ้า และการประกอบ เหมาะสมกบั งาน พรอ้ มกับนา ดอก การจับจีบ ตา่ งๆ ตวั อย่างการจบั และการประกอบ 2.2 การฝกึ กลีบผ้าให้ผู้เรยี น ระย้า การฝกึ ปฏิบตั กิ ารผูกผา้ ได้เห็น ปฏบิ ตั ิการผูกผ้า ขน้ั ท่ี ๑. การผกู ผ้า 2.2 วทิ ยากร และการจบั กลบี ผ้า แบบ สาธิตการจบั กลบี พหู่ อ้ ย ผา้ ขนั้ ที่ ๒. การจับจบี 2.3 ผ้เู รยี นฝึก และประกอบดอก ปฏบิ ัติ ขั้นท่ี ๓. การจบั จีบ - การผูกผ้า และ ประกอบระย้า การประกอบดอก ขน้ั ท่ี ๔. การคลี่ดอก - การจบั กลบี ผา้ 2.3 การฝึก แบบลาย ปฏิบตั กิ ารจับจีบผา้ ตา่ งๆ แบบ แบบลายต่างๆ กระโปรง ขั้นท่ี ๑. การจับกลบี แบบสับปะรด ผ้าลายแบบสับปะรด แบบผีเสือ้ ขั้นที่ ๒. การจับกลบี - การจบั กลบี ผา้ ลายแบบกระโปรง ประกอบระย้า
62 ท่ี เร่อื ง จดุ ประสงค์ การจดั จานวนชัว่ โมง การเรียนรู้ เนื้อหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรียนรู้ ๓ การผกู ผ้ากับโต๊ะ ผู้เรยี นมีความรู้ 3.1 การผกู ผ้ากบั 3.1 วิทยากรให้ - ๑๕ และเวที ความเข้าใจเกย่ี วกบั โต๊ะเวที ความรแู้ ละสาธติ การผกู ผ้าโต๊ะ 3.2 การผูกผา้ ในงาน การผูกผา้ กับโต๊ะ และเวที พิธแี ต่งงาน และเวที 3.3 การผูกผ้างาน 3.2 ผู้เรียนฝึก ศพ ปฏิบตั ิ 3.4 การผูกผา้ งาน 3.3 การผูกผ้ากบั บวช โตะ๊ และเวที 3.4 การผูกผ้า งานพิธงี านแต่ง 3.5 การผกู ผ้า งานบวช 3.6 การผกู ผา้ ใน งานพิธกี าร ๔ การผกู ผา้ ประดับ ผเู้ รียนมีความรู้ 4.1 การผกู ผา้ ประดบั 4.1 วทิ ยากรให้ - ๒๐ อาคารและเต๊นท์ ความเข้าใจเกยี่ วกบั อาคาร และเต๊นท์ ความรแู้ ละสาธิต การผกู ผา้ ประดับ 4.2 การผูกผา้ ประดับ การผกู ผา้ ประดับ อาคาร และเตน๊ ท์ อาคารและเต๊นท์ อาคาร และเตน๊ ท์ แบบระยา้ 4.2 ผู้เรียนฝึก ปฏิบตั ิ 4.3 การผกู ผา้ ประดบั อาคาร 4.4 การผกู ผา้ ประดบั อาคาร แบบระยา้ 4.5 การผูกผา้ ประดบั เต๊นท์ ๕ การบริหารจัดการ ผ้เู รียนมคี วามรู้ 5.1 การบริหาร วทิ ยากรให้ความรู้ ๒ - และแนวทางการ ความเขา้ ใจ เรื่อง จดั การในการประกอบ เกย่ี วกับความ จดั จาหนา่ ย การตลาด การขาย อาชีพ คมุ้ ค่า สินคา้ และการคดิ 5.2 การวางแผนทาง การคานวณค่า ตน้ ทนุ กาไร การตลาดเพ่ือการค้า วัสดุ อุปกรณ์ 5.3 การคา้ ออนไลน์ การต้งั ราคา พร้อมอธิบาย ชอ่ งทางการค้า ออนไลน์
63 สอ่ื การเรียนรู้ ๑. เอกสารประกอบการเรยี นรู้ ๒. คลิป และภาพถา่ ยประกอบการสอน การวดั ผลและประเมินผล การสังเกต การสัมภาษณ์ ผลงาน/ชน้ิ งาน เกณฑ์การจบหลกั สตู ร 1. มเี วลาเรยี น ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมินตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60
64 หลกั สตู รอาชีพ การทาผลิตภณั ฑจ์ ากเชือกปา่ น จานวน 200 ชวั่ โมง กลมุ่ อาชพี สรา้ งสรรค์ ************** ความเป็นมาของหลักสตู ร หัตถกรรมเครื่องจักสานเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่สาคัญอย่างยิ่งต่อการดารงชีวิตต้ังแต่ สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน หัตถกรรมเครื่องจักสานเป็นตัวอย่างหน่ึงท่ีแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาอันเฉลียวฉลาด ของคนไทยในท้องถ่ิน ที่ใช้ภูมิปัญญาสามารถนาส่ิงท่ีมีอยู่ในชุมชนมาประยุกต์ทาเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ ซ่ึงมีประโยชน์ในการดารงชีวิตซ่ึงจะเห็นได้ว่าหัตถกรรมเครื่องจักสานมีมานานแล้วและได้มี การพัฒนามาตลอดเวลา โดยอาศัยการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึง การดารงชีวิต ประจาวันของชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ได้เอาความรู้จากหนังสือมาเก่ียวข้อง การเรียนรู้ต่างๆอาศัยวิธีการฝึกหัด และบอกเล่าซึ่งไม่เป็นระบบในการบันทึกสะท้อนให้เห็นการเรียนรู้ ความรู้ที่สะสมท่ีสืบทอดกันมาจากอดีต มาถึงปัจจุบันหรือที่เรียกกันว่าภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังน้ันกระบวนถ่ายทอดความรู้จึงมีความสาคัญอย่างย่ิงท่ีทา ภูมิปัญญาท้องถิน่ น้นั คงอยตู่ อ่ เนือ่ งและยงั่ ยืน สภาพพ้นื ที่ทว่ั ไป มีอาชีพในการทานา ทาไร่ และในช่วงเวลาทีห่ ยุดการทาไร่ทานา ก็จะมีเวลาว่าง ประชาชนจึงอยากมีทักษะความรู้ในด้านการทาผลิตภัณฑ์จากเชือกป่านเพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ในการทาผลิตภัณฑจ์ ากเชอื กปา่ นและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพในชีวิตประจาวันได้ หลักการของหลักสตู ร เปน็ หลกั สตู รท่ีเน้นการศกึ ษาอาชีพเพ่อื มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนใหส้ ามารถนาความรดู้ งั กล่าวไปประยุกต์ใช้ ในการประกอบอาชพี และพฒั นาต่อยอดอันจะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต แก้ปัญหาของผู้เรียนได้อย่างเป็น รปู ธรรม การพัฒนาตนเองอยา่ งยั่งยนื และชมุ ชนเขม้ แข็งต่อไป จุดมงุ่ หมาย 1. เพ่ือให้ผ้เู รียนมีความรู้ความสามารถในการทาผลิตภัณฑ์จากเชอื กป่านได้ 2. เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถนาความรู้เรอ่ื งการทาผลิตภณั ฑ์จากเชือกป่านไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบ อาชพี ได้ กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนท่วั ไป ระยะเวลา จานวน 200 ชั่วโมง ภาคทฤษฎี 20 ชวั่ โมง ภาคปฏบิ ตั ิ 180 ชว่ั โมง
65 โครงสร้างหลกั สตู ร ที่ เร่ือง จุดประสงค์ เนือ้ หา การจัด จานวนชัว่ โมง การเรียนรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรียนรู้ 2- 4 16 1 ความรูพ้ ื้นฐาน เพ่อื ให้ผเู้ รียน 1.1 ประวัติความ บรรยาย ศึกษาจาก 4 36 การทาผลติ ภัณฑ์ มคี วามรู้เก่ียวกับ เป็นมา เอกสารความรู้ 4 86 จากเชือกป่าน การทาผลติ ภัณฑ์ 1.2 คุณลักษณะทีด่ ี แลกเปล่ียนความ จากเชอื กป่านได้ ของผลติ ภณั ฑ์เชือก คิดเหน็ และผเู้ รียน ปา่ น ปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอน 1.3 การเลอื กใชส้ ี และการจับคสู่ ี 2 วิธีการทา 2.1 เพอื่ ให้ผู้เรยี น 2.1 การทาทีใ่ ส่แก้ว บรรยาย ศึกษาจาก ผลิตภัณฑจ์ าก มคี วามรู้ การเลือกใช้ เอกสารความรู้ เชือกปา่ น ความสามารถใน และจัดเตรียมวัสดุ แลกเปล่ียนความ 2.1 การทาท่ใี ส่ การทาผลติ ภณั ฑ์ อุปกรณ์ คดิ เห็นและผู้เรยี น แกว้ จากเชอื กป่านได้ - การพนั รอบโครง ปฏิบัตติ ามข้นั ตอน 2.2 การทา 2.2 เพอ่ื ให้ - การมดั โครง (เดนิ ตะกรา้ ผู้เรยี นสามารถนา ปูรอบ) 2.3 การทา ความรเู้ รื่องการทา - การทาก้นที่ใส่แกว้ กระจาดหาบ ผลติ ภัณฑ์จาก - การข้ึนลายตัว 2.4 การทา เชือกปา่ นไป ช้ินงาน กระบงุ ประยุกต์ใชใ้ นการ - เก็บรายละเอียด ประกอบอาชีพได้ 2.2 การทาตะกรา้ การเลือกใช้ และจัดเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ - การพนั รอบโครง - การมัดโครง (เดนิ ปูรอบ) - การทากน้ ตะกร้า - การขนึ้ ลายตวั ชิน้ งาน - เก็บรายละเอียด 2.3 การทากระจาด หาบ การเลอื กใช้ และจดั เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ - การพันรอบโครง
66 ท่ี เรื่อง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา การจัด จานวนชวั่ โมง การเรียนรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบัติ 3 การดแู ลรักษา ผลิตภณั ฑจ์ าก เรยี นรู้ 4 36 เชอื กป่าน - การมัดโครง 11 4 แนวทางในการ จัดจาหนา่ ย (เดนิ ปูรอบ) 15 - การทาก้นกระจาด หาบ - การขึ้นลายตัว ช้นิ งาน - เกบ็ รายละเอียด 2.4 การกระบงุ การเลอื กใช้ และจดั เตรยี มวัสดุ อุปกรณ์ - การพนั รอบโครง - การมดั โครง (เดิน ปูรอบ) - การทากน้ กระบุง - การข้ึนลายตวั ชน้ิ งาน - เก็บรายละเอียด 3.1 เพื่อใหผ้ ู้เรยี น 3.1 การทาความ บรรยาย ศึกษาจาก มคี วามรู้เรื่องการ สะอาด เอกสารความรู้ ดแู ลรักษา 3.2 การเกบ็ แลกเปลี่ยนความ ผลติ ภัณฑ์จาก และบารุงรกั ษา คดิ เหน็ และผเู้ รยี น เชอื กปา่ น ปฏิบตั ติ ามขั้นตอน 3.2 เพื่อใหผ้ ู้เรยี น สามารถนาความรู้ เรอื่ งการดูแลรักษา ผลิตภณั ฑ์จาก เชอื กป่านไป ประยกุ ต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ การตลาด การคานวณต้นทนุ บรรยายเร่อื ง 4.1 วธิ ีการขาย ขาย การตลาด วธิ กี าร 4.2 การค้า 4.1 วธิ กี ารขาย เสนอขายสินคา้ ออนไลน์ 4.2 การค้าออนไลน์ การค้าออนไลน์ ว่า มีประโยชน์อยา่ งไร
67 สอ่ื /วัสดุอปุ กรณก์ ารเรียนรู้ 1. รปู ภาพ/ตวั อย่าง 2. เอกสารความรูเ้ รือ่ งการทาผลิตภัณฑจ์ ากเชือกปา่ น การวดั ผลและประเมินผล การสังเกต การสมั ภาษณ์ ผลงาน/ชนิ้ งาน เกณฑ์การจบหลกั สูตร 1. มีเวลาเรียน ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60
68 หลักสูตรอาชีพ การแปรรูปเหด็ จานวน 40 ชัว่ โมง กลมุ่ อาชพี ดา้ นอุตสาหกรรมหรือหตั ถกรรม ************** ความเป็นมา เห็ดเป็นแหลง่ อาหารที่มีโปรตีนสูงสามารถนาไปประกอบอาหารได้หลากหลายชนิดมีคุณค่าทางโภชนาการ แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับชนิดของเห็ด แต่เห็ดมีอายุการรักษาส้ันมีการเส่ือมเสียสภาพอย่างรวดเร็วต้องมีการเก็บ รักษาในสภาพอุณหภูมิที่เหมาะสมจึงมีการนาผลผลิตเห็ดไปแปรรูป ซึ่งคนในอาเภอหนองหญ้าไซส่วนใหญ่มี อาชีพเกษตรกร ทานา ทาไร่ ทาสวนผักสวนครัว สวนเกษตรแบบผสมผสานเป็นอาชีพหลัก เช่น การเพาะเห็ด นางฟ้า ผักสวนครัวต่างๆ การแปรรูปเห็ดจึงเป็นการนาผลผลิตทางการเกษตรที่อยู่ในพ้ืนที่ นามาแปรรูปเพ่ือเพิ่ม มูลค่าของผลผลิต ช่วยเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตรไว้บริโภคในครัวเรือนเป็นเวลานานโดยไม่เน่าเสีย ทาให้เกิด ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ท่ีมีรูปแบบและรสชาติแตกต่างจากเดิม ช่วยเพิ่มความหลากหลายให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร ทาให้บริโภคสะดวกและง่ายขึ้น นอกจากน้ียัง ช่วยเพิ่มช่องทางของตลาดให้มากขึ้น ช่วยกระจายปริมาณสินค้า เกษตรออกสู่ตลาดใน ปริมาณท่ีสมดุล และยังสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้ถ้านาผลผลผลิตท่ีมีในชุมชนนามา แปรรปู เพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั ผลผลิตทางการเกษตร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองหญ้าไซ ได้ตระหนักถึงความสาคัญใน เร่ืองการพัฒนาอาชีพและการส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้เพ่ิมข้ึน จึงได้จัดทาหลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์ จากเห็ด เพ่ือให้เกษตรกรและผู้สนใจสามารถนาความรู้และทักษะนาไปปฏิบัติให้ถูกต้องและนาไปพัฒนาอาชีพ ของตนเองหรือนาไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ หลักการของหลักสตู ร 1. เปน็ หลักสตู รท่สี นบั สนุนส่งเสริมการพฒั นาอาชีพและสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั คนในชมุ ชน 2. เปน็ หลักสูตรที่มุ่งเนน้ ให้ผู้เรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจและทักษะในการแปรรูปเห็ดอย่างถูกต้องตามหลัก โภชนาการ จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมมีความรู้และทักษะในเรื่องการแปรรูปเหด็ อยา่ งถูกต้องตามหลักโภชนาการ 2.เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้นาไปพัฒนาอาชีพของตนเองหรือนาไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวนั เป้าหมาย 1. เกษตรกรท่เี พาะเหด็ 2. กล่มุ แม่บา้ น 3. ประชาชนทั่วไปทีต่ ้องการมอี าชีพเสริม ระยะเวลา 40 ชัว่ โมง จานวน 9 ชว่ั โมง ทฤษฎี 31 ชว่ั โมง ปฏบิ ัติ
69 โครงสรา้ งหลักสูตร จดุ ประสงค์ เนอื้ หา การจัด จานวนช่ัวโมง การเรียนรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ท่ี เรอ่ื ง เรียนรู้ 1 หลกั สาคญั ในการแปรรปู 1.1 ผู้เขา้ รับ 1.1 การแปรรูป 1.1 วิทยากรอธบิ าย 1 - ผลิตภณั ฑท์ ที่ า การอบรมบอก อาหาร คืออะไร มีกีว่ ิธี ความหมาย และ มาจากเหด็ ความหมาย 1.2 การคัดเลือก ยกตวั อย่างการแปรรูป และวธิ กี ารแปรรูป วัตถุดิบ ทท่ี ่จี ะนามา อาหารจากเหด็ เห็ดได้ แปรรูป 1.2 ใหผ้ ูเ้ รยี น 2.ผเู้ ขา้ รับ 1.3 ประโยชนแ์ ละ ยกตัวอยา่ ง ทีเ่ คย การอบรม คุณคา่ ทางอาหารของ แปรรูปอาหารมา บอกวิธีการเลือก เห็ด คนละ 1 ชนดิ วัตถุดบิ ในการแปร 1.3 วทิ ยากรบอก รปู เห็ดได้ วธิ ีการเลอื กเห็ด 3.ผู้เขา้ รับ ที่จะนา มาแปรรูป การอบรม 1.4 วิทยากร บอกประโยชน์ ใหค้ วามรู้ เก่ยี วกบั และคุณค่า ประโยชน์ และคณุ ค่า ทางอาหารของเห็ด ทางอาหาร ของเห็ด 2 การแปรรปู 2.1 ผู้เข้ารับ 2.1 การแปรรปู 2.1 วทิ ยากร 1 - แหนมเห็ด การอบรมบอก แหนมเหด็ อธบิ ายความหมาย วธิ กี ารแปรรปู 2.2 การคดั เลอื ก และยกตัวอย่าง แหนมเห็ดได้ วตั ถุดบิ ที่จะนามา การแปรรปู แหนมเห็ด แปรรปู แหนมเห็ด 2.2 วทิ ยากรบอก 2.3 ประโยชน์ วิธีการเลอื กเหด็ และคณุ คา่ ทางอาหาร 3 อย่าง โดยใช้ ของแหนมเห็ด 2.2.1 เห็ดนางฟ้า 2.2.2 เห็ดฟาง 2.2.3 เห็ดหอมสด ทจ่ี ะนามาแปรรูป 2.2.4 วิทยากรให้ ความร้เู ก่ยี วกบั ประโยชน์ และคุณค่า ทางอาหาร ของแหนม เห็ด
70 ท่ี เร่อื ง จุดประสงค์ เนอ้ื หา การจดั จานวนชวั่ โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู้ 3 ขนั้ ตอน 3.1 ผเู้ ข้ารับ 3.1 การเตรยี ม 3.1 วทิ ยากรอธบิ าย - 3 1 - การแปรรูป การอบรมสามารถ อปุ กรณ์และการใช้ วธิ ีการเตรยี มอปุ กรณ์ 3.1 การเตรยี ม เตรียมอปุ กรณ์ อปุ กรณ์ในการแปรรปู ทสี่ าคัญ และการ อปุ กรณ์ การแปรรปู แหนม 3.2 ข้ันตอนการ เลอื กใชอ้ ุปกรณ์ 3.2 ขั้นตอนการ เห็ดได้ แปรรูปแหนมเหด็ ในการแปรรูป แปรรูป 3.2 ผเู้ ขา้ รบั 3.3 การเลือกใช้ แหนมเห็ด โดยใช้ แหนมเห็ด การอบรมสามารถ บรรจภุ ัณฑ์ เหด็ 3 อยา่ ง คือ 3.3 การบรรจุ แปรรูปแหนมเหด็ 3.3.1 ด้านความ เห็ดนางฟ้า เหด็ ฟาง ภัณฑแ์ หนมเห็ด ได้ สวยงาม และเหด็ หอมสด 3.4 การเกบ็ 3.3 ผูเ้ ข้ารบั 3.3.2 ดา้ นอายุ 3.2 วทิ ยากรอธบิ าย รกั ษาแหนมเห็ด การอบรมบอก การเก็บ วธิ ีการแปรรปู แหนม 3.5 การตลาด วธิ กี ารบรรจภุ ณั ฑ์ 3.3.4 การเกบ็ รักษา เหด็ และใหผ้ เู้ รียน เหด็ สวรรค์ได้ 3.3.5 การตลาด ลงมือปฏบิ ตั ิ ทลี ะ 3.4 ผเู้ ข้ารบั ขั้นตอน โดยวทิ ยากร การอบรมบอก แนะนา วิธีการเกบ็ รกั ษา 3.3 วทิ ยากรแนะนา เหด็ สวรรค์ได้ การเลือกใชบ้ รรจุ 3.5 ผเู้ ขา้ รบั ท่ีเหมาะสมกบั เหด็ การอบรมสามารถ สวรรค์ นาแหนมเห็ดไป 3.3.1 ดา้ นความ จาหน่ายได้ สวยงาม 3.3.2 ด้านอายุการ เกบ็ 3.4 วิทยากรแนะนา เร่อื งการเกบ็ รกั ษา แหนมเห็ด 3.5 วทิ ยากรแนะนา เรื่องการตลาด 4 การแปรรปู 4.1 ผู้เข้ารับการ 4.1 การแปรรปู 4.1 วทิ ยากรอธิบาย ลูกช้นิ เห็ด อบรมบอกวิธีการ ลกู ช้นิ เห็ด ความหมาย แปรรปู ลกู ชนิ้ เห็ด 4.2 การคัดเลอื ก และยกตวั อยา่ งการ ได้ วตั ถุดิบที่ท่จี ะนามา แปรรปู ลูกชนิ้ เหด็ แปรรปู ลูกชิน้ เหด็
71 ที่ เรือ่ ง จดุ ประสงค์ เนื้อหา การจัด จานวนช่ัวโมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรียนรู้ 4.2 ประโยชน์ 4.2 วทิ ยากรบอก และคณุ คา่ ทางอาหาร วธิ กี ารเลอื กเห็ด ของลกู ชิ้นเหด็ นางฟา้ ที่จะนามา แปรรปู 4.3 วิทยากร ให้ความรูเ้ ก่ียวกบั ประโยชน์และคณุ คา่ ทางอาหารของลกู ช้ิน เหด็ 5 ขน้ั ตอน 5.1 ผู้เขา้ รบั การ 5.1 การเตรยี ม 5.1 วิทยากรบอก - 4 การแปรรูป อบรมสามารถ อุปกรณ์และการใช้ วิธกี ารเตรยี มอปุ กรณ์ การเตรยี ม เตรียมอุปกรณ์การ อุปกรณ์ในการแปรรปู ที่สาคัญ และการ อปุ กรณ์ แปรรูปลูกชิ้นเห็ด 5.2 ขน้ั ตอนการแปร เลอื กใช้อุปกรณ์ 5.1 ขัน้ ตอนการ ได้ รปู ในการแปรรปู ลกู ชิ้น แปรรปู 5.2 ผเู้ ขา้ รับการ ลูกชิ้นเห็ด เห็ดโดยใช้ เหด็ นางฟ้า ลูกชิ้นเห็ด อบรมสามารถแปร 5.3 การเลือกใช้ 5.2 วทิ ยากรอธิบาย 5.2 การบรรจุ รูปลูกชนิ้ เหด็ ได้ บรรจภุ ณั ฑ์ วิธีการแปรรูปลูกช้ิน ภัณฑ์ลกู ชน้ิ เห็ด 5.3.1 ดา้ นความ เห็ดและให้ผเู้ รียนลง 5.2.1 การ 5.3 ผเู้ ขา้ รับการ สวยงาม มอื ปฏิบัตทิ ี่ละขน้ั ตอน เกบ็ รกั ษาลูกชิ้น อบรมบอกวธิ ีการ 5.3.2 ดา้ นอายุ โดยวิทยากรแนะนา เหด็ บรรจุภัณฑ์ลกู ชิ้น การเก็บ 5.3 วิทยากรแนะนา 5.2.2 เหด็ ได้ 5.4 การเก็บรักษา การเลอื กใช้บรรจุท่ี การตลาด 5.4 ผเู้ ขา้ รบั การ 5.5 การตลาด เหมาะสมกับเห็ด อบรมบอกวธิ ีการ ลูกชนิ้ เหด็ เกบ็ รักษาลกู ชนิ้ 5.3.1 ด้านความ เห็ดได้ สวยงาม 5.5 ผู้เข้ารบั การ 5.3.2 ด้านอายุ อบรมสามารถนา การเก็บ ลูกชน้ิ ไปจาหนา่ ย 5.3.4 วิทยากร ได้ แนะนาเร่ืองการเกบ็ รักษาลกู ชิ้นเหด็ 5.3.5 วิทยากร แนะนาเรื่องการตลาด
72 ท่ี เร่ือง จุดประสงค์ เนือ้ หา การจดั จานวนชว่ั โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ เรยี นรู้ 6 การแปรรูป ผู้เขา้ รบั การอบรม 6.1 การแปรรปู เห็ด 6.1 วทิ ยากรอธิบาย 1 - - 4 เหด็ สวรรค์ บอกวิธกี ารแปรรูป สวรรค์ ความหมาย เห็ดสวรรค์ได้ 6.2 การคดั เลอื ก และยกตวั อย่าง วตั ถดุ ิบที่ทจ่ี ะนามา การแปรรปู เหด็ สวรรค์ แปรรปู เหด็ สวรรค์ 6.2 วทิ ยากรบอก 6.3 ประโยชน์ วิธกี ารเลือกเหด็ และคุณค่าทางอาหาร นางฟ้าท่จี ะนามา ของเหด็ สวรรค์ แปรรปู 6.3 วิทยากร ให้ความรเู้ กยี่ วกับ ประโยชน์และคณุ ค่า ทางอาหารของ เห็ดสวรรค์ 7 ขัน้ ตอน 7.1 ผู้เขา้ รบั 7.2 การเตรยี ม 7.1 วิทยากรบอก การแปรรปู การอบรมสามารถ อปุ กรณ์และการใช้ วธิ ีการเตรยี มอปุ กรณ์ 7.1 การเตรยี ม เตรียมอุปกรณ์ อุปกรณ์ในการแปรรูป ทีส่ าคัญ และการ อุปกรณ์ การแปรรปู 7.2 ขนั้ ตอน เลอื กใช้อุปกรณ์ 7.2 ขัน้ ตอน เห็ดสวรรค์ได้ การแปรรูปเห็ดสวรรค์ ในการแปรรปู การแปรรปู 7.2 ผู้เข้ารบั 7.3 การเลอื กใช้บรรจุ ลกู เห็ดสวรรค์ เห็ดสวรรค์ การอบรมสามารถ ภัณฑ์ โดยใชเ้ หด็ นางฟ้า 7.3 การบรรจุ แปรรปู เห็ดสวรรค์ 7.3.1 ด้านความ 7.2 วิทยาอธบิ าย ภณั ฑเ์ ห็ดสวรรค์ ได้ สวยงาม วิธกี ารแปรรูปเหด็ 7.4 การเกบ็ 7.3 ผ้เู ขา้ รับ 7.3.2 ด้านอายุ สวรรค์และใหผ้ เู้ รยี น รกั ษาเหด็ สวรรค์ การอบรมบอก การเกบ็ ลงมอื ปฏบิ ัติ ทีล่ ะ 7.5 การตลาด วธิ กี ารบรรจภุ ณั ฑ์ 7.4 การเก็บรกั ษา ข้ันตอน โดยวิทยากร เหด็ สวรรค์ได้ 7.5 การตลาด แนะนา 7.4 ผ้เู ข้ารับ 7.3 วทิ ยากรแนะนา การอบรมบอก การเลือกใชบ้ รรจุ วิธกี ารเกบ็ รกั ษา ทีเ่ หมาะสมกบั เหด็ สวรรคไ์ ด้ เหด็ สวรรค์ 7.5 ผเู้ ข้ารบั 7.3.1 ด้านความ การอบรมสามารถ สวยงาม นาเหด็ สวรรคไ์ ป 7.3.2 ดา้ นอายุ จาหน่ายได้ การเกบ็
73 ท่ี เรอื่ ง จดุ ประสงค์ เนื้อหา การจดั จานวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ เรียนรู้ 7.4 วทิ ยากรแนะนา เรอ่ื ง การเก็บรักษา เหด็ สวรรค์ 7.5 วิทยากรแนะนา เร่ืองการตลาด 8 การแปรรูป 8.1 ผเู้ ขา้ รับ 8.1 การแปรรูป 8.1 วิทยากรอธิบาย 1 - - 4 ขา้ วเกรียบเหด็ การอบรมบอก ข้าวเกรยี บเห็ด ความหมาย วธิ กี ารแปรรปู 8.2 การคดั เลือก และยกตวั อยา่ ง ขา้ วเกรยี บเหด็ ได้ วตั ถุดบิ ทีท่ ี่จะนามา การแปรรูป แปรรูปขา้ วเกรียบเห็ด ขา้ วเกรียบเห็ด 8.3 ประโยชน์ 8.2 วิทยากร และคุณคา่ ทางอาหาร บอกวธิ ีการ ของข้าวเกรยี บเห็ด เลอื กเหด็ ฟาง อย่างท่ีจะนามา แปรรูป 8.3 วทิ ยากรให้ ความรู้เก่ยี วกับ ประโยชนแ์ ละคุณค่า ทางอาหารของขา้ ว เกรยี บเห็ด 9 ขัน้ ตอน 9.1 ผ้เู ขา้ รับ 9.1 การเตรียม 9.1 วิทยากรบอก การแปรรปู การอบรมสามารถ อุปกรณ์และการใช้ วิธีการเตรยี มอุปกรณ์ 9.1 การเตรียม เตรียมอุปกรณ์ อุปกรณ์ในการแปรรปู ทีส่ าคัญ และการ อุปกรณ์ การแปรข้าวเกรยี บ 9.2 ข้ันตอนการ เลือกใช้อุปกรณ์ 9.2 ขนั้ ตอน เห็ดได้ แปรรปู ข้าวเกรียบเหด็ ในการแปรรปู ข้าว การแปรรปู 9.2 ผเู้ ข้ารับ 9.3 การเลือกใช้ เกรียบเหด็ โดยใช้ ขา้ วเกรียบเห็ด การอบรมสามารถ บรรจุภณั ฑ์ เหด็ ฟาง 9.3 การบรรจุ แปรรูปขา้ วเกรียบ 9.3.1 ด้านความ 9.2 วทิ ยาอธิบาย ภัณฑ์ข้าวเกรียบ เห็ดได้ สวยงาม วิธีการแปรรูปข้าว เหด็ 9.3 ผู้เข้ารับ 9.3.2 ดา้ นอายุ เกรยี บเหด็ และให้ 9.4 การเกบ็ การอบรมบอก การเก็บ ผเู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ัติ รักษาขา้ วเกรียบ วธิ กี ารบรรจภุ ัณฑ์ 9.4 การเกบ็ รักษา ทลี ะขัน้ ตอน เหด็ ขา้ วเกรียบเหด็ ได้ 9.5 การตลาด โดยวทิ ยากรแนะนา 9.5 การตลาด
74 ท่ี เร่ือง จุดประสงค์ เนอ้ื หา การจัด จานวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 10 การแปรรปู 9.4 ผู้เข้ารับ 10.1 การแปรรปู เห็ด กระบวนการ เหด็ ทอด การอบรมบอก ทอดสมุนไพร 1- สมุนไพร วธิ กี ารเก็บรกั ษา 10.2 การคัดเลอื ก เรียนรู้ ขา้ วเกรียบเห็ดได้ วัตถดุ ิบที่ท่ีจะนามา -4 11 ข้ันตอน 9.5 ผู้เขา้ รบั แปรรปู เหด็ ทอด 9.3 วทิ ยากรแนะนา การแปรรูป การอบรมสามารถ สมนุ ไพร การเลอื กใช้บรรจุ 11.1 การ นาขา้ วเกรียบเหด็ 10.3 ประโยชน์ ทเี่ หมาะสมกบั เตรียมอุปกรณ์ ไปจาหน่ายได้ และคณุ ค่าทางอาหาร ข้าวเกรียบเห็ด 11.2 ขั้นตอน ของเห็ดทอดสมุนไพร 9.3.1 ดา้ นความ การแปรรปู ผู้เข้ารับการอบรม สวยงาม เห็ดทอด บอกวธิ ีการแปรรูป 11.1 การเตรียม 9.4.1 ดา้ นอายุ สมุนไพร เห็ดทอดสมุนไพร อุปกรณ์ และการ การเกบ็ ได้ ใช้อุปกรณ์ใน 9.5 วิทยากรแนะนา การแปรรปู เรอ่ื ง การเก็บรกั ษา 11.1 ผู้เข้ารบั 11.2 ข้ันตอนการ ข้าวเกรียบเหด็ การอบรมสามารถ แปรรปู เหด็ ทอด 9.6 วิทยากรแนะนา เตรียมอุปกรณ์ สมุนไพร เรอ่ื งการตลาด การแปรรปู เห็ด ทอดสมนุ ไพรได้ 10.1 วทิ ยากรอธบิ าย ความหมาย และยกตัวอย่าง การแปรรูปเหด็ ทอด สมุนไพร 10.2 วิทยากรบอก วธิ กี ารเลือกเหด็ นางฟา้ ท่ีจะนามา แปรรปู 10.3 วทิ ยากร ใหค้ วามรู้เก่ียวกับ ประโยชน์และคุณคา่ ทางอาหารของเห็ด ทอดสมนุ ไพร 11.1 วทิ ยากรบอก วิธีการเตรยี มอุปกรณ์ ที่สาคัญและการ เลอื กใช้อุปกรณ์ใน การแปรรปู เหด็ ทอด สมนุ ไพรโดยใช้เหด็ นางฟา้
75 ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ เน้อื หา การจัด จานวนชว่ั โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู้ 11.2 การบรรจุ 11.2 ผเู้ ขา้ รบั 11.3 การเลอื กใช้ 11.2 วิทยาอธบิ าย ภณั ฑ์เหด็ ทอด การอบรมสามารถ บรรจุภณั ฑ์ วิธีการแปรรปู ลกู ชิ้น สมนุ ไพร แปรรูปเหด็ ทอด 11.3.1 ด้านความ เหด็ และให้ผ้เู รียนลง 11.3 การเก็บ สมุนไพรได้ สวยงาม มอื ปฏิบตั ิทลี่ ะข้ันตอน รกั ษาเห็ดทอด 11.3 ผู้เขา้ รับ 11.3.2 ดา้ นอายุ โดยวิทยากรแนะนา สมุนไพร การอบรมบอก การเก็บ 11.3 วทิ ยากรแนะนา 11.4 การตลาด วิธีการบรรจภุ ณั ฑ์ 11.4 การเกบ็ รกั ษา การเลือกใช้บรรจุท่ี เหด็ ทอดสมนุ ไพร 11.5 การตลาด เหมาะสมกับเหด็ ทอด ได้ สมุนไพร 11.4 ผูเ้ ข้ารับ 11.3.1 ด้านความ การอบรมบอก สวยงาม วิธีการเก็บรกั ษา 11.3.2 ดา้ นอายุ เห็ดทอดสมนุ ไพร การเกบ็ ได้ 11.4 วิทยากรแนะนา 11.5 ผ้เู ข้ารบั เรื่อง การเกบ็ รักษา การอบรมสามารถ เหด็ ทอดสมุนไพร นาเห็ดทอด 11.5 วิทยากร สมุนไพรไป แนะนาเร่ืองการตลาด จาหนา่ ย 12 การแปรรปู ผู้เข้ารับการอบรม 12.1 การแปรรูป 12.1 วทิ ยากรอธบิ าย 1 - นา้ พริกเหด็ บอกวธิ กี ารแปรรปู น้าพริกเห็ด ความหมายและ นา้ พริกเห็ดได้ 12.2 การคัดเลือก ยกตวั อย่างการแปรรูป วตั ถุดิบท่ที จ่ี ะนามา นา้ พริกเหด็ แปรรูปนา้ พรกิ เห็ด 12.2 วิทยากรบอก 12.3 ประโยชน์ วธิ กี ารเลือกเหด็ หอม และคุณค่าทางอาหาร ทีจ่ ะนามาแปรรปู ของน้าพริกเหด็ 12.3 วทิ ยากร ให้ความรู้ เกีย่ วกบั ประโยชน์ และคณุ ค่า ทางอาหาร ของน้าพริกเห็ด
76 ท่ี เร่ือง จดุ ประสงค์ เนอื้ หา การจดั จานวนช่วั โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู้ 13 ขั้นตอน 13.1 ผูเ้ ขา้ รับ 13.1 การเตรียม 13.1 วทิ ยากร - 4 1 - การแปรรปู การอบรมสามารถ อปุ กรณ์และการใช้ บอกวธิ กี ารเตรียม 13.1 การ เตรยี มอปุ กรณ์ อุปกรณ์ในการแปรรูป อปุ กรณ์ท่สี าคัญ เตรยี มอุปกรณ์ การแปรรปู น้าพริก 13.2 ขั้นตอนการ และการเลือกใช้ 13.2 ขัน้ ตอน เห็ดได้ แปรรูปนา้ พรกิ เห็ด อุปกรณ์ในการแปรรปู การแปรรปู 13.2 ผู้เข้ารบั การ 13.3 การเลือกใช้ น้าพรกิ เห็ดโดยใช้ น้าพรกิ เหด็ อบรมสามารถแปร บรรจภุ ัณฑ์ เหด็ หอม 13.3 การบรรจุ รูปนา้ พรกิ เห็ดได้ 13.3.1 ด้านความ 13.2 วิทยากรอธบิ าย ภัณฑ์นา้ พริกเห็ด 13.3 ผู้เขา้ รับการ สวยงาม วธิ ีการแปรรูปนา้ พริก 13.4 การเกบ็ อบรมบอกวธิ กี าร 13.3.2 ด้านอายุ เหด็ และใหผ้ ู้เรยี นลง รักษาน้าพรกิ เหด็ บรรจภุ ณั ฑน์ ้าพริก การเกบ็ มอื ปฏบิ ัติที่ละขั้นตอน 13.5 การตลาด เหด็ 13.4 การเก็บรักษา โดยวิทยากรแนะนา 13.4 ผู้เข้ารับการ 13.5 การตลาด 13.3 วทิ ยากรแนะนา อบรมบอกวิธีการ การเลอื กใชบ้ รรจทุ ่ี เก็บรักษาน้าพริก เหมาะสมกบั นา้ พรกิ เหด็ ได้ เหด็ 13.5 ผ้เู ขา้ รับการ 13.3.1 ด้านความ อบรมสามารถนา สวยงาม น้าพริกเห็ดไป 13.3.2 ดา้ นอายุ จาหน่าย การเกบ็ 13.4 วทิ ยากรแนะนา เร่ืองการเกบ็ รกั ษา น้าพริกเห็ด 13.5 วิทยากรแนะนา เรือ่ งการตลาด 14 การแปรรูป ผู้เข้ารับการอบรม 14.1 การแปรรปู 14.1 วทิ ยากรอธิบาย ทอดมันเห็ด บอกวธิ กี ารแปรรูป ทอดมันเห็ด ความหมายและ ทอดมนั เห็ดได้ 14.2 การคดั เลอื ก ยกตวั อย่างการแปรรปู วตั ถุดิบท่ที ่จี ะนามา ทอดมันเห็ด แปรรูปทอดมันเหด็ 14.2 วทิ ยากรบอก 14.3 ประโยชน์และ วธิ กี ารเลือกเหด็ คุณคา่ ทางอาหารของ นางฟา้ ทจี่ ะนามา ทอดมันเห็ด แปรรูป
77 ท่ี เรือ่ ง จุดประสงค์ เนอื้ หา การจดั จานวนชัว่ โมง การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 15 ขนั้ ตอน 15.1 การเตรยี ม กระบวนการ การแปรรูป 15.1 ผเู้ ขา้ รับ อุปกรณ์และการใช้ -4 15.1 การ การอบรมสามารถ อุปกรณ์ในการแปรรปู เรียนรู้ เตรยี มอปุ กรณ์ เตรยี มอุปกรณ์ 15.2 ข้นั ตอนการ 1- 15.2 ขั้นตอน การแปรรูป แปรรปู ทอดมนั เห็ด 14.3 วิทยากร ให้ การแปรรปู ทอดมันเห็ดได้ 15.3 การเลอื กใช้ ความรเู้ กีย่ วกบั ทอดมนั เห็ด 15.2 ผู้เข้ารบั บรรจภุ ัณฑ์ ประโยชน์ และคณุ ค่า 15.3 การบรรจุ การอบรมสามารถ ทางอาหาร ของ ภัณฑ์ทอดมนั แปรรปู ทอดมนั 15.3.1 ด้านความ ทอดมนั เห็ด เหด็ เห็ดได้ สวยงาม 15.4 การเกบ็ 15.3 ผูเ้ ขา้ รับ 15.1 วทิ ยากรบอก รกั ษาทอดมัน การอบรมบอก 15.3.2 ด้านอายุ วธิ กี ารเตรยี มอปุ กรณ์ เห็ด วิธกี ารบรรจุภัณฑ์ การเก็บ ทีส่ าคญั และการ 15.5 การตลาด ทอดมันเห็ดได้ 15.4 การเก็บรกั ษา เลอื กใช้อุปกรณ์ในการ 15.4 ผูเ้ ข้ารับ 15.5 การตลาด แปรรูปทอดมันเหด็ 16 การแปรรูป การอบรมบอก โดยใช้ เหด็ นางฟ้า หมยู อเหด็ วธิ กี ารเก็บรักษา 16.1 การแปรรูป 15.2 วิทยากรอธิบาย ทอดมันเห็ดได้ หมยู อเหด็ วธิ ีการแปรรูปทอดมัน 15.5 ผู้เข้ารบั 16.2 การคดั เลือก เห็ดและใหผ้ ู้เรยี นลง การอบรมสามารถ วตั ถุดิบท่ที ่จี ะนามา มือปฏบิ ัติท่ลี ะขน้ั ตอน นาทอดมนั เห็ดไป แปรรปู หมยู อเห็ด โดยวทิ ยากรแนะนา จาหนา่ ยได้ 15.3 วิทยากรแนะนา การเลอื กใช้บรรจุที่ ผเู้ ข้ารับการอบรม เหมาะสมกับทอดมนั บอกวิธีการแปรรูป เห็ด หมยู อเหด็ ได้ 15.3.1 ด้านความ สวยงาม 15.3.2 ดา้ นอายุ การเก็บ 15.4 วิทยากรแนะนา เรอื่ ง การเกบ็ รกั ษา ทอดมันเห็ด 15.5 วิทยากรแนะนา เร่ืองการตลาด 16.1 วทิ ยากรอธิบาย ความหมาย และ ยกตัวอย่างการแปรรปู หมูยอเหด็
78 ท่ี เร่ือง จดุ ประสงค์ เนือ้ หา การจดั จานวนช่วั โมง การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู้ 16.3 ประโยชน์ 16.2 วิทยากรบอก และคณุ คา่ ทางอาหาร วิธกี ารเลือกเห็ด ของหมูยอเหด็ 3 อยา่ ง คือ เหด็ นางฟา้ เห็ดฟาง เหด็ หอม ทจ่ี ะนามาแปรรปู 16.3 วทิ ยากร ให้ความรเู้ ก่ยี วกับ ประโยชน์ และคณุ ค่า ทางอาหาร ของหมยู อเห็ด 17 ขัน้ ตอน 17.1 ผเู้ ข้ารบั 17.1 การเตรียม 17.1 วิทยากรบอก - 4 การแปรรูป การอบรมสามารถ อปุ กรณ์และการใช้ วิธกี ารเตรยี มอปุ กรณ์ 17.1 การ เตรียมอุปกรณ์ อปุ กรณ์ใน ทสี่ าคัญ และการ เตรยี มอุปกรณ์ การแปรรูป การแปรรปู เลือกใชอ้ ุปกรณ์ใน 17.2 ขัน้ ตอน หมยู อเห็ดได้ 17.2 ขั้นตอนการ การแปรรปู หมยู อเห็ด การแปรรูป 17.2 ผู้เข้ารับ แปรรูปหมูยอเห็ด โดยใช้ เหด็ นางฟ้า หมูยอเหด็ การอบรมสามารถ 17.3 การเลือกใช้ เหด็ ฟาง เหด็ หอม 17.3 การบรรจุ แปรรูปหมูยอเห็ด บรรจุภัณฑ์ 17.2 วิทยากรอธบิ าย ภณั ฑห์ มูยอเห็ด ได้ 17.3.1 ดา้ น วธิ ีการแปรรูปหมยู อ 17.4 การเกบ็ 17.3 ผเู้ ข้ารบั ความสวยงาม เหด็ และให้ผู้เรียนลง รักษาหมูยอเหด็ การอบรมบอก 17.3.2 ดา้ น มอื ปฏิบัตทิ ลี่ ะข้ันตอน 17.5 การตลาด วธิ ีการบรรจภุ ณั ฑ์ อายกุ ารเกบ็ โดยวทิ ยากรแนะนา ลูกชน้ิ เหด็ ได้ 17.4 การเก็บรักษา 17.3 วทิ ยากรแนะนา 17.4 ผู้เขา้ รบั 17.5 การตลาด การเลือกใชบ้ รรจุ การอบรมบอก ท่เี หมาะสมกบั วิธีการบรรจภุ ณั ฑ์ หมูยอเห็ด หมูยอเห็ดได้ 17.3.1 ดา้ น 17.5 ผเู้ ขา้ รับ ความสวยงาม การอบรมสามารถ 17.3.2 ด้านอายุ นาหมูยอเหด็ ไป การเก็บ จาหน่ายได้ 17.4 วิทยากรแนะนา เรอื่ งการเกบ็ รกั ษาหมู ยอเห็ด
79 จุดประสงค์ การจดั จานวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ ที่ เรอ่ื ง เนอ้ื หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เรยี นรู้ 17.5 วิทยากรแนะนา เรอื่ ง การตลาด ส่ือการเรียนรู้ 1. คู่มอื เกี่ยวกบั การแปรรูปเห็ด 2. อปุ กรณ์ในการแปรรปู เหด็ การวดั ผลและประเมนิ ผล การสังเกต การสมั ภาษณ์ ผลงาน/ชน้ิ งาน เกณฑ์การจบหลกั สตู ร 1. มเี วลาเรยี น ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
80 หลกั สตู รอาชีพ การทาผลิตภัณฑจ์ ากผ้าทอพ้ืนบา้ น จานวน ๒๐๕ ช่วั โมง กลุม่ อาชพี ด้านอุตสาหกรรมหรือหตั ถกรรม ************** ความเป็นมา อาเภออู่ทองได้จัดให้เป็นพ้ืนที่พิเศษเพ่ือการท่องเที่ยวแบบย่ังยืน และยังเป็นเมืองท่องเท่ียว เมืองโบราณอู่ทอง ซึ่งจะทาให้นักท่องเท่ียวและผู้ท่ีสนใจเข้ามาท่องเที่ยวในอาเภออู่ทอง และได้ซึมซับกับ บรรยากาศท่ีรายล้อมไปด้วยโบราณสถาน แหล่งอารยธรรมเก่าแก่สมัยสุวรรณภูมิ สัมผัสกับบรรยากาศวิถีชีวิต ของชนเผ่าต่างๆ ที่ยังคงอาศัยอยู่ในอาเภออู่ทอง ซ่ึงปัจจุบันการดาเนินชีวิต ตามวิถีชีวิตของชาติพันธุ์ ศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน 5 ชาติพันธ์ุ ลาวเวียง ลาวคร่ัง ไทยทรงดา ไทยพื้นถ่ิน ไทยจีน ยังคงความเป็น เอกลักษณ์ อตั ลกั ษณ์ และวัฒนธรรมของชนเผ่าไดอ้ ยา่ งกลมกลนื หญิงไทย (เชื้อสายลาวคร่ัง ลาวเวียง) ในสมัยโบราณ ได้รับการฝึกให้ทอผ้าตั้งแต่เยาว์วัย เพ่ือนาไปใช้ เป็นนุ่งหุ่ม ผ้าบูชาพระ ของกานัล ตลอดจนถึงเคร่ืองแต่งกายพิธี แต่งงานของตนเอง การทอผ้า จึงเป็นวิถีชีวิต ของคนไทยมาโดยตลอด จวบจนถึงปัจจุบัน “ผ้าทอ” เป็นงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านท่ีสะท้อนวิถีชีวิต วัฒนธรรมและอารยธรรมของกลุ่มชนในท้องถ่ินท่ีสืบทอดกันมา ผ้าทอพ้ืนเมืองของแต่ละท้องถ่ินจะมีรูปแบบ ของสีสัน ลวดลาย และกรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างกันไป แม้ว่าจะผลิตข้ึนมาจากวัตถุดิบประเภทเดียวกัน คือฝ้ายหรือไหม แต่ละท่ีก็จะมีเอกลักษณ์ของตนเอง ซึ่งได้รับการสืบทอดมาจากขนบธรรมเนียมประเพณี ความเช่ือทางวัฒนธรรมในการดารงชีวิต ผสมผสานกับค่านิยมในสังคมที่สืบทอดกันมาจากชุมชนต้นกาเนิด การทอผ้าเป็นอีกอาชีพหน่ึงที่มีอยู่คู่กับชาวบ้านมาช้านาน ตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษและมีการสืบทอดต่อกันมา จากรุ่นสู่รุ่นจนมาถึงปัจจุบัน แต่เน่ืองจากปัจจุบันมีเทคโนโลยีท่ีทันสมัยเข้ามาจึงทาให้กรรมวิธีในการทอผ้า แบบดั้งเดิมของคนไทยจึงเปลี่ยนไปและเร่ิมก้าวเข้าไปสู่ระบบอุตสาหกรรมมากข้ึนซึ่งอาจทาให้วิถี การประกอบอาชีพที่เกิดจากภูมิปัญญาในท้องถิ่นเริ่มสูญหายไปช้าๆ และแทบไม่เหลือไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษา เพื่อการสืบสานและอนุรักษ์อีกต่อไปในอนาคต ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภออู่ทอง จึงเล็งเห็นถึงความสาคัญในการจะพัฒนาและต่อยอดผ้าทอให้มีมูลค่าและเป็นที่รู้จักของคน ได้ทั่วๆ ไป หลักการของหลักสตู ร 1. เป็นหลกั สตู รท่ีเน้นการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมงี านทา 2. เปน็ หลกั สตู รทเี่ นน้ การเรยี นรจู้ ากการปฏิบตั ิจริง เพอื่ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี ได้จรงิ จุดมุง่ หมาย 1. ผู้เรยี นมคี วามรู้ ทักษะ ในการทาผลติ ภณั ฑ์จากผ้าทอพื้นบา้ น 2. ต้องการใหม้ ีรายได้และมีอาชีพจากการทาผลิตภัณฑ์จากผ้าทอพน้ื บ้าน เป้าหมาย ประชาชน และกลมุ่ เป้าหมายนอกระบบโรงเรียน 1. ผทู้ ่ีไมม่ ีอาชีพ 2. ผู้ทมี่ อี าชีพและพฒั นาอาชีพ
81 ระยะเวลา ๒0๕ ชว่ั โมง จานวน 5 ชัว่ โมง ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ๒๐๐ ช่ัวโมง โครงสร้างหลกั สตู ร จดุ ประสงค์ การจัด จานวนชั่วโมง ท่ี เรอ่ื ง การเรียนรู้ เนือ้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ๑ ความรเู้ บ้ืองตน้ เรยี นรู้ ๓- การทาผลติ ภัณฑ์ จากผ้าทอ 1.1 เพื่อให้ 1.1 ความสาคัญ วทิ ยากรอธบิ าย - ๑๐ พน้ื บ้าน ผู้เรียนสามารถ ของการทากระเป๋า การเลือกใช้วัสดุ ๒ การทากระเป๋า ใส่เหรยี ญ บอกวิธเี ลอื กใช้ คุณนายจากผา้ ทอ อปุ กรณ์ตา่ งๆ จากผา้ ทอ พ้ืนบ้าน อุปกรณ์ในการ 1.2 ความรู้เบอื้ งต้น และอธบิ าย ทากระเปา๋ เกีย่ วกับการทา ขนั้ ตอนการทา คุณนายจากผ้าทอ ผลิตภณั ฑจ์ ากผา้ ทอ กระเปา๋ การเลือกสผี ้า พน้ื บ้าน การใช้อุปกรณ์ และเส้นด้าย 1.3 ประวตั ิความ ในการทา และปฏบิ ัตไิ ด้ เปน็ มา และ ผลิตภัณฑ์ 1.2 การเตรยี ม ประโยชน์ของการทา จากผา้ ทอ และการใชว้ ัสดุ ผลติ ภัณฑ์จากผ้าทอ พ้ืนบา้ น พรอ้ มการเกบ็ พน้ื บ้าน รกั ษาวสั ดุ 1.4 ความเป็นไปได้ อปุ กรณ์ใน ในการประกอบ การทาผลิตภณั ฑ์ อาชีพ จากผา้ ทอพืน้ บา้ น 1.5 แหลง่ เรยี นรู้ เกย่ี วกับการทา กระเป๋าคุณนาย จากผา้ ทอ ๒.๑ ผูเ้ รยี น ๒.๑ การเตรียม ๒.๑ วิทยากร สามารถทา และการเลือกใช้วัสดุ อธิบายขั้นตอน กระเปา๋ ใสเ่ หรยี ญ ให้เหมาะสมการเยบ็ ตามลาดบั จาก จากผา้ ทอพ้นื บา้ น กระเป๋าใสเ่ หรยี ญ งา่ ยไปหายาก ได้ ๒.๒ การเลือกใช้ผา้ ๒.๒ ผู้เรยี นลงมือ สาหรบั เย็บกระเปา๋ ปฏิบตั ิการทา ใส่เหรยี ญ กระเปา๋ ใส่เหรียญ ๒.๓ การเตรยี ม และเลอื กใชว้ สั ดุ
82 จดุ ประสงค์ การจดั จานวนช่วั โมง การเรยี นรู้ ท่ี เรื่อง เนอื้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรียนรู้ ๓ การทาพวงกุญแจ ผู้เรยี นสามารถ ๓.๑ การเตรยี ม ๓.๑ วิทยากร - ๑๐ จากผ้าทอ ทาพวงกุญแจ และการเลือกใชว้ ัสดุ อธบิ ายขัน้ ตอน พื้นบา้ น จากผา้ ทอพน้ื บ้าน ให้เหมาะสมการทา ตามลาดับจาก ได้ พวงกุญแจ ง่ายไปหายาก ๓.๒ การเลือกใช้ ๓.๒ ผู้เรยี นลงมอื ผ้าสาหรบั เยบ็ ปฏบิ ัติการทา พวงกุญแจ พวงกญุ แจ ๓.๒.๑ การเตรียม และเลอื กใชว้ ัสดุ ๓.๒.๒ ขนั้ ตอน การทาพวงกุญแจ จากผา้ ทอพน้ื บ้าน ๔ การทาย่าม ผ้เู รียนสามารถ ๓.๓ วาดแบบตาม - ๒๕ จากผ้าทอ ยา่ มจากผ้าทอ ช้นิ สว่ นต่างๆ พ้นื บ้าน พน้ื บ้านได้ ๓.๓.๑ ตัดผา้ ตามแบบ 3.๓.๒ เยบ็ ดอก หน้าหมอนในดา้ น ทต่ี อ้ งการ ๓.4 เยบ็ และ ประกอบรูปทรง ตามแบบทต่ี ้องการ และยดั ใยสงั เคราะห์ ดา้ นใน ๓.5 เย็บพู่ติด ด้านลา่ ง ๓.6 นาพวงกุญแจ มาติดด้านบน ๓.7 ตกแตง่ เกบ็ ความเรียบร้อย ๔.๑ การเตรียม ๔.๑ วทิ ยากร และการเลือกใชว้ ัสดุ อธบิ ายขั้นตอน ใหเ้ หมาะสมการเยบ็ ตามลาดบั จาก ยา่ ม ง่ายไปหายาก
83 ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงค์ การจัด จานวนช่ัวโมง การเรยี นรู้ เน้ือหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ เรยี นรู้ ๔.๒ การเลือกใชผ้ า้ ๔.๒ ผู้เรียนลงมอื สาหรบั เยบ็ ยา่ ม ปฏิบตั ิการทาย่าม ๔.๓ การเตรยี ม จากผ้าทอ และเลือกใชว้ ัสดุ ๔.๔ การสร้างแบบ และตดั ผ้า ๔.๔.๑ ตัวย่าม ๔.๔.๒ สายสะพาย ย่าม ๔.๕ การอัดกาว ๔.๕.๑ อัดกาว ตวั ยา่ ม ๔.๕.๒ อัดกาว สายสะพายยา่ ม ๔.๖ การตดั เย็บ ๔.๖.๑ เย็บเนา ซับใน ๔.๖.๒ ติดซิปทต่ี ัว ซบั ใน ๔.๖.๓ เนาและเยบ็ ตวั ยา่ มให้ติดกับ ซับใน ๔.๖.๔ เย็บเก็บ ปากยา่ มให้เรยี บร้อย ๔.7 ตกแตง่ สาย ดา้ นล่างทัง้ สองชาย และเยบ็ ประกอบ สายใหเ้ รียบร้อย ๔.8 เย็บสายสะพาย ใหต้ ิดกบั ตวั ย่าม ๔.9 ด้นมือรอบตวั ย่ามและตกแตง่ ลวดลายด้วยการปัก ๔.10 เยบ็ ซิปทีข่ อบ ปากยา่ มใหเ้ รียบร้อย
84 ท่ี เรื่อง จดุ ประสงค์ เนื้อหา การจัด จานวนชว่ั โมง ๕ การทากล่องใส่ การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ผ้เู รียนสามารถ ๕.๑ การเตรยี ม แว่นตา ทากล่องใส่ และการเลือกใชว้ สั ดุ เรยี นรู้ - ๒๕ จากผ้าทอ แวน่ ตาจาก ให้เหมาะสมการเย็บ ๕.๑ วทิ ยากร พื้นบา้ น ผา้ ทอพืน้ บ้านได้ กลอ่ งใส่แวน่ ตา อธิบายขัน้ ตอน - ๒๕ ๕.๒ การเลือกใชผ้ ้า ตามลาดบั จาก ๖ การทากระเป๋า ผเู้ รียนสามารถ สาหรบั เย็บกล่อง งา่ ยไปหายาก เอนกประสงค์ ทากระเปา๋ ใส่แวน่ ตา ๕.๒ ผู้เรียนลง จากผ้าทอ เอนกประสงค์ ๕.๓ การเตรียม มือปฏิบตั ิการ พืน้ บา้ น จากผ้าทอพ้ืนบ้าน และเลอื กใชว้ สั ดุ กล่องใสแ่ ว่นตา ได้ ๕.๔ การอัดกาว แผน่ รองกล่อง ๖.๑ วิทยากร ใส่แวน่ ตา อธิบายขั้นตอน ๕.๕ การตดั เยบ็ ตามลาดบั จาก ๕.๕.๑ ตดั ผา้ ตาม งา่ ยไปหายาก ขนาดทีต่ ้องการ ๖.๒ ผู้เรยี นลงมือ ๕.๕.๒ เยบ็ และ ปฏบิ ัติการเยบ็ ประกอบรปู ทรง กระเป๋า ๕.๕.๓ เย็บตกแตง่ เอนกประสงค์ ลวดลายดา้ นนอก จากผา้ ทอ ๖.๑ การเตรยี ม พื้นบา้ น และการเลือกใช้วัสดุ ให้เหมาะสมการทา กระเป๋า เอนกประสงค์ ๖.๒ การเลือกใช้ผ้า สาหรับเย็บกระเปา๋ และผ้าซับใน ๖.๓ การเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ ๖.๔ การสร้างแบบ และตัดผา้ ๖.๔.๑ ด้านนอก ๖.๔.๒ ดา้ นใน ๖.๕ ตกี รอบสรา้ ง รูปแบบ
85 จดุ ประสงค์ การจดั จานวนชัว่ โมง การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ท่ี เรอื่ ง เนอ้ื หา กระบวนการ ผเู้ รยี นสามารถ - ๒๕ ๗ การทาหมวก ทาหมวกจากผา้ เรยี นรู้ จากผา้ ทอ ทอพน้ื บา้ นได้ - ๓๕ พน้ื บ้าน ๖.๖ การตดั เย็บ ผเู้ รียนสามารถ ๘ การทากระเป๋า ทากระเปา๋ ๖.๖.๑ เย็บเนา คุณนาย คุณนายจาก จากผา้ ทอ ผา้ ทอพ้นื บา้ นได้ ตวั กระเปา๋ พนื้ บ้าน ๖.๖.๒ การเย็บ ตวั กระเปา๋ ๖.๖.๓ การเนา และเย็บซับใน ๖.๖.๔ เย็บ ประกอบด้านนอก และซับในของ กระเปา๋ ๖.๖.๕ การตดิ ซิป ๗.๑ การเตรียม ๗.๑ วทิ ยากร และการเลือกใชว้ ัสดุ อธบิ ายข้นั ตอน ให้เหมาะสมการเย็บ ตามลาดบั จาก หมวก งา่ ยไปหายาก ๗.๒ การเลือกใชผ้ า้ ๗.๒ ผเู้ รียนลงมอื สาหรับเย็บหมวก ปฏบิ ตั ิการทา ๗.๓ การเตรยี ม หมวก และเลอื กใชว้ ัสดุ ๗.๔ การออกแบบ และสร้างแบบ ๗.๔.๑ ตัดผา้ ตามขนาดทตี่ ้องการ ๗.๔.๒ เยบ็ ประกอบรปู ทรง ๗.๔.๓ เยบ็ ตกแตง่ ลวดลาย ๘.๑ การเตรียม ๘.๑ วทิ ยากร และการเลือกใช้วัสดุ อธิบายข้ันตอน ให้เหมาะสมกบั ตามลาดบั จาก การทากระเปา๋ ง่ายไปหายาก คุณนายจากผ้าทอ ๘.๒ ผูเ้ รียนลง ๘.๒ การเลอื กใช้ผา้ มอื ปฏบิ ตั ิการทา สาหรบั เย็บกระเปา๋ กระเปา๋ คณุ นาย และผา้ ซับใน จากผ้าทอ
86 ที่ เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ การจัด จานวนชัว่ โมง การเรยี นรู้ เนอื้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ๙ การทาร่ม จากผา้ ทอ เรยี นรู้ ๔๕ พน้ื บา้ น ๘.๓ การเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ ๘.๔ การสร้างแบบ และตดั ผ้า ๘.๔.๑ ดา้ นนอก ๘.๔.๒ ซับใน ๘.5 การอัดกาว ๘.5.๑ ผา้ ช้นิ นอก ๒ ชั้น ๘.5.๒ อัดกาว แผ่นโฟมยางพารา ๘.6 ตีกรอบสรา้ ง รูปแบบ ๘.7 การตดั เยบ็ ๘.7.๑ เย็บเนาตัว กระเปา๋ ๘.7.๒ การเยบ็ ตวั กระเป๋า ๘.7.๓ การเนา และเยบ็ ผ้าซับใน ๘.7.๔ เยบ็ ประกอบด้านนอก และซบั ในของ กระเปา๋ ๘.7.๕ กนุ้ ปาก กระเปา๋ ๘.8 การใส่ปาก กระเปา๋ ขนั น็อต และหยอดกาว ผู้เรียนสามารถทา ๙.๑ การเตรยี ม ๙.๑ วิทยากร รม่ จากผ้าทอ และการเลือกใชว้ ัสดุ อธิบายข้ันตอน พ้นื บา้ นได้ ใหเ้ หมาะสมการทา ตามลาดับจาก รม่ งา่ ยไปหายาก ๙.๒ การเลือกใชผ้ ้า ๙.๒ ผู้เรยี นลง สาหรบั ทาร่ม มอื ปฏิบตั ิการทา รม่
87 จดุ ประสงค์ การจดั จานวนช่ัวโมง การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ที่ เรอื่ ง เนือ้ หา กระบวนการ การวางแผนด้าน ๒- ๑๐ การบรหิ าร การตลาด และ เรยี นรู้ จดั การในการ องคป์ ระกอบใน จาหน่าย การประกอบ ๙.๓ การเตรยี ม ผลิตภณั ฑจ์ ากผา้ อาชพี ทอพื้นบ้าน และเลือกใช้วัสดุ ๙.๔ การสร้าง แบบ ๙.๕ การวดั ขนาด ๙.๖ การอัดผ้ากาว ๙.๗ การตัดผ้า ๙.๘ การเย็บเนา ๙.๙ การประกอบตวั รม่ ๙.๑๐ การเกบ็ ความ เรียบรอ้ ยของช้นิ งาน ๙.๑๑ การตกแตง่ เพ่ิมความสวยงาม ๑๐.๑ การบรหิ าร วิทยากรบรรยาย จดั การในการ เก่ียวกับความ ประกอบอาชี๑ คมุ้ คา่ การคานวณ 1๐.๒ วางแผน คา่ วัสดอุ ุปกรณ์ ทางการตลาด การตั้งราคาขาย เพ่อื การคา้ พร้อมอธิบายชอ่ ง ๑๐.๓ การบริหาร ทางการวาง การทากระเป๋า จาหนา่ ย ๑๐.๔ การจดั ผลิตภัณฑ์ การตลาด ๑๐.๕ การจัด การความเสี่ยง สอื่ การเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ ๒. ตวั อยา่ งกระเป๋าคุณนายจากผ้าทอ การวัดผลและประเมนิ ผล การสงั เกต การสัมภาษณ์ ผลงาน/ชิน้ งาน เกณฑ์การจบหลกั สตู ร 1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60
88 หลักสตู รอาชีพ การทาผลิตภณั ฑจ์ ากเส้นพลาสติกจานวน 150 ช่ัวโมง กล่มุ อาชพี สรา้ งสรรค์ ************** ความสาคญั การเลือกประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน จาเป็นต้องมีข้อมูลพื้นฐานหลักสูตรในหลายๆ ด้าน ทง้ั ด้านการผลิต และความต้องการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่างๆ กลุ่มอาชีพสาขาพาณิชยกรรมก็ เป็นทางเลือกหนึ่งในการเลือกประกอบอาชีพ สานักงาน กศน. ได้ดาเนินการคัดเลือกหลักสูตรการประกอบ อาชีพด้านพาณิชยกรรมมานาเสนอไว้เป็นตัวอย่างให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความสนใจ ฝึกปฏิบัติและนาไป ประกอบอาชีพสรา้ งรายไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง มคี วามมน่ั ใจในการนาความรู้และทกั ษะไปประกอบอาชพี ประชาชนในพื้นท่ีส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมและว่างงานหลังจากการทานา หรือทาไร รวมถึงท่ียัง ตกงาน และเล้ียงดูบุตร หลาน อยู่บ้าน จึงได้คิดรวมตัวกันข้ึนเพ่ือทาผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก สาหรับเป็น รายได้เสริมอื่นท่ีนอกเหนือจากการเกษตรมาสนับสนุนครอบครัวเป็นระบบกระบวนการพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ ประยุกต์พัฒนางาน ตลอดจนนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน แหล่งเรียนรู้ ผู้เก่ียวข้อง มีส่วนร่วมจัดเนื้อหา ประสบการณ์ให้เกิดผลกับผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข รู้แนวทางการประกอบอาชีพคู่กับการอนุรักษ์ ความเป็นไทยและส่ิงแวดล้อม ซึ่งการทาผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติกในปัจจุบันเป็นที่นิยมกันมากทั้งในตาบล อาเภอ และจังหวัด และยังมีแนวโน้มความต้องการเพิ่มสูงข้ึนเรื่อย ๆ โดยการทาผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก สามารถทาผลิตภัณฑ์รูปแบบต่าง ๆ เช่น กระเป๋าตะกร้ากล่องใส่เอกสาร ท่ีใส่ปากกา รวมทั้งการทางาน ประดษิ ฐ์เปน็ ดอกไม้และอื่น ๆ อีกหลายอย่าง นอกจากให้ประโยชน์การใช้สอยแล้วยังสามารถจาหน่ายเพื่อเพ่ิม รายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั อีกดว้ ย หลกั การของหลักสตู ร เปน็ หลกั สูตรทีเ่ นน้ การจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือมุง่ พัฒนาผเู้ รียนสามารถนาความรู้ดังกลา่ วไป ประยกุ ตใ์ ช้ในการประกอบอาชพี และพฒั นาต่อยอดอนั จะนาไปสกู่ ารพัฒนาคุณภาพชวี ติ แกป้ ัญหาของผูเ้ รยี น ไดอ้ ย่างมีรปู ธรรม การพัฒนาตนเองอย่างยั่งยนื และชมุ ชนเขม้ แข็งต่อไป จดุ มุ่งหมาย 1.ต้องการให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะ ในการทาผลติ ภณั ฑ์จากเสน้ พลาสติก 2.ต้องการใหผ้ เู้ รียนมีไดร้ าย และมีอาชพี จากการทาผลิตภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสติก เป้าหมาย ประชาชนทว่ั ไป ระยะเวลา จานวน 150 ช่ัวโมง ภาคทฤษฎี 10 ชัว่ โมง ภาคปฏิบตั ิ 140 ชวั่ โมง
89 โครงสร้างหลักสูตร จุดประสงค์ เนอื้ หา การจัด จานวนชว่ั โมง ท่ี เรื่อง การเรียนรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 ความรเู้ บือ้ งต้น 1.1 เพือ่ ให้ผเู้ รียน 1.1 งานสานเสน้ เรยี นรู้ 5- เกีย่ วกับการเสน้ บรรยาย พลาสติก เขา้ ใจวิธกี ารเตรียม พลาสติก - 10 2.1 สาธติ 2 การสานตะกรา้ วัสดุ อปุ กรณ์ 1.2 วัสดุ/อุปกรณ์ 2.2 ลงมือ - 10 ใส่ปากกา ปฏบิ ัติ ในการทา ในการสานเส้นพลาสติก 3 การสานที่ใส่ 3.1 สาธิต แกว้ นา้ ผลติ ภัณฑจ์ ากเส้น 1.3 การทาผลติ ภณั ฑ์ 3.2 ลงมอื ปฏิบัติ พลาสติก จากเสน้ พลาสตกิ 1.2 เพื่อใหผ้ ู้เรยี น มรี ูปแบบอะไรบ้าง เรียนรกู้ ารทา 1.4 การสานเส้น ผลิตภัณฑ์จากเสน้ พลาสติกแบบไม่มี พลาสติกการสาน โครงลวด เสน้ พลาสตกิ แบบ 1.5 การสาน ไม่มีโครงลวด เสน้ พลาสตกิ แบบ และการสานเสน้ มีโครงลวด พลาสติกแบบมี โครงลวด 1.3 สามารถนา ชนิ้ งานไปใชใ้ น ชวี ิตประจาวันได้ เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี น 2.1 การเตรียมวัสดุ มีทกั ษะ อปุ กรณ์การทาผลติ ภณั ฑ์ ในการสาน จากเส้นพลาสตกิ เส้นพลาสติก 2.2 การจัดการขนั้ ตอน สามารถ กระบวนการทา สานตะกรา้ ผลิตภัณฑ์จากเส้น ใสป่ ากกาได้ พลาสตกิ ท่ีถูกต้อง 2.3 การใส่โครงลวดท่ี ขอบปากตะกรา้ เพือ่ ให้ผ้เู รียน 3.1 การเตรียมวสั ดุ มที ักษะ อปุ กรณ์การทาผลติ ภณั ฑ์ ในการสาน จากเสน้ พลาสตกิ เสน้ พลาสตกิ 3.2 การจัดการขั้นตอน สามารถสาน กระบวนการทา ท่ใี สแ่ กว้ นา้ ได้ ผลิตภัณฑ์จากเสน้ พลาสติกที่ถูกต้อง
90 จุดประสงค์ การจัด จานวนชัว่ โมง การเรียนรู้ ที่ เร่อื ง เนื้อหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบัติ เรียนรู้ 4 การสานชะลอม เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมี 4.1 การเตรยี มวสั ดุ 4.1 สาธติ - 10 ทักษะในการสาน อปุ กรณ์การทาผลติ ภัณฑ์ 4.2 ลงมอื เสน้ พลาสติก จากเส้นพลาสติก ปฏบิ ัติ สามารถสาน ชะลอมได้ 4.2 การจัดการขนั้ ตอน กระบวนการทา ผลิตภัณฑ์จากเส้น พลาสตกิ ที่ถูกต้อง 5. การสานตะกร้า เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี น 5.1 การเตรียมวสั ดุ 5.1 สาธติ - 20 ทรงเหล่ยี ม มีทักษะในการสาน อปุ กรณ์การทาผลิตภัณฑ์ 5.2 ลงมอื เสน้ พลาสตกิ จากเส้นพลาสตกิ ปฏบิ ัติ สามารถสาน 5.2 การจัดการขั้นตอน ตะกรา้ ทรงเหลี่ยม กระบวนการทา ได้ ผลติ ภัณฑ์จากเส้น พลาสตกิ ท่ีถูกต้อง 5.3 การใส่โครงลวด ทขี่ อบปากตะกรา้ 6 การสานกระเปา๋ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมี 6.1 การเตรยี มวัสดุ 6.1 สาธติ 20 ทกั ษะในการสาน อปุ กรณ์การทาผลิตภัณฑ์ 6.2 ลงมือ เสน้ พลาสติก จากเส้นพลาสตกิ ปฏิบัติ สามารถสาน 6.2. การจดั การขน้ั ตอน กระเป๋าได้ กระบวนการทา ผลิตภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสติกที่ถกู ต้อง 7 การสานกระเช้า เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน 7.1 การเตรยี มวสั ดุ 7.1 สาธติ - 20 ทรงกลม มีทักษะในการสาน อปุ กรณ์การทาผลติ ภัณฑ์ 7.2 ลงมือ เส้นพลาสติก จากเสน้ พลาสติก ปฏิบัติ สามารถสาน 7.2 การจัดการข้นั ตอน กระเชา้ ทรงกลมได้ กระบวนการทา ผลิตภณั ฑ์จากเสน้ พลาสตกิ ท่ีถกู ต้อง 7.3 การใส่โครงลวด ทีข่ อบปากกระเชา้ 8 การสานตะกรา้ เพื่อให้ผเู้ รียนมี 8.1 การเตรยี มวัสดุ 8.1 สาธิต 20 ใส่เสอื้ ผา้ ทกั ษะในการสาน อปุ กรณ์การทาผลติ ภณั ฑ์ 8.2 ลงมอื เส้นพลาสติก จากเสน้ พลาสติก ปฏิบัติ
91 ที่ เรื่อง จุดประสงค์ การจดั จานวนช่วั โมง การเรียนรู้ เนอื้ หา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏิบัติ เรยี นรู้ 20 สามารถสาน 8.2 การจดั การขัน้ ตอน 10 ตะกรา้ ใสเ่ สอ้ื ผ้าได้ กระบวนการทา 5- ผลิตภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสตกิ ที่ถูกต้อง 8.3 การใส่โครงลวด ที่ขอบปากตะกร้า 9. การสานกลอ่ งใส่ เพื่อใหผ้ ู้เรียนมี 9.1 การเตรยี มวัสดุ 9.1 สาธติ ของทรงสเ่ี หลย่ี ม ทักษะในการสาน อปุ กรณ์การทาผลิตภณั ฑ์ 9.2 ลงมอื เสน้ พลาสติก จากเสน้ พลาสตกิ ปฏบิ ัติ สามารถสานกล่อง 9.2 การจัดการขน้ั ตอน ใส่ของทรง กระบวนการทา สเ่ี หลีย่ มได้ ผลิตภณั ฑจ์ ากเสน้ พลาสตกิ ท่ีถกู ต้อง 9.3 การใส่โครงลวด ทข่ี อบกลอ่ งใส่ของ ทรงสี่เหล่ียมและการทา ฝาปิดกลอ่ ง 10 การทาลวดลาย เพ่ือให้ผู้เรยี น 10.1 การขัดลายผีเส้อื 10.1 สาธติ และการ สามารถเพ่ิม 10.2 การขัดลายไทย 10.2 ลงมือ ประยุกต์รูปแบบ ลวดลาย และ ประยกุ ต์ ปฏิบัติ ใหมใ่ นชนิ้ งาน ประยกุ ตแ์ บบ 10.3 การขดั ลายดอกไม้ ลวดลายใหม่ๆ ในช้ินงาน 11 การบริหาร เพ่อื ให้ผู้เรยี นมี 11.1 การตลาด บรรยาย จัดการในการทา ความรคู้ วามเข้าใจ 11.2 การขาย ผลิตภัณฑ์จาก เรื่องการตลาด 11.3 ชอ่ งทางการ เส้นพลาสติก การขายสนิ คา้ จาหน่าย ชอ่ งทางการ เช่น ผา่ น oocc กศน. จาหนา่ ย ตาบล ผ่าน web site กศน.ตาบล facebook , line , ตลาดทวั่ ไป
92 สือ่ การเรียนรู้ 1. ขอ้ มลู จากเอกสาร /ภมู ิปญั ญา 2. ตัวอยา่ งช้ินงานจรงิ 3. Web site การวัดผลและประเมินผล การสงั เกต การสมั ภาษณ์ ผลงาน/ชน้ิ งาน เกณฑ์การจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรยี น ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
ทป่ี รกึ ษา คณะผูจ้ ดั ทา ๑. นายธิติพนธ์ ระลอกแกว้ ๒. นางสาวจนั ทรท์ ิพย์ สินธวุ งษานนท์ ผูอ้ านวยการสานกั งาน กศน.จังหวดั สพุ รรณบุรี 3. นางสาวสพุ ตั รา นนท์แก้ว รองผู้อานวยการสานกั งาน กศน.จังหวัดสุพรรณบรุ ี 4. นางสาวภาสนิ ี ศรสี นุ ทรพนิ ิต นักวชิ าการศึกษา 5. นางสาวชลธชิ า สบื วฒั นพงษกุล นกั วิชาการศึกษา 6. นางสาวสมปอง เจรญิ ผล นกั วิชาการศกึ ษา นักวชิ าการศึกษา 1. คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู ร การทาอาหารวา่ ง 1. นางจนั ทรน์ ภิ า ศรีคาไทย ครู ชานาญการ รักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน. อาเภอสองพ่ีน้อง 2. นางสาวฐติ ธิ นา ลาภถาวร ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางชณฐั ศกิ านต์ ส่งเสรมิ ครู กศน.ตาบล 4. นางชลธชิ า วงศพ์ ัฒนากรไชย ครู กศน.ตาบล 5. นางสาวเอมอร ใจแจง้ ครู กศน.ตาบล 6. นางสรญั ญา เทพวนิลกร วิทยากรวชิ าชพี (ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา) 7. นางสาวกมลทิพย์ ไกรวงศ์ วิทยากรวิชาชพี (ผเู้ ชีย่ วชาญด้านเนื้อหา) 8. นางสาวเรือนแก้ว สังขรตั น์ วทิ ยากรวชิ าชีพ (ผู้เชี่ยวชาญดา้ นเนอ้ื หา) 2. คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตร การถักพวงมาลัยจากโครเชต์ 1. นายปรชี า พทิ ักษ์วงศ์ ครู ชานาญการพิเศษ รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางปลามา้ 2. นางไพวรรณ ธนูรเวท ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวยุพรตั น์ ศรธี นานันท์ ครู กศน.ตาบล 4. นายประพันธุ์ ศรีสวัสดิ์ วิทยากรวิชาชีพ (ผู้เชย่ี วชาญด้านเน้อื หา) 3. คณะกรรมการพฒั นาหลักสตู ร การถนอมอาหาร และการแปรรปู อาหาร 1. นายเฉลย โพธ์เิ ผ่อื นนอ้ ย ผู้อานวยการ กศน.อาเภอด่านช้าง 2. นางสาวรชั นพี ร คาปาน ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวฉลอง เฉลมิ วงค์ตระกลู ครู กศน.ตาบล 4. นางสาวผกาวลยี ์ บญุ ธรรม ครู กศน.ตาบล 5. นางบบุ ผา ปากหวาน วิทยากรวชิ าชีพ (ผ้เู ชี่ยวชาญด้านเนื้อหา) 6. นางวไิ ล วงษ์เสมา วิทยากรวิชาชีพ (ผู้เชย่ี วชาญดา้ นเนอ้ื หา) 4. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร การทาขนมไทย 1. นางจนั ทร์นภิ า ศรคี าไทย ครู ชานาญการ รักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน. อาเภอสองพน่ี ้อง ๒. นางสาวฐติ ิธนา ลาภถาวร ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ๓. นางชณฐั ศิกานต์ ส่งเสรมิ ครู กศน.ตาบล ๔. นางชลธิชา วงศพ์ ฒั นากรไชย ครู กศน.ตาบล
๕. นางสาวเอมอร ใจแจ้ง ครู กศน.ตาบล ๖. นางสรญั ญา เทพวนลิ กร วิทยากรวชิ าชีพ (ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นเน้ือหา) ๗. นางสาวกมลทิพย์ ไกรวงศ์ วทิ ยากรวชิ าชีพ (ผู้เชย่ี วชาญดา้ นเนอื้ หา) ๘. นางสาวเรือนแก้ว สังขรัตน์ วิทยากรวิชาชีพ (ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเนอ้ื หา) 5. คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู ร การทาตะกร้าหวายเทียม (ตะกรา้ หวายอเนกประสงค์) 1. นางอชั ญา แจม่ ถาวร ผู้อานวยการ กศน.อาเภอศรีประจนั ต์ 2. นายกฤษณะ อนุสนธิ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเดิมบางนางบวช 3. นางสมควร วงษแ์ ก้ว ผู้อานวยการ กศน.อาเภอดอนเจดีย์ 4. นางสาวจารณุ ี ละวรรณวงษ์ ครู กศน.ตาบล 5. นายนิวฒั น์ เกตุแกว้ ครู กศน.ตาบล 6. นางสาวชนาภา ศรสี นุ ทร ครู กศน.ตาบล 7. นางสาวพรทพิ ย์ รา่ งสม ครู กศน.ตาบล 8. นางสาวจริ าพร สวา่ งศรี ครู กศน.ตาบล 9. นางสาวอภญิ ญา นาควจิ ติ ร์ ครู กศน.ตาบล 10. นางสาวตรีรยา ศรศี ักดา ครู กศน.ตาบล 11. นางวนั เพ็ญ พลายละหาร วิทยากรวิชาชีพ (ผเู้ ชย่ี วชาญด้านเนอ้ื หา) 12. นางกาญจนา ศรีสนุ ทร วทิ ยากรวชิ าชีพ (ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเนื้อหา) 13. นางศรไี พร หวานฉ่า วิทยากรวิชาชพี (ผูเ้ ชย่ี วชาญด้านเนอ้ื หา) 14. นายวนิ ัย เพ่ิมสมบตั ิ วทิ ยากรวิชาชพี (ผู้เชย่ี วชาญดา้ นเนอ้ื หา) 15. นางลาวลั ย์ เพมิ่ สมบัติ วทิ ยากรวิชาชีพ (ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นเนอ้ื หา) 6. คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตร การถกั กระเป๋าวายจู ากไหมญปี่ ุ่น 1. นางสมควร วงษ์แกว้ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอดอนเจดีย์ 2. นางสาวนฤมล ฐติ ะวรรณ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวไพเราะ นิม่ นวล ครู กศน.ตาบล 4. นางสาวบญุ ตา สุดแกว้ ครู กศน.ตาบล 5. นางนนั ทฉัตร แสงมา วิทยากรวชิ าชีพ (ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเนอื้ หา) 6. นางสาวนชากร อาจแพทย์ วิทยากรวชิ าชพี (ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นเนือ้ หา) 7. คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู ร การสานฝาชีจากเส้นหวาย 1. นางอชั ญา แจม่ ถาวร ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอศรีประจันต์ 2. นายกฤษณะ อนุสนธ์ิ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเดิมบางนางบวช 3. นางสมควร วงษแ์ กว้ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอดอนเจดีย์ 4. นางสาวจารุณี ละวรรณวงษ์ ครู กศน.ตาบล 5. นายนิวัฒน์ เกตแุ ก้ว ครู กศน.ตาบล 6. นางสาวชนาภา ศรสี นุ ทร ครู กศน.ตาบล 7. นางสาวพรทพิ ย์ ร่างสม ครู กศน.ตาบล 8. นางสาวจิราพร สว่างศรี ครู กศน.ตาบล 9. นางสาวอภิญญา นาควจิ ติ ร์ ครู กศน.ตาบล 10. นางสาวตรีรยา ศรีศักดา ครู กศน.ตาบล
11. นางวนั เพญ็ พลายละหาร วิทยากรวิชาชพี (ผู้เชย่ี วชาญดา้ นเนอ้ื หา) 12. นางกาญจนา ศรสี ุนทร วทิ ยากรวิชาชีพ (ผเู้ ชีย่ วชาญด้านเนอื้ หา) 13. นางศรีไพร หวานฉา่ วทิ ยากรวชิ าชีพ (ผ้เู ช่ยี วชาญด้านเนื้อหา) 14. นายวินยั เพ่ิมสมบัติ วิทยากรวิชาชพี (ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นเนื้อหา) 15. นางลาวัลย์ เพ่ิมสมบัติ วทิ ยากรวชิ าชพี (ผ้เู ชี่ยวชาญด้านเนอ้ื หา) 8. คณะกรรมการพฒั นาหลักสตู ร เปลญวนโบราณ 1. นางจันทร์นภิ า ศรคี าไทย ครู ชานาญการ 2. นางสาวฐติ ธิ นา ลาภถาวร รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ กศน. อาเภอสองพ่นี ้อง ครอู าสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางชณฐั ศกิ านต์ สง่ เสรมิ ครู กศน.ตาบล 4. นางชลธชิ า วงษพ์ ัฒนาการไชย ครู กศน.ตาบล 5. นางสาวเอมอร ใจแจง้ ครู กศน.ตาบล 6. นางสาวกมลทพิ ย์ ไกรวงศ์ วทิ ยากรวชิ าชีพ (ผู้เชี่ยวชาญด้านเนอ้ื หา) 7. นางสาวเรือนแกว้ สังขรัตน์ วทิ ยากรวิชาชีพ (ผู้เช่ยี วชาญดา้ นเนื้อหา) 8. นางภารดี ลภัสจโิ รภาส วิทยากรวิชาชพี (ผู้เชี่ยวชาญด้านเนอ้ื หา) 9. นางกุลนารี ใจประดิษฐ์ วิทยากรวชิ าชพี (ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นเนอ้ื หา) 10. นางสาวลนั่ ทม อ่าสกุล วทิ ยากรวิชาชพี (ผ้เู ชยี่ วชาญด้านเนอ้ื หา) 9. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร การทาไม้กวาด 1. นางสุรยี ์ ยกกระบตั ร ครู ชานาญการพเิ ศษ รักษาการในตาแหนง่ ผอ. กศน. อาเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี 2. นางสนุ ิสา ขาวบริสทุ ธ์ิ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวพชั ร์นนั ท์ สิงห์จยุ้ ครู กศน.ตาบล 4. นางเรณู สิงห์จุย้ ครู กศน.ตาบล 5. นางสาวจติ สภุ า นาคโสพล ครู กศน.ตาบล 6. นางภารดี ลภัสจโิ รภาส วิทยากรวิชาชีพ (ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเน้อื หา) 7. นางกลุ นารี ใจประดิษฐ์ วทิ ยากรวชิ าชีพ (ผู้เชย่ี วชาญด้านเนื้อหา) 8. นางสาวลนั่ ทม อ่าสกลุ วิทยากรวชิ าชพี (ผเู้ ช่ยี วชาญด้านเนือ้ หา) 10. คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู ร ผลติ ภณั ฑ์จักสานจากผกั ตบชวา 1. นางอชั ญา แจม่ ถาวร ผู้อานวยการศูนย์ กศน. อาเภอศรปี ระจนั ต์ 2. นางเจยี รนยั มะลาดวง ผ้อู านวยการศนู ย์ กศน. อาเภอสามชกุ 3. นางสมหมาย พลายเจยี ม ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวสุกานดา นมิ่ แยม้ ครู กศน. ตาบล 5. นางสาวเฉลมิ วรรณ สวา่ งศรี ครู กศน. ตาบล 6. นางประทปี สูงปานาขา วิทยากรวิชาชพี (ผูเ้ ช่ยี วชาญดา้ นเน้ือหา) 7. นางพินจิ อภิญสถานนท์ วทิ ยากรวชิ าชพี (ผเู้ ชยี่ วชาญด้านเน้ือหา)
Search