Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสร้างสรรค์ปั้นอาชีพ 1/2565

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสร้างสรรค์ปั้นอาชีพ 1/2565

Description: จิตอาสาพัฒนาสร้างสรรค์ปั้นอาชีพ 1/2565

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน กจิ กรรมจิตอาสาพัฒนาสรา้ งสรรค์ปน้ั อาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 วันที่ 31 สิงหาคม 2565 ณ กศน.อำเภอบางปลามา้ หม่ทู ่ี 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลาม้า จังหวดั สุพรรณบรุ ี ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางปลาม้า สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดสุพรรณบุรี รายงานผลการดำเนนิ งาน

โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสรา้ งสรรค์ปัน้ อาชพี วนั ท่ี 31สิงหาคม 2565 ณ กศน.อำเภอบางปลามา้ หมทู่ ี่ 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จัดทำโดย นางจรี ะภา โกพัฒนต์ า ตำแหนง่ ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ขา้ พเจา้ ขอรบั รองวา่ ขอ้ มูลตามหลกั ฐานทงั้ หมดท่ไี ดน้ ำเสนอศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบางปลาม้า ในรายงานน้ถี กู ตอ้ งและเปน็ จริง ลงชอ่ื .................................................... ผู้รายงาน (นางจีระภา โกพัฒน์ตา) งานพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ลงชอื่ .................................................... ผ้รู ับรอง (นางสมควร วงษ์แกว้ ) ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอบางปลามา้

คำนำ การจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิตผู้เรยี น (กพช.) เป็นการจัดกิจกรรมเสรมิ เพ่ิมเติมจากการเรยี นปกติในสาระ ทักษะการดำเนินชีวิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนอง อุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพ่ือสร้างคุณภาพชีวิตและสังคมมีการบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรมมุ่งสร้าง พนื้ ฐานการเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชมุ ชน สังคม และพฒั นาความสามารถเพื่อการทำงานที่มีคุณภาพ โดยให้ ภาคีเครือข่ายมีสว่ นร่วมจัดการศกึ ษา ให้ความสำคญั กับการพฒั นาผเู้ รียน ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ผู้เรียนเป็นผูท้ ่ีมีระเบียบ วนิ ัย มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมมจี ติ อาสา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งรวมท้ังคำนงึ ถึงธรรมชาติ การเรียนรู้ของผู้ที่อยู่นอกระบบและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจสงั คม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้า ของเทคโนโลยีและการส่ือสารรวมทั้งมีคณุ สมบัติท่พี งึ ประสงคใ์ นการอยู่รว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ การดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสร้างสรรค์ป้ันอาชีพ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เป็นกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ใหก้ ับนกั ศึกษาการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน เพื่อเสริมสร้างความเป็นจิตอาสาให้กับนักศึกษาผ่านรูปแบบการทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ตามแบบอย่างที่ดีของ รัชกาลท่ี 9 และรัชกาลท่ี 10 มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะอาชีพเร่ืองการทำสลัดโรลและการทำโดนัทจ๋ิว สามารถนำไปใชเ้ ป็นทางเลือกในการประกอบอาชพี และการศกึ ษาต่อในอนาคต นางจรี ะภา โกพฒั นต์ า งานพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น

สารบัญ หน้า คำนำ 1 ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 2 ตอนท่ี 1 4 - กรอบแนวคิดหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 9 - กรอบการจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผ้เู รยี น 12 ตอนที่ 2 13 - การดำเนนิ งานการจดั กิจกรรมโครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 13 กจิ กรรมจติ อาสาพฒั นาสร้างสรรคป์ น้ั อาชพี 14 - ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั 16 18 ตอนที่ 3 สรุปผลการดำเนินโครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น กิจกรรมจติ อาสาพัฒนาสรา้ งสรรคป์ ัน้ อาชีพ - ปญั หา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข - สรปุ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ - สรุปข้อเสนอแนะ - ภาพกิจกรรม ภาคผนวก

ข้นั ตอนการดำเนินงาน ประชมุ ชี้แจงรำยละเอียด โครงการ สำรวจควำมต้องกำร เสนอโครงกำรเพือ่ ขอ อนมุ ตั ิ. แต่งตงั้ คณะทำงำน เสนอโครงการเพอื่ ขออนมุ ตั ิ ประสำนสถำนท่ีอบรม เสนอโครงการเพือ่ ขออนมุ ตั ิ ประสำนงำนวิทยำกร จดั เตรียมวสั ด/ุ อปุ กรณ์ ดำเนิ นกำรตำมแผน/ โครงกำรฯ ประเมินผลกำรดำเนิ นงำน สรปุ และรำยงำนผลโครงกำร

ตอนท่ี 1 กรอบแนวคิดหลกั สตู รกำรศกึ ษำนอกระบบระดบั กำรศึกษำขนั้ พืน้ ฐำน กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2551 เป็นหลักสูตรที่มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์การจัด การศึกษาตลอดชีวิต การสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพ่ือสร้างคุณภาพชีวิต และสงั คม มกี ารบูรณาการอย่างสมดลุ ระหวา่ งปญั ญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสรา้ งพืน้ ฐานการเป็นสมาชกิ ท่ี ดขี องครอบครวั ชุมชน สังคม และพัฒนาความสามารถเพื่อการทำงานทีม่ ีคณุ ภาพ โดยให้ภาคีเครือค่ายมสี ่วนรว่ ม จดั การศึกษาให้ตรงตามความต้องการของผู้เรยี น แลสามารถตอบสนองได้ว่า การศกึ ษานอกระบบเป็นกระบวนการ ของการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสังคม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และรูเท่าทันการเปล่ียนแปลง เป็นหลักสูตรท่ีมี ความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซ่ึงเป็นผู้ท่ีมีความรู้ ประสบการณ์จากการทำงาน และการประกอบอาชพี โดยการกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความสำคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจติ ใจ ใหม้ ีคณุ ธรรมควบคู่ กบั การพฒั นาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทง้ั ภูมิปัญญาท้องถ่ินและเทคโนโลยีเพื่อให้ ผู้เรียนมีความสามารถปรับตัว อยู่ในสงคมท่ีมีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา สร้างภมู ิคุ้มกันตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง รวมท้งั คำนงึ ถงึ ธรรมชาติการเรียนร้ขู องผ้ทู ี่อยู่นอกระบบโรงเรียน และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง การปกครอง ความเจริญกา้ วหน้าของเทคโนโลยีและการส่อื สาร หลักการ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กำหนดหลักการไวด้ งั น้ี 1. เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างท่ียืดหยุ่น ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และจัดการเรียนรู้ โดยเน้น การบูรณาการเน้ือหาใหส้ อดคลอ้ งกับวถิ ีชวี ติ ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน สงั คม 2. ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารเทยี บโอนผลการเรยี นรจู้ ากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตาม อัธยาศัย 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยตระหนักว่าผู้เรียนมีความสำคัญ สามารถพฒั นาตนเองไดต้ ามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ 4. สง่ เสริมใหภ้ าคเี ครอื ค่ายมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา จดุ มุง่ หมาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ พัฒนาให้ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทตี่ ้องการ จึงกำหนดจุดมงุ่ หมาย ดงั ตอ่ ไปนี้

3 1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมที่ดีงาม และสามารถอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งสันติสขุ 2. มคี วามรพู้ ้ืนฐานสำหรับการดำรงชีวติ และการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง 3. มีความสารถในการประกอบสัมมาอาชีพให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และตามทันความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง 4. มีทักษะการดำรงชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกบั ชวี ิต ชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุขตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมอื งดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยึดม่นั ในวิถี ชีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 6. มจิ ิตสำนึกในการอนรุ กั ษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และบูรณาการ ความรูม้ าใชใ้ นการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ----------------------------------------------------------

4 กรอบการจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตผู้เรยี น ตามนโยบายการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สำนักงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (เอกสารแนบทา้ ยหนังสอื สำนกั งาน กศน.ดว่ นทส่ี ุด ที่ ศธ 0210.04/ว3780 ลงวนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2561) -------------------------------------------------------------------- 1. หลักการ รัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560 – 2579) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขจุดอ่อนและ เสริมจุดแข็งให้เอ้ือตอ่ การพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมาย การสร้างรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติในการท่ีจะให้ ประเทศไทยมีความมั่นคงในทุกด้าน คนในชาติมีคุณภาพชีวิตที่ดีและม่ันคง และประเทศสามารถพัฒนาไปได้อย่าง ยั่งยืน จำนวน 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถใน การแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิต (6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับ สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ซ่ึงสอดคล้องจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยทุกชว่ งวัย ให้เป็นคนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้และ ความสามารถปรบั ตัวเทา่ ทันกบั การเปลี่ยนแปลงรอบด้านท่ีรวดเรว็ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ไดก้ ำหนดวตั ถุประสงค์ในการจัดการศกึ ษา 4 ประการ ได้แก่ (1) เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ (2) เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็น พลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ (3) เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และ มีคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอพียง และ (4) เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเล่ือมล้ำ ภายในประเทศลดลง จงึ กำหนดยทุ ธศาสตร์ในการพัฒนาการศกึ ษาภายใต้ 6 ยทุ ธศาสตรห์ ลักที่สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี เพ่ือให้แผนการศึกษาแห่งชาติบรรลุเป้าหมายตามจุดหมาย วิสัยทัศน์ และแนวคิดการจัดการศึกษา ดังน้ี (1) ยุทธศาสตร์การจัดการศกึ ษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ (2) ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากำลังคน การวจิ ยั และนวตั กรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (3) ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคนทุก ช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (4) ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมทาง การศึกษา (5) ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมสุขภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (6) ยุทธศาสตร์ การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดป้ ระกาศใช้หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทมี่ งุ่ จดั การศกึ ษาเพื่อตอบสนองอดุ มการณก์ ารจัดการศึกษาตลอดชวี ติ และการสรา้ งสงั คมไทยให้เป็นสังคมแห่งการ เรยี นรู้ ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพอ่ื สรา้ งคุณภาพชีวติ และสังคม มีการบรู ณาการอย่างสมดุล ระหวา่ งปัญญาธรรม

5 ศีลธรรม และวัฒนธรรม ม่งุ สร้างพน้ื ฐานการเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สงั คม และพฒั นาความสามารถเพื่อ การทำงานท่มี ีคุณภาพ โดยให้ภาคีเครือขา่ ยมีส่วนรว่ มจดั การศึกษาให้ตรงตามความตอ้ งการของผ้เู รียน และสามารถ ตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิตและสังคม สามารถพ่ึงพาตนเองได้และรู้ เท่าทันการเปล่ียนแปลง เป็นหลักสูตรท่ีมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของบุคคลที่อยู่นอก ระบบโรงเรียน ซ่ึงเป็นผู้มีความรู้ประสบการณ์จากการทำงานและการประกอบอาชีพ โดยการกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความสำคัญกับการพัฒนากลมุ่ เป้าหมาย ด้านจิตใจ ให้มีคณุ ธรรมควบคู่ไปกบั การพฒั นาการเรยี นรู้ สรา้ งภูมิคมุ้ กัน สามารถจัดการกบั องค์ความรู้ ทัง้ ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ และ เทคโนโลยี เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปรบั ตัวอยู่ในสังคมทมี่ ีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา สรา้ งภูมคุ้มกนั ตามแนวปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังคำนึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ท่ีอยู่นอกระบบ และสอดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การปกครอง ความเจริญกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยแี ละการสอื่ สาร สำนักงาน กศน. จึงกำหนดกรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบโรงเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีให้ สถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมจากการเรียนปกติให้กับผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคณุ ภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่องซ่ึงเป็นคุณลักษณะอนั พึง ประสงค์ สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในสตวรรษที่ 21 ตามจุดมุ่งหมายของกระทรวงศึกษาธิการ แผนการศึกษา แหง่ ชาติและยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปขี ึ้น 2. กรอบการจดั กจิ กรรมเพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษาได้จดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น เปน็ ไปในแนวทางเดียวกนั อยา่ ง มีประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล ค้มุ คา่ เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อผ้เู รียน ดงั นี้ 2.1 กิจกรรมพฒั นาวิชาการ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีพ้ืนฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพ่ิมมากข้ึนในรายวิชาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์หรือวิชา อืน่ ๆ ตามความตอ้ งการของนกั ศกึ ษา กศน. ซง่ึ วิทยากรหรือผู้สอนควรเปน็ ผู้ท่ีมคี วามรู้หรอื ประสบการณใ์ นการสอนวชิ า นั้นๆ โดยตรง อาจจะเป็นบุคคลภายนอกหรือ ครู กศน. ได้ตามความเหมาะสมส่วนจำนวนนักศึกษา กศน. ที่ร่วม กจิ กรรม ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของผู้บริหารสถานศกึ ษา 2.2 กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ เปน็ การจัดกจิ กรรมเสริมเพ่มิ เติมจากการเรียนปกติในสาระทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต หลักสตู รการศกึ ษา นอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน เนื่องจากสังคมปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วทั้งดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขันและความขัดแย้งมากขึน้ จึงมีความจำเป็นที่สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรม พัฒนาทักษะชีวติ ให้กบั นักศึกษา กศน. โดยมวี ัตถุประสงค์หลกั คือ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มเี จตคติ ค่านิยมท่ี ถกู ตอ้ ง และมีทกั ษะ หรือความสามารถพน้ื ฐานทีจ่ ำเปน็ ในการเผชิญปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นในชีวิต เช่น ปญั หายาเสพติด

6 การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพศสัมพันธ์ ทะเลาะววิ าท ครอบครัวแตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบตั ิ ความเครียด ฯลฯ รวมท้งั มีคุณสมบัตทิ พี่ งึ ประสงค์ในการอยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ และสามารถนำความรู้จากการเขา้ รว่ ม กิจกรรมไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2.3 กิจกรรมทแ่ี สดงออกถึงความจงรักภกั ดีตอ่ สถาบันชาติ และพระมหากษัตรยิ ์ เปน็ การจดั กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาและส่งเสริมสนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียน มีความรู้ ความเขา้ ใจ มที ศั นคติท่ดี ีมี ความรักและภาคภูมิใจในชาติไทย และแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ สาสนา และพระมหากษัตริย์ ตลอดจนทะนบุ ำรงุ และปฏบิ ัติตามหลกั ธรรมทางศาสนาที่นับถอื การสง่ เสรมิ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ การ เทดิ ทนู และปกปอ้ งสถาบนั พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ 2.4 กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงโดยสามารถนำไปประยุกต์ให้เกิดผลในทางปฏิบัติในการดำรงชีวติ ประจำวันท้ังต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ 2.5 กจิ กรรมลกู เสอื และกจิ กรรมอาสายุวกาชาด เปน็ กิจกรรมเพือ่ พัฒนาและสง่ เสริมสนับสนุนให้ผเู้ รียนเปน็ ผู้ทม่ี ีระเบียบวนิ ยั มีคุณธรรม จริยธรรมมี จิตอาสา มีความเสียสละในการช่วยเหลือผู้อ่ืน บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน โดยดำเนินการจัดกิจกรรม ลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หรืออาจดำเนินการร่วมกับสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ สำนักงานลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจกรรมนักเรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ สำนักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เป็นตน้ 2.6 กิจกรรมกีฬา และส่งเสรมิ สุขภาพ เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนได้มีโอกาสออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพ่ือสุขภาพ พลานามัยที่ดี สร้างนิสัยความมีน้ำใจเป็นนักกีฬาและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นการสร้างความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ ใหร้ ู้จักรูแ้ พ้ รู้ชนะ รูอ้ ภยั และเปน็ การสร้างสัมพันธภาพอนั ดีระหวา่ งนกั ศกึ ษา กศน. 2.7 กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาผเู้ รยี นให้มคี วามรแู้ ละทักษะในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICTเช่น การจัด อบรมความรูใ้ นด้านต่างๆทเ่ี กย่ี วกับ ICT เป็นต้น 2.8 กจิ กรรมเพื่อพฒั นาความร้สู ่ปู ระชาคมโลก เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความร้ใู ห้กับผู้เรียน ในด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ความมัน่ คง และการเมือง เพ่ือเขา้ สู่ประชาคมโลก เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไปสู่สังคมสูงวัย ทักษะของ ประชากรในศตวรรษที่ 21 ท่ีทั่วโลกต่างต้องเผชิญกับความท้าทายและมุ่งพัฒนาประเทศไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมยคุ 40 เปน็ ตน้

7 2.9 กจิ กรรมจิตอาสา กศน. “เราทำความดดี ว้ ยหวั ใจ” เป็นกิจกรรมท่ีหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด กศน.จัดขึ้น หรือร่วมกับหน่วยงานอ่ืนๆและร่วมกับ ประชาชนทุกหมู่เหล่าท่มี จี ิตบำเพ็ญประโยชน์ในพ้ืนทต่ี ่างๆเพอื่ บรรเทาความเดือดร้อน และแกไขปัญหาให้แก่ประชาน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาน้ำท่วมในเขตชุมชน ปัญหาการจราจรและอ่ืนๆ เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระ ปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ทที่ รงห่วงใยปัญหาน้ำท่วมและปญั หาการจราจรในเขตพนื้ ที่ กรงุ เทพมหานครและจงั หวดั ต่างๆ และสอดคล้องพระราโชบายของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี 10 เป็นการพฒั นา สภาพแวดล้อมและความเป็นอย่ใู นชุมชนใหม้ ีสภาพทด่ี ีขึน้ 2.10 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะการอา่ น การเรียน เสรมิ สร้างนสิ ัยรกั การอา่ น และการเรียนรู้ เพ่อื นำไปใชใ้ นการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม อนั จำนำไปสู่สงั คมแหง่ การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต 2.11 กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนร้เู พอื่ พัฒนาทักษะอาชีพ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษา เรียนรู้ ฝึกทักษะและฝึกปฏิบัติด้านอาชีพที่ตนเองสนใจ เพื่อเปน็ ทางเลือก และวางแผนการประกอบอาชีพ และการศกึ ษาต่อในอนาคต 2.12 กิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ด้วยการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ของชาติ ใหเ้ กิดความรักและความภาคภมู ิใจ สบื สานวัฒนธรรมและประเพณี ท้องถ่ิน อยูร่ ่วมกนั ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข 2.13 กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งในชวี ติ ประจำวนั เป็นกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และกฎหมายท่ีเก่ียวข้องในชีวิตประจำวัน เช่น กฎหมาย รฐั ธรรมนญู กฎหมายเลือกต้งั สทิ ธิหน้าท่ีพลเมอื ง กฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการคุ้มครองผู้บรโิ ภค เป็นต้น 2.14 กจิ กรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ เปน็ กิจกรรมเพอื่ พัฒนาผู้เรยี นที่มคี วามสามารถพิเศษ หรอื มีพรสวรรคใ์ นด้านตา่ งๆ ให้มีโอกาสและ กล้าแสดงออกถึงทักษะ ความรู้ ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ ในแนวทางท่ีถูกต้อง เหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิเศษหรือพรสวรรค์ไปใช้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตตนเอง เป็นการส่งเสริม สนับสนนุ การศึกษาตลอดชวี ิต โดยการจัดตงั้ ชมรมต่างๆ เช่น ชมรม TO BE NUMBER ONE การจดั ตง้ั ศนู ย์เพอ่ื นใจ วยั รุ่น เป็นตน้

8 3. รูปแบบของกจิ กรรม 3.1 แบบการจัดค่ายวชิ าการ ค่ายกิจกรรม ทง้ั ไป – กลบั และค้างคนื 3.2 แบบชั้นเรียน โดยครู กศน. หรือวิทยากรที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชานั้นๆ เป็นผ้จู ดั กิจกรรมหรอื ร่วมกับเครอื ข่าย 3.3 แบบศึกษาดูงาน 3.4 อ่ืนๆ ตามความเหมาะสม (โดยให้พจิ ารณารูปแบบของกิจกรรมขอ้ ที่ 3.1 – 3.3 ก่อน แล้วจึงดำเนินการในขอ้ 3.4) หมายเหตุ :ในกรณที พี่ านักศกึ ษาออกนอกสถานท่ีใหป้ ฏิบตั ิตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการพานกั เรยี น และนกั ศกึ ษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ.2548 4. งบประมาณ การเบกิ จา่ ยให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการทีเ่ กี่ยวข้อง โดยยึดหลักความถกู ต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ 5. เงื่อนไขของการดำเนินงาน 5.1 ผู้รับบริการต้องเป็นนักศึกษา กศน. ที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ในภาคเรียนนั้นๆ 5.2 สถานศึกษาจัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามกรอบการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รียน 5.3 สถานศึกษา จัดส่งแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อขอความเห็นชอบจาก สำนักงาน กศน. จงั หวดั /กทม. 5.4 สถานศึกษา ดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบ ประเมินผลการจัด กิจกรรม พร้อมเบิกจ่ายเงินตามระเบียบท่ีกำหนด ให้แล้วเสร็จภายในแต่ละภาคเรียน และรายงานผลให้สำนักงาน กศน. จังหวัด/กทม. ทราบ 5.5 สำนักงาน กศน. จงั หวดั /กทม. นิเทศตดิ ตาม การจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ของสถานศกึ ษา 5.6 ให้ใช้ “กรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551สำนกั งาน กศน.” ตัง้ แตภ่ าคเรียนท่ี 2/2561 เป็นตน้ ไป หมายเหตุ : กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ใช้งบประมาณในการจัดกิจกรรมไม่นับเป็นช่ัวโมงกิจกรรมพัฒนา คณุ ภาพชีวิต (กพช.) ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ----------------------------------------------------------------------------

ตอนท่ี 2 กำรดำเนินงำนกำรจดั กิจกรรม 1. โครงการศกึ ษาแหลง่ เรยี นร้ดู ้านวิทยาศาสตรเ์ พ่ือเตรยี มความพร้อมสู่สงั คมดิจิทัล ๒. สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ 2565 สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษา นโยบายการจัดการศึกษา ของนางสาวตรีนชุ เทียนทอง รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ วาระเร่งด่วน (Quick Win) วาระท่ี 6 การศึกษาตลอดชีวติ การจดั เรยี นรู้ตลอดชีวิตสำหรบั ประชาชนทกุ ชว่ งวัยให้มคี ณุ ภาพและ มาตรฐาน ประชาชนในแตล่ ะชว่ งวยั ได้รับการศกึ ษาตามความตอ้ งการอยา่ งมมี าตรฐาน เหมาะสมและเต็มตาม ศักยภาพต้งั แต่วยั เด็กจนถงึ วัยชรา และพฒั นาหลกั สูตรทเี่ หมาะสมเพ่อื เตรียมความพรอ้ มในการเขา้ สู่สังคมผู้สงู วัย นโยบายการจดั การศึกษา ขอ้ 12 การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยดึ หลกั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตและการ มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง การศึกษาและผเู้ รยี นที่มีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ  สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งานฯ ภารกจิ เร่งดว่ น 1. ดา้ นการจดั การเรยี นร้คู ุณภาพ 1.3 สง่ เสริมการจัดการศึกษาเพอื่ เสริมสร้างความมน่ั คง การสร้างความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ ง ในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวนิ ัย จติ สาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมั่นในสถาบัน หลกั ของชาติ รวมถงึ การมจี ิตอาสา ผา่ นกจิ กรรมต่างๆ 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.6 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน. และผู้เรียนเพ่ือรองรับ การ พัฒนาประเทศ ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง 1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยดำเนินการให้ผู้เรียน ไดร้ บั การสนับสนุนค่าจัดซือ้ หนงั สือเรยี น คา่ จดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นและคา่ จดั การเรียนการสอน อย่างทว่ั ถึง และเพียงพอเพอ่ื เพมิ่ โอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาที่มคี ุณภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ า่ ย

10 4) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นท่ีมีคณุ ภาพที่ผู้เรยี นตอ้ งเรียนรแู้ ละเข้าร่วมปฏิบตั ิกิจกรรม เพ่ือเป็น สว่ นหน่ึงของการจบหลักสตู ร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กจิ กรรมเกี่ยวกับการปอ้ งกันและแก้ไข ปัญหายา เสพติด การแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา ฯลฯ  สอดคลอ้ งกับบทบาทหน้าที่ (ตามกฎหมาย) อำนาจและหนา้ ทีต่ ามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ที่ 10 มนี าคม 2551 เร่ือง การกำหนดอำนาจและ หน้าทีข่ องสถานศกึ ษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอมอี ำนาจและหน้าทดี่ ังน้ี 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ และประสานภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. ดำเนนิ การตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสรมิ สรา้ งความมั่นคงของชาติ  สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 1.1 ผู้เรยี นการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ดี สี อดคล้องกบั หลักสูตรสถานศกึ ษา 1.2 ผเู้ รียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะทีด่ ตี ามท่ีสถานศกึ ษา กำหนด 1.3 ผูเ้ รียนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และแลกเปลี่ยน ความคดิ เห็นร่วมกบั ผู้อ่ืน 1.4 ผู้เรยี นการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการสรา้ งสรรค์งาน ช้นิ งาน หรือนวัตกรรม 1.5 ผเู้ รยี นการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล 1.6 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมสี ขุ ภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ 1.7 ผ้เู รียนการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น 1.8 ผู้จบการศึกษาข้ันพน้ื ฐานนำความรู้ ทักษะพ้นื ฐานท่ไี ด้รับไปใช้ หรอื ประยุกต์ใช้ มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานทเ่ี น้นผเู้ รียน เปน็ สำคัญ 2.2 ส่ือทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ 2.3 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาท่เี นน้ การมสี ่วนรว่ ม 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การ 3.5 การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

11 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครอื ข่ายใหม้ ีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา 3.8 การสง่ เสริม สนบั สนนุ การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ลักษณะโครงการ : เปน็ โครงการ ( ) โครงการตอ่ เนอื่ ง ( √ ) โครงการใหม่ 3. หลักการและเหตผุ ล กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่มุ่งจัดการศึกษาเพอ่ื ตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ และการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่ง ก า ร เรี ย น รู้ ต าม ป รั ช ญ า “ คิ ด เป็ น ” เพื่ อ ส ร้ าง คุ ณ ภ าพ ชี วิ ต แ ล ะ สั ง ค ม มี ก าร บู ร ณ า ก า ร อ ย่ าง ส ม ดุ ล ร ะ ห ว่ า ง ปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรมมุ่งสร้างพ้ืนฐานการเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและพัฒนา ความสามารถเพ่ือการทำงานท่ีมีคุณภาพ โดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษา ให้ความสำคัญกับการพัฒนา ผู้เรียนส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นผู้ท่ีมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมมีจิตอาสา มีความเสียสละใน การชว่ ยเหลือผ้อู น่ื บำเพ็ญประโยชนต์ อ่ สงั คมและชุมชน โดยดำเนินการผา่ นกิจกรรมอาสายวุ กาชาด สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หน่วยราชการในพระองค์ 904 ร่วมกันจัด โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดำริ เพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติและแสดงความสำนึกใน พระมหา กรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตรและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี 9ท่ีทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ท้ังนี้ เพ่ือให้ประชาชนมีความสมคั รสมานสามัคคี มีความสขุ และประเทศชาตมิ คี วามม่นั คงอยา่ งยงั่ ยนื บคุ คลที่มคี วามสมบรู ณท์ ั้งทางร่างกาย จติ ใจ สังคม และปัญญาแล้วบุคคลนั้นสามารถทำหนา้ ที่ได้ดขี ้ึนเร่ือยๆ ตามศักยภาพและทิศทางท่ีจะคงความผาสกุ แก่ชีวิตของตวั เองไว้ ซ่ึงไม่ใช่แต่เพียงปราศจากจากความเจ็บป่วยเท่านั้น ยังรวมถึงคุณภาพชีวิต ปัญหาท่ีสำคัญท่ีสุดในสถานการณ์ขณะน้ีคือ โควิด-19 ส่งผลต่อผู้คนในรูปแบบที่แตกต่างกัน ไป ท้งั ในรปู แบบของโรคภัยอนั ส่งผลถึงชีวิต ส่งผลตอ่ เศรษฐกจิ ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคญั ซึ่งมีผลกระทบและ เป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลไดก้ ำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ เป็นวาระแห่งชาติและ กำหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพ่ือให้ทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคล่ือนเฝ้า ระวงั และแก้ไขปญั หายาเสพติด การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ เป็นการศึกษาเพอ่ื พัฒนาความรู้ความสามารถและทกั ษะ ในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบคุ คล ซึ่งมีจดุ ม่งุ หมายในชวี ติ ที่แตกต่างกนั โดยมีสาระสำคัญ คือการเรียนรู้ อาชีพแบบองค์รวมที่ประชาชน นักศึกษา และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ร่วมกันจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือฟ้ืนฟูเศรษฐกิจ ชุมชน การออกแบบการเรียนรูง้ านอาชีพตามลกั ษณะของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ในรปู แบบการฝึกทักษะ อาชีพ การเข้าสู่อาชีพ การพัฒนาอาชีพ และการพัฒนาอาชีพด้วยเทคโนโลยี การเรียนรจู้ ากการปฏิบัติจริงท่ีบูรณา การกับวิถีชีวิต โดยใชว้ งจรกระบวนการคิด ทำ จำ แก้ปัญหาและพัฒนา การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพท่ีพัฒนา ศักยภาพของบคุ คลและชุมชนที่สอดคลอ้ งกับวิถีชีวติ โดยส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพ สร้างเครือข่ายอาชพี มีระบบการ แลกเปลย่ี นเรียนร้คู วามรู้และประสบการณก์ ารทำอาชีพ ภายใตว้ ัฒนธรรมของชมุ ชน มกี ลยุทธเ์ พือ่ การแข่งขันของ ชมุ ชน เป็นชุมชนที่ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการและพัฒนาอาชีพ กจิ กรรมท่ีส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้ ฝึกทักษะและฝึกปฏิบัติ ด้านอาชีพท่ีตนเองสนใจ เพื่อเป็นทางเลือก และการวางแผนการประกอบอาชีพและ การศกึ ษาต่อในอนาคต

12 ดงั นัน้ กศน.อำเภอบางปลามา้ มุง่ เนน้ ให้นักศึกษาไดพ้ ัฒนาศักยภาพในการเรียนรู้ จงึ ได้จดั โครงการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสร้างสรรค์ป้ันอาชีพ เพ่ือเสริมสร้างความเป็นจิตอาสาให้กับนักศึกษาผ่าน รปู แบบการทำกจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชน์ตามแบบอย่างทด่ี ีของรัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 มีความรู้ ความเข้าใจและ มีทักษะอาชีพเร่ืองการทำสลัดโรลและการทำโดนัทจ๋ิวสามารถนำไปใช้เป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพและ การศกึ ษาตอ่ ในอนาคตตอ่ ไป 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื เสรมิ สร้างความเปน็ จติ อาสาให้กับนักศึกษาผา่ นรูปแบบการทำกิจกรรมบำเพญ็ ประโยชนต์ าม แบบอยา่ งที่ดขี องรชั กาลท่ี 9 และรัชกาลท่ี 10 2. เพ่ือให้นักศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจและมีทกั ษะอาชพี เร่ืองการทำสลดั โรลและการทำโดนทั จิว๋ 3. เพอ่ื ให้นกั ศึกษานำไปใช้เป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพและการศกึ ษาตอ่ ในอนาคต 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอบางปลามา้ จำนวน 70 คน เชงิ คุณภาพ นักศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการฯ มีจิตอาสา พรอ้ มช่วยเหลือผู้อ่ืน นำความรู้ด้านทักษะอาชีพไปใช้เป็น ทางเลือกในการประกอบอาชีพและการศกึ ษาตอ่ ในอนาคต การใชจ้ ่ายงบประมาณ เงินงบประมาณ 2565 แผนงาน : ยุทธศาสตรส์ ร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการศกึ ษาตง้ั แต่อนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน งบเงินอดุ หนุน ค่ากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน รหัสงบประมาณ 20002430016004100135 จำนวน 7560.-บาท (เจด็ พนั ห้าร้อยหกสิบบาทถ้วน) เงนิ งบประมาณ 2565 แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการศึกษาตง้ั แต่อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษา ขน้ั พ้นื ฐาน งบเงนิ อุดหนนุ คา่ จดั การเรยี นการสอน รหัสงบประมาณ 20002430016004100212 จำนวน 5,560.- บาท (สหี่ า้ พนั ห้าร้อยหกสิบบาทถ้วน) รวมเปน็ เงินท้ังสนิ้ 13,120.- บาท (หนึง่ หมื่นสามพนั หนึ่งรอ้ ยย่สี บิ บาทถ้วน)

13 ผลท่ีคำดว่ำจะได้รบั จำกโครงกำร นกั ศึกษาทเี่ ขา้ ร่วมโครงการฯ มีจติ อาสา พรอ้ มช่วยเหลอื ผู้อ่ืน นำความรู้ด้านทักษะอาชีพไปใช้เป็นทางเลือก ในการประกอบอาชีพและการศกึ ษาต่อในอนาคต

14 ตอนท่ี 3 . สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น กจิ กรรมจิตอาสาพฒั นาสรา้ งสรรคป์ ้นั อาชีพ งานพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ไดก้ ำหนดเป้าหมาย โครงการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน กิจกรรมจติ อาสาพัฒนา สรา้ งสรรคป์ น้ั อาชพี - ดำเนินวนั ที่ 31 สิงหาคม 2565 - ณ กศน.อำเภอบางปลามา้ หมู่ที่ 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี - กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 70 คน ดำเนนิ การได้ 74 คน ดังน้ี ท่ี ประเภท เป้าหมาย ทำได้ ชาย หญิง คดิ เปน็ (คน) (คน) ร้อยละ ๑ โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 32 42 กิจกรรมจติ อาสาสร้างสรรคป์ นั้ อาชพี 70 74 105.7 รวม 32 42 70 74 105.7 เนอ้ื หาในการใหค้ วามรู้โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน กจิ กรรมจติ อาสาพฒั นาสรา้ งสรรค์ปั้นอาชพี ดำเนินการในรปู แบบการบำเพ็ญประโยชน์ และฝึกอบรม/สาธิต/ปฏบิ ตั ิจริงและแบง่ ฐานการเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ปญั หา - นกั ศึกษามาเข้ารว่ มกจิ กรรม ไม่ตรงเวลา ทำใหก้ ารดำเนนิ การจัดกจิ กรรมลา่ ช้า - นกั ศกึ ษาขาดระเบียบวินัยในการเขา้ ร่วมกระบวนการกลุม่ แนวทางแกไ้ ข ไดจ้ ัดกระบวนการเรียนรู้สอดแทรกโดยการให้นกั ศึกษาได้สรา้ งการรบั รู้และตระหนกั ในเร่ืองการบรหิ าร จัดการเวลาและการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกับคนจำนวนมากเพื่อประโยชน์ต่อสว่ นรวมทำใหไ้ ม่เกิดความเสียหายในการ ดำเนินงานและภาพลักษณท์ ี่ดีขององค์กรซึ่งสามารถนำไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้

15 จากสรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจ โครงการพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น กิจกรรมจิตอาสาพฒั นาสรา้ งสรรคป์ นั้ อาชพี จากสรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กจิ กรรมจติ อาสาพัฒนา สร้างสรรคป์ นั้ อาชีพสรปุ ผลได้ ดังนี้ 1. ข้อมลู ทวั่ ไป - มผี ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม จำนวน 74 คนเปน็ ชาย 32 คน เป็นหญงิ 42 คน 1. กศน.ตำบล กศน.ตำบลโคกคราม มผี เู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมจำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.1 กศน.ตำบล มะขามล้ม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.8 กศน.ตำบลไผ่กองดิน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.8 กศน.ตำบลบางใหญ่ มผี ู้เขา้ ร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.8 กศน.ตำบลวัดดาว มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.8 กศน.ตำบลสาลี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.8 กศน.ตำบลจรเข้ใหญ่ มีผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมจำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.8 กศน.ตำบลวัดโบสถ์ มีผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 8.1 กศน.ตำบลกฤษณา มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.8 กศน.ตำบลตะคา่ มีผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมจำนวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.1 กศน.ตำบลบางปลาม้า มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 8.1 กศน.ตำบลองครักษ์ มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมจำนวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.8 กศน.ตำบลบ้านแหลม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.8 และ กศน.ตำบลวงั น้ำเยน็ มีผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมจำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.8 2. เพศ โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น กิจกรรมจติ อาสาพัฒนาสรา้ งสรรคป์ นั้ อาชพี มีผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม เป็นชาย จำนวน 32 คน คิดเปน็ ร้อยละ 43.2 เป็นหญงิ จำนวน 42 คน คิดเปน็ ร้อยละ 56.8 3. ช่วงอายุ อายุระหว่าง 15 – 39 ปี จำนวน 62 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 83.8 อายุระหว่าง 40-59 ปี จำนวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.1 อายุ 60 ปีข้นึ ไป จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 8.1 4. ระดบั การศึกษา ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4.1 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน 28 คน คดิ เป็นร้อยละ 37.8 และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 43 คน คิดเปน็ ร้อยละ 58.7

16 5. การประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพรับจา้ ง จำนวน 64 คน คิดเปน็ ร้อยละ 86.5 ประกอบอาชีพค้าขาย จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.4 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม จำนวน 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.5 และอ่ืนๆ จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.6 สรุประดบั ความพงึ พอใจ ระดับความคดิ เหน็ น้อย ท่ี หัวขอ้ การประเมิน มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย ที่สุด 1 ทา่ นมีใจเปน็ จิตอาสา พร้อมชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่นื 18.9% 75.7% 5.4 % 0 0 (14 คน) (56 คน) (4 คน) 0 0 0 0 2 ท่านมีความรู้ ความเขา้ ใจเรอ่ื งการทำสลดั โรล 21.6% 73.0% 5.4% 0 0 0 (16 คน) (54 คน) (4 คน) 0 0 0 3 ท่านมีความรู้ ความเข้าใจเร่ือง การทำโดนทั จวิ๋ 36.5% 58.1% 5.4% 0 0 (27 คน) (43 คน) (4 คน) 0 4 ท่านสามารถนำความรู้ จากการเข้าร่วม 45.9% 50.0% 4.1% 0 โครงการฯไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน (34 คน) (37 คน) (3 คน) 5 วทิ ยากรมีความรู/้ ถ่ายทอดความร/ู้ จัดกิจกรรม/ 56.8% 39.2% 4.0% ไดช้ ดั เจนเขา้ ใจงา่ ย (42 คน) (29 คน) (3 คน) 6 วสั ดอุ ปุ กรณ์/สื่อที่ใชใ้ นโครงการฯ มีความ 64.9% 31.1% 4.0% เหมาะสม (48 คน) (23 คน) (4 คน) 7 สถานที่ ๆจดั โครงการมคี วามเหมาะสม 55.4% 41.9% 2.7% เหมาะสม (41 คน) (31 คน) (2 คน) สรุป 42.9% 52.7% 4.4% สรุปความพึงพอใจ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมจติ อาสาพฒั นาสรา้ งสรรค์ปนั้ อาชพี ดังน้ี ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจ อย่ใู นระดับมากทส่ี ดุ คิดเป็นร้อยละ 42.9 อยใู่ นระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 52.7 และอยู่ในระดับปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.4

17 สรปุ ขอ้ เสนอแนะ จำกแบบประเมินควำมพึงพอใจ โครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น กจิ กรรมจติ อาสาพัฒนาสรา้ งสรรค์ป้ันอาชีพ วันที่ 31 สงิ หาคม 2565 ณ กศน.อำเภอบางปลามา้ หม่ทู ่ี 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลามา้ จังหวัดสุพรรณบุรี ---------------------------------------------------------------------------------- ในการพานกั ศึกษาอบรมในครง้ั นี้ สรปุ ข้อเสนอแนะได้ 1 ขอ้ ดงั นี้ ท่ี ข้อเสนอแนะ จำนวน (คน) หมายเหตุ 1 ดมี าก 1 ผลลพั ธ์ตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1. เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในด้านกระบวนการคิดเป็นในรายวิชาบังคบั การดำเนนิ การโครงการเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไว้ ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ ในด้านกระบวนการคิดเป็นในรายวิชาบังคบั รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้ารบั การอบรมไดร้ ับการพัฒนาความรูใ้ นรายวชิ า วิทยาศาสตร์และวชิ าคณิตศาสตร์ โดยการสังเกตจากการถาม-ตอบข้อสงสยั ในขณะอย่ใู นกระบวนการอบรม 2. เพ่อื เพิ่มผลสมั ฤทธิ์คะแนน N-Net และคะแนนปลายภาคเรยี น ทัง้ นเ้ี น่ืองจากการจัดโครงการในครงั้ นี้มงุ่ เนน้ กล่มุ เป้าหมายที่เป็นนักศกึ ษา กศน.ท่จี ะสำเรจ็ การศกึ ษาใน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 นำความรูแ้ ละทักษะทีไ่ ด้รับไปเป็นแนวทางด้านกระบวนการคดิ เป็นในรายวชิ า บงั คบั สง่ ผลให้มีผลสมั ฤทธค์ิ ะแนน N-Net และคะแนนปลายภาค เพิม่ มากข้นึ

18 ภาพกจิ กรรม โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น กจิ กรรมจติ อาสาสรา้ งสรรค์ป้นั อาชีพ วันท่ี 31 สงิ หาคม 2565 ณ กศน.อำเภอบางปลาม้า หมู่ที่ 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลามา้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ----------------------------------------------------------------------------------

19 โครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น กจิ กรรมจติ อาสาสร้างสรรคป์ ัน้ อาชีพ วนั ท่ี 31 สงิ หาคม 2565 ณ กศน.อำเภอบางปลามา้ หมทู่ ่ี 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ---------------------------------------------------------------------------------- \\

20 โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมจติ อาสาสรา้ งสรรค์ปน้ั อาชีพ วันท่ี 31 สงิ หาคม 2565 ณ กศน.อำเภอบางปลามา้ หมทู่ ี่ 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ----------------------------------------------------------------------------------

ภาคผนวก

แบบประเมินความพึงพอใจ โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ติ กจิ กรรมจติ อาสาสรา้ งสรรคป์ ัน้ อาชพี วนั ที่ 31 สิงหาคม 2565 ณ กศน.อำเภอบางปลามา้ หมู่ท่ี 5 ตำบลโคกคราม อำเภอบางปลามา้ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี







คณะผ้จู ดั ทำ ทปี่ รึกษา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางปลาม้า นางสมควร วงษแ์ กว้ ครูชำนาญการพิเศษ นายปรีชา พิทักษ์วงศ์ ครูอาสาสมัครฯ คณะผู้จัดทำ นางจีระภา โกพัฒน์ตา ครู กศน.ตำบลทกุ คน ผู้จดั ทำ/พมิ พ์ ครูอาสาสมัครฯ เจ้าหนา้ ท่ีบรหิ ารงานทว่ั ไป นางจีระภา โกพัฒนต์ า นางสาวภาสนิ ี สุขสำราญ