Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore GD58201-W3-หมู่ 2 (E-book Info วิธีการสอน)

GD58201-W3-หมู่ 2 (E-book Info วิธีการสอน)

Published by technoamp, 2022-03-31 15:40:51

Description: GD58201-W3-หมู่ 2 (E-book Info วิธีการสอน)

Search

Read the Text Version

วิธีสอนแบบนิเทศ การสอมีน2แแบบบบนิเทศ (SUPERVISED PLAN) 1.นักเรียนเรียนรู้เป็นรายบุคคล เป็นวิธีสอนที่ครูให้คำแนะนำแก่นักเรียนในการ 2. นักเรียนเรียนรู้เป็นกลุ่ม ปฏิบัติการเรียนรู้ที่ละขั้นตอนทั้งที่เป็นรายบุคคล - ขั้น1 ครูมอบงานเป็นกลุ่มและครูคอยควบคุม หรือรายกลุ่ม - ขั้น2 เมื่อนักเรียนใช้เทคนิคในการได้คล่องแคล่ว ครูจึงค่อยๆ มอบงานให้ทำ นักเรียนมีโอกาสในการเรียนรู้ตามลำพัง เป็นรายบุคคล และคอยดูแลแนะนำเป็นรายบุคคล โดยมีครูคอยช่วยเหลือ วิธีการศึกษาและเรียนรู้มุ่งที่จะให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองตามคำแนะนำ ของผู้สอน โดยศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ศึกษากับบุคคล หรือ ศึกษาจากของจริง การสอนแบบนิเทศเน้นย้ำให้นักเรียนเข้าใจ เทคนิควิธีการเรียนให้เกิดผลดี ผู้จัดทำ นางสาวกุลธิดา ศิริเอก เลขที่ 4 หมู่ที่ 2 รหัสประจำตัว 647190204 ข้อมูลอ้างอิง วิธีสอนแบบนิเทศSupervised Plan.(2558).[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก :http:///www.maiyim.blogspot.com.(วันที่ค้นข้อมูล:22มีนาคม2565).

นางสาวสิรริ ฐั แดงดี รหัสนักศึกษา 647190206 หมู่ 2 เลขท่ี 6 วิธสี อนโดยการใช้กรณีตัวอยา่ ง ขั้นตอน ผู้สอนนำาเสนอกรณีตัวอย่าง โดยให้ผู้เรยี นศึกษากรณตี ัวอยา่ ง (Case Method) เพ่ือท่ีจะได้คิดวิเคราะห์ คิดแกป้ ญั หา และตอบคำาถามท่ีผสู้ อน กาำ หนดให้ จากนัน้ ผเู้ รียนอภปิ รายสรุปเป็นคำาตอบรว่ มกัน และสุดทา้ ยผสู้ อนจะตอ้ งสรุปการอภิปรายผลจากบทเรยี น และทำาการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนตอ่ ไป การท่ีผู้สอนใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษาเร่ืองท่เี กิดขน้ึ จากความเปน็ จริงท่ีผู้สอนได้กาำ หนด 1. การเตรียมการ ผสู้ อนจาำ เป็นตอ้ งเตรียมกรณีตัวอย่าง ให้พรอ้ มท่ีใกลเ้ คียงกบั ความจริงมากท่ีสุด ผสู้ อนอาจ ความหมาย ใหต้ ามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ โดยผู้สอนกาำ หนดประเด็นคำาถามใหผ้ เู้ รยี นได้ ใชว้ ธิ กี ารตัง้ ประเด็นคำาถามท่ีทา้ ทายให้ผเู้ รยี นคิดกไ็ ด้ ใช้ความคิด นำาเหตุผลและคาำ ตอบท่ีได้มาอภปิ รายร่วมกนั โดยมจี ดุ มงุ่ หมายท่ีสาำ คัญ คือ มุง่ ใหผ้ ูเ้ รียนคดิ แกป้ ญั หา คดิ วเิ คราะห์ ไดม้ ุมมองท่ีกว้างข้ึน ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ ง 2. การนาำ เสนอกรณีตัวอยา่ ง เชน่ การพิมพ์เป็นข้อมลู มีวจิ ารณญาณ และการคดิ แก้ปญั หา มาใหผ้ ้เู รยี นอ่าน การเล่ากรณตี ัวอย่างให้ฟงั หรอื นาำ เสนอโดยใชส้ ่ือ เช่น สไลด์ วีดิทัศน์ ภาพยนตร์ หรอื อาจให้ผ้เู รียนแสดงเป็นละครหรอื บทบาทสมมตกิ ไ็ ด้ ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการเรยี นสงู องค์ประกอบ 3. การศึกษากรณีตัวอย่างและการอภิปราย และสง่ เสริมการเรียนรูจ้ ากกันและกนั ผ้สู อนควรแบง่ ผ้เู รยี นเปน็ กลุ่มยอ่ ยและใหเ้ วลาอยา่ งเพียงพอ ในการศึกษากรณตี ัวอย่าง และเม่ือผูเ้ รยี นแต่ละคนมีคาำ ตอบ ผูเ้ รยี นเกดิ ความพร้อมท่ีจะแกป้ ัญหา ของตนเตรียมไว้กอ่ น แลว้ จงึ ร่วมกันอภิปรายเป็นกลุ่ม เม่ือเผชิญปัญหานั้นในสถานการณจ์ รงิ และนาำ เสนอผลการอภปิ รายระหว่างกลุ่ม หากผู้เรียนมคี วามรแู้ ละประสบการณ์ไมแ่ ตกตา่ งกนั การเรยี นร้อู าจไมก่ วา้ งเท่าท่ีควร และ ขอ้ จาำ กดั แมป้ ญั หาและสถานการณ์จะใกลเ้ คียงกับความเปน็ จรงิ แต่ก็ไม่ไดเ้ กดิ ขน้ึ จริง ๆ กบั ผู้เรยี น ความคดิ ในการแกป้ ัญหาจึงเป็นไปตามเหตุผลท่ีถูกท่ีควร ซง่ึ อาจไมต่ รงกับการปฏิบตั จิ รงิ ได้ ณรงค์ กาญจนา. (2560). วิธีสอน (Teaching Methods) กรณตี วั อย่าง. สบื ค้น 21 มีนาคม 2565, จาก http://skruteachingmethods.blogspot.com/p/blog-page_63.html ทิศนา แขมมณี. (2557). 14 วธิ ีสอนสาำ หรบั ครมู ืออาชีพ (พิมพ์ครัง้ ท่ี 12). กรุงเทพฯ: สาำ นักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PROBLEM-BASED LEARNING) แนวคิดพื้นฐาน ขั้นตอนการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน จุดมุ่งหมาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็น รู ปแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ 1) ทดสอบความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาที่จะสอนก่อนเรียน ฐานเป็นจัดการเรียนรู้ที่เน้นในสิ่งที่ ใช้ปัญหาเป็นฐานมีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึก 2) ให้ความรู้เบื้องต้นก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนรู้ เด็กอยากเรียนรู้ โดยสิ่งที่อยากเรียน ทักษะการคิดแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล 3) เปิดโอกาสให้เด็กเสนอสิ่งที่อยากเรียนรู้ รู้ดังกล่าวจะต้องเริ่มมาจากปัญหาที่ 4) แบ่งกลุ่มเด็กในการทำกิจกรรม เด็กสนใจหรือพบในชีวิตประจำวันที่ และเป็นระบบให้แก่นักเรียนโดยจัด 5) สร้างกติกาในการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับบทเรียน อาจ กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะ 6) ให้เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง เป็นปัญหาของตนเองหรือปัญหา 7) ครูให้เด็กสรุปสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและให้ กระบวนการคิดแก้ปัญหา การคิด เด็กได้นำเสนอผลงานของตน ของกลุ่ม ซึ่งครูจะต้องมีการปรับ สร้างสรรค์ คิดวิจารณญาณ การสืบค้น 8) ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง เปลี่ยนแผนการจัดการเรียนรู้ตาม ความสนใจของเด็กตามความเหมาะ และรวบรวมข้อมูล กระบวนการกลุ่ม สมจะเน้นที่กระบวนการเรียนรู้ของ การบันทึกและการอภิปราย เด็ก เด็กต้องเรียนรู้จากการเรียน (learning to learn) เน้นปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรียนในกลุ่ม การปฏิบัติ และการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) แหล่งที่มา:https://candmbsri.wordpress.com/2015/04/07/การจัดการเรียนรู้แบบใช/

ความหมาย บทบาทของผู้สอน การใช้สถานการณ์ จำลอง การสอนที่ให้ผู้เรียนเกิดการเรียน เตรียมการจำลองสถานการณ์ SIMULATION รู้จากการเผชิญกับสถานการณ์ ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ ของบทเรียน 1 ขั้นตอน 3 จำลองในชั้นเรียน ที่มีการกำหนด ร่วมกำหนดสถานการณ์ การสอน กติกา เงื่อนไข ให้ผู้เรียนได้ฝึก จำลองกับผู้เรียน ผู้สอนชี้แจงวัตถุประสงค์ ผู้สอนร่วมกับผู้เรียนสรุ ปสิ่งที่ แก้ปัญหา ตัดสินใจ ใช้ไหวพริบ กำหนดขั้นตอน บทบาทของผู้ กำหนดประเด็น สถานการณ์ ได้จากสถานการณ์ จำลอง แสดงให้ชัดเจน ก่อนสร้าง วิเคราะห์และสรุ ปการนำไป วัตถุประสงค์ สถานการณ์ จำลอง ที่จะจำลอง กิจกรรมและ ใช้ในชีวิตจริง บทบาทของผู้แสดงร่วมกับ 1. ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการแก้ปัญหา บทบาทของผู้เรียน สถานการณ์ ที่ใกล้เคียงของจริง ผู้เรียน มากที่สุด ร่วมกำหนดสถานการณ์ จำลอง หรือบทบาทกับผู้สอน 2 2. ผู้เรียนรับมือกับสถานการณ์ จริง ร่วมสร้างและแสดงบทบาทใน เหล่านั้นได้ หากเกิดขึ้นจริงใน สถานการณ์ จำลอง ผู้เรียนเข้าสู่สถานการณ์ จำลอง อนาคต เป็ นผู้วิเคราะห์ สรุ ปข้อคิดและ โดยมีผุ้สอนดูแลตามที่กำหนด สิ่งที่ได้จากสถานการณ์ จำลอง ไว้ พร้อมบันทึกสถานการณ์ ลักษณะห้องเรียน สื่อการสอน ไว้ตลอดเวลา จำลองบรรยากาศหรือสภาพแวดล้อมให้ เหมือนจริงมากที่สุด ใช้สื่อได้อย่างหลากหลายชนิด ข้อดี ข้อจำกัด ตามสถานการณ์ การจำลองที่กำหนด ลักษณะเนื้อหา ผู้เรียนได้สัมผัสประสบการณ์ จาก ผู้สอนต้องใช้เวลาในการเตรียม การวัดและประเมินผล สถานการณ์ จำลองด้วยตนเอง สถานการณ์ การจำลองอย่างมี ใช้เนื้อหามาสอนแบบสถานการณ์ ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือล้น กล้า ประสบการณ์ จำลองได้ทุกวิชาขึ้นอยู่กับการวางแผน ผู้สอนวัดและประเมิน จากการบรรลุผลของ แสดงออก กิจกรรม การมีส่วนร่วมของผู้เรียน สิ่งที่ผู้เรียนได้ ขั้นตอนการสอนต้องใช้เวลาในการ และการออกแบบของผู้สอน ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการแก้ปัญหา แม้จะผิด ดำเนินกิจกรรม อภิปรายและสรุปผล จากการวิเคราะห์และสรุ ปผล พลาดก็ไม่เกิดผลเสีย จำนวนผู้เรียน รศ.ยุพิน บุญชูวงศ์ (2556). การสอนโดยใช้สถานการณ์ จำลอง SIMULATION : ข่าวสารวิชาการ มีจำนวนเท่าใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำเดือนเมษายน 2556 สถานการณ์ ที่กำหนด จุดมุ่งหมายของ นางสาวพรรณราย สำเภาอินทร์ รหัส 647190210 บทเรียนและเวลาที่ มีในชั้ นเรียน ป.บัณฑิต รุ่น 23 หมู่ 2 เลขที่ 10

การเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ / ปราชญ์ การนำหลักการมาประยุกต์ การเรียนรู้ที่เกิดจากการสังเกต (Observational Learning) โดยเริ่มต้นจากความ ใช้ในห้องเรียน สนใจของผู้เรียน เกิดจากการที่ผู้เรียนสังเกตการกระทำของผู้อื่นแล้วพยายามเลียน แบบพฤติกรรมจากบุคคลต้นแบบ โดยยึดหลักการเรียนรู้จาก \"ทฤษฎีปัญญาสังคม\" 1.ในห้องเรียน ครูเป็นบุคคลต้นแบบที่มีอิทธิพล ของ Albert Bandura ซึ่งมี 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ มากที่สุด ครูควรคำนึงอยู่เสมอว่า การเรียนรู้โดย การสังเกตและเลียนแบบจากครูจะเกิดขึ้นได้เสมอ 1.ขั้นให้ความสนใจ 2.ขั้นจำ Albert Bandura (Attention Phase) (Retention Phase) 2.การสอนแบบสาธิตปฏิบัติ ค รูต้องแสดงตัวอย่าง ผู้เรียนให้ความสนใจต่อ เมื่อผู้เรียนสนใจพฤติกรรม พฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุดเท่านั้น จึงจะมีประสิทธิภาพ บุคคลต้นแบบ ทั้งความ ของบุคคลต้นแบบ จะบันทึก สามารถ ความมีชื่อเสียง ในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ และคุณลักษณะเด่น ซึ่งจะ สิ่งที่สังเกตได้ไว้ในระบบ เป็นสิ่งดึงดูดให้ผู้เรียนเกิด ความจำของตนเอง 3.ควรใช้ผู้เรียนด้วยกันเป็นบุคคลต้นแบบได้ในบางกรณี ครูควรพยายามใช้ทักษะจูงใจให้ผู้เรียนสนใจและเลียนแบบ ความสนใจ เพื่ อนที่มีพฤติกรรมที่ดี มากกว่าผู้ที่มีพฤติกรรมไม่ดี 3.ขั้นปฏิบัติ 4.ขั้นจูงใจ นางสาวจันทร์จิรา อ่อนเหลา (Motivation Phase) หมู่2 รหัสนักศึกษา 647190211 (Reproduction Phase) ขั้นแสดงผลของการกระทำ บ้านจอมยุทธ.(2543).ทฤษฎีปัญญาสังคม (Social Learning Theory).สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2565. ผู้เรียนลองแสดงพฤติกรรม จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/psychology_of_learning/06.html ตามบุคคลต้นแบบ ซึ่งจะส่ง จากการแสดงพฤติกรรม ผลให้มีการตรวจสอบการเรียน ตามบุคคลต้นแบบ รู้ที่ได้จดจำไว้ ถ้าผลที่บุคคลต้น แบบเคยได้รับเป็นไป ในทางบวก ก็จะจูงใจให้ผู้เรียนอยาก แสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ถ้าผลเป็นไปในทางลบ ผู้เรียนก็จะงด เว้นการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบนั้น

การสะทอ้ นความคดิ (Reflective thinking) การคดิ แบบสะทอ้ นตนเอง Reflective Thinking การคดิ แบบสะทอ้ นตนเอง “การพฒั นาตอ้ งเร่มิ จากการยอมรบั และเขา้ ใจว่ามี กระบวนการวเิ คราะหส์ ถานการณข์ อง ตนเองและพฒั นา บางสง่ิ ทเ่ี ราอยากทาใหด้ ขี ้นึ การเขา้ ใจเช่นน้ีคอื การ ตนเองใหด้ ขี ้นึ เนน้ การตระหนกั รูใ้ น 3 หวั ขอ้ เขา้ ใจความเป็นจรงิ กลา้ หาญ และมงุ่ มนั่ จะไปต่อ ประสบการณ์ ความเชอ่ื ความรู้ ไมใ่ ช่การคิดลบ” ลกั ษณะพ้นื ฐานของ การสะทอ้ นความคดิ ตนเองแตล่ ะโมเดล 1.มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื การเรยี นรู้ 2.กระบวนการแบบแอคทฟี และต่อเน่ือง 3.มธี รรมชาตกิ ารทางานเป็นวฏั จกั ร 4.อาศยั การพจิ ารณาดว้ ยมมุ มองท่ี หลากหลาย ประโยชน์ของการสะทอ้ นความคดิ ตนเอง นางสาวรชั ฌา สรอ้ ยสวสั ด์ิ หมู่เรยี นท่ี 2 เลขท่ี 12 แบบจาลองของการสะทอ้ นความคดิ ตนเอง ช่วยใหแ้ ต่ละบคุ คลเขา้ ถงึ คุณค่าของแต่ละ ประสบการณข์ องพวกเขาไดอ้ ย่างลกึ ซ้งึ ช่วยพฒั นาการแสดงออกและพฤตกิ รรม

เทคนิคการสอนแบบระดมพลังสมอง (Brainstorming ) ความหมาย ลักษณะสำคัญ ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ช่วยกันคิดหาคำตอบหรือทางเลือกสำหรับปัญหาที่กำหนดให้มากที่สุดและเร็วที่สุดเท่าที่จะ หมายถึง วิธีสอนที่ใช้ในการอภิปรายโดยทันที ไม่มีใครกระต้นกล่มผู้เรียนเพื่อหา คําตอบหรือทางเลือก ทำได้ แล้วช่วยกันพิจารณาเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่งทาง สําหรับปัญหาที่กําหนดอย่างรวดเร็ว ในระยะเวลาส้นโดยในขณะนั้นจะไม่มีการันตัดสินว่า คําตอบหรือ ทางเลือกใดดีหรือไม่อย่างไร ขั้นตอนในการระดมสมอง ประโยชน์ของการระดมพลังสมอง 1. ให้โอกาสแสดงความคิดเห็นในปัญหาต่าง ๆ โดยไม่ต้องคอยไตร่ตรอง ไม่มีข้อจำกัดหรือการกีดกันใด ๆ ทั้งสิ้น 1. กำหนดปัญหา 2. ได้รับความเห็นหลาย ๆ ด้าน ทำให้กลุ่มมีโอกาสในการพิจารณาเลือกหลายสิ่ง 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียน และอาจเลือกประธานหรือเลขา ไม่จำเพาะเจาะจงอยู่ในความคิดเดียวตลอดไป เพื่อช่วยในการอภิปรายและ บันทึกผล 3. สร้างกลุ่มให้เกิดความคิดใหม่ ๆ ในการสร้างสรรค์และสามารถนำไปใช้ เพื่อความก้าวหน้าของกลุ่ม 3. สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันคิดหาคำตอบ 4. เป็นวิธีที่ให้โอกาสแก่ทุกคนเสนอความคิดเห็นได้ ซึ่งจะช่วยสร้างให้กลุ่ม หรือทางเลือกสำหรับปัญหาที่กำหนดให้มากที่สุด เกิดมีคุณธรรมและเกิดความรักหมู่คณะขึ้น ภายในเวลาที่กำหนดโดยปัญหาของแต่ละกลุ่มอาจเป็น ปัญหาเดียวกันหรือต่างกันก็ได้ 1. ฝึกแกลระมะเีบพคืุ่วอณนแคกก่้าาปมรัญแากกห้ทปีาั่จญหะนหึใ่ชงา้ 4. คัดเลือกเฉพาะทางเลือกที่น่าจะเป็นไปได้ หรือเหมาะสมที่สุด 5. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตน ( ข้อ 4 และ 5 อาจสลับกันได้ ) ข้อดี 6. อภิปรายและสรุปผล 1. ปแรตะ่เลมิะนคผนลไผดู้้เยรีายกน 2. กต่ัอวใผแูห้้ลเเรทีะกียิ่ฝแดึนกตแสกูรกงางตรจู่ยางงอใกจมัในรนับความเห็นกาไรมอ่สก่ีภว่2ิคนป.นนรอ้คาอายจรยสอมเ่ีพบวนีันคยกใงรเหรอียญง่น 5.แปลเรพะิะ่กมหาเยรตัิจดัมดคอ่ืห่านใาชสๆื้่จอ่าย 5แใน.ลแทหกะัลั้มงาวะีรใเปสรนดื่รรอำกุะปงเลธุตนก่้ิมาานอนยรง่กทออีช่าัมยภดรีิคปแเจวรลนาาะมยรรัสดวมากมุทมั้างรชัถ้น ข้อจำกัด ห้3.องเเสรีียยงมนขั้กาจงะเคดีังยรงบกวน ภายใทานเง3เว.ลืลไดาอ้อักคไนำสดั้้ตมนอาบกหรือ 4. ถ้าผู้จดบันทึกทำงานได้ช้า การ4ร.่วสม่งมเืสอรกิัมน การคิดอย่างอิสระก็จะช้า และจำกัดตามไปด้วย นางสาวเกศินี ชูขวัญ เลขที่ 13 หมู่เรียนที่ 2

วิธีสอนแบบโครงงาน เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า หรือปฏิบัติงานตามหัวข้อที่ผู้เรียนสนใจ ซึ่งผู้เรียนจะต้องฝึกกระบวนการ ทำงานอย่างมีขั้นตอน มีการวางแผนในการท างานหรือการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจนการดำเนินงานสำเร็จลุล่วงตาม วัตถุประสงค์ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้อย่างหลากหลาย อันเป็นประสบการณ์ตรงที่มีคุณค่า สามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน การดำเนินงานต่างๆ ได้วิธีการสอนโครงงานสามารถสอนต่อเนื่องกับวีสอนแบบบูรณาการได้ ทั้งในรูปแบบบูรณาการภายในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ และบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้นำองค์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้มาบูรณาการ เพื่อทำโครงงาน การจัดการเรียนรู้ 1.ผู้สอนเสนอสถานการณ์ตัวอย่างที่เป็นปัญหา และกระตุ้นให้ผู้เรียนหาวิธีการแก้ปัญหา 1.) ขั้นกำหนดปัญหา 2.) ขั้นกำหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน 2. ผู้สอนแนะนำให้ ผู้เรียนกำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน ว่าเรียน เพื่ออะไร จะทำโครงงานนั้นเพื่อแก้ปัญหาอะไร 3.) ขั้นวางแผนและวิเคราะห์โครงงาน 3. ให้ผู้เรียนวางแผนแก้ปัญหา ซึ่งเป็นโครงงานเดี่ยวหรือกลุ่ม 4.) ขั้นลงมือปฏิบัติหรือแก้ปัญหา แล้วเสนอแผนการดำเนินงานให้ผู้สอนพิจารณาให้คำแนะนำ 5.) ขั้นประเมินผลระหว่างปฏิบัติงาน 4. ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติหรือแก้ปัญหาตามแผนการที่กำหนดไว้โดยมี ผู้สอนเป็นที่ปรึกษา คอยสังเกต ติดตาม แนะนำ 6.) ขั้นสรุป รายงานผล และเสนอผลงาน 5. ผู้สอนแนะนำให้ผู้เรียนรู้จักประเมินผลก่อนดำเนินการระหว่าง ดำเนินการและหลังดำเนินการ นางสาวธนพรรณ อุบลแย้ม รหัสนักศึกษา 647190214 หมู่เรียนที่ 2 6. เมื่อผู้เรียนทำงานตามแผนและเก็บข้อมูลแล้วต้องทำการ วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและเขียนรายงานเพื่อนำเสนอผลงาน

ลักษณะสำคัญ วิธีปฏิบัติ เป็นการปฏิบัติฝึกฝนความ ให้ผู้เรียนได้ลงมือ รู้ความเข้าใจจากทฤษฎีที่ ฝึกฝนหรือปฏิบัติ เรียนมาโดยเน้นการฝึก ทักษะภายหลังการสาธิต จริง การทดลองหรือ การ ข้อควรคำนึง บรรยาย ต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ การลงมือปฏิบัติ เครื่องมือจำนวน ( Practice ) มาก และมีคุณภาพ วิธีสอนที่ให้ประสบการณ์ตรง กับ ผู้เรียน โดยการให้ลงมือ ปฏิบัติจริง เป็นการสอนที่มุ่ง ให้เกิดการผสมผสานระหว่าง ทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ ขั้นตอนการสอน 1. ขั้นเตรียม 2. ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นสรุป 4. ขั้นประเมินผล

Self – รูปแบบกิจกรรมที่ส่งเสริม Directed การเรียนรู้ด้วยตนเอง Learning 1. ศึกษาผู้เรียนเป็น 2. จัดให้ผู้เรียนมีส่วน 3. พัฒนาทักษะการ การเรียนรู้แบบนำตนเอง รายบุคคล รับผิดชอบในการเรียน เรียนรู้ของผู้เรียน คือ กระบวนการที่ ผู้เรียนเริ่มการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ควรเปิด ฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะการ คำนึงถึงความแตกต่าง โอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาท เรียนรู้ที่จำเป็นต่อการเรียน ด้วยตนเอง ตามความสนใจ ในการ กำหนดแนวทางการ ความต้องการ และความถนัด ระหว่างบุคคล เรียนรู้ และเลือกวิธีการ รู้ด้วยตนเองรวมทั้งเปิด มีเป้าหมาย แสวงหาผู้สนับสนุน โดยจัดการเรียนรู้ เนื้อหา โอกาสให้ผู้เรียนได้มี แหล่งความรู้ สื่อการศึกษา และสื่ อที่เอื้ อต่อการเรียนรู้ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับ เลือกวิธีการเรียนรู้ จนถึงการ รายบุคคล รวมทั้งเปิด ตนเอง ประสบการณ์ ในการตัดสิน ประเมินความก้าวหน้าของการ โอกาสให้ผู้เรียนได้นำเอา ใจ แก้ปัญหา ประสบการณ์ของตนมาใช้ เรียนรู้ของตนเอง ในการเรียนรู้ การซึมซาบ 4. พัฒนาทักษะการ 5. พัฒนาทักษะการ 6. จัดปัจจัยสนับสนุน หรือดูดซึม เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น ประเมินตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้าง การทำงานเป็นทีม การทำ พัฒนาทักษะสร้างความ ของผู้เรียน กิจกรรมกลุ่ม ร่วมกับ เข้าใจ และยอมรับผลการ รูปแบบการ การปรับ เพื่อนที่มีความรู้ความ ประเมินจากผู้อื่น รวมทั้ง สภาพแวดล้อมบริเวณใน โครงสร้าง โรงเรียนจึงต้องจัดให้เป็น นำเสนอ ทางปัญญา สามารถ ทักษะ เจตคติ จัดให้ผู้เรียนได้รับ แหล่งความรู้ที่นักเรียนจะ ที่แตกต่างกัน ประสบการณ์การประเมิน ค้นคว้าด้วยตนเองได้ เช่น ความคิดที่ ศูนย์วิทยาการ บทเรียน แตกต่างกัน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน ผลหลาย ๆ รูปแบบ สำเร็จรูป ชุดการสอน ฯลฯ เรียนรู้ของกระบวนการ ผลที่ เรียนรู้ ได้รับ ผู้เรียนจะมีการ https://penpakchauypan.wordpress.com/2015/05/13/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80% E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%81%E0% ปะทะสัมพันธ์กับ แหล่งที่มา B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8% 87-self/ สิ่งแวดล้อม

การค้นคว้าโดยอิสระ IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ ความรู้ (Research and เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งที่ใช้กันอย่าง กว้างขวางในการพัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการเปิด Knowledge Formation) เป็นสาระ โลกกว้างให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระใน ที่มุ่งให้ผู้เรียนกำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้ เรื่องหรือประเด็นที่ตนสนใจ IS 2- การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation)เป็น สาระที่มุ่งให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับ มาพัฒนา วิธีการการถ่ายทอด/สื่อสารความหมาย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วยวิธีการนำเสนอที่ เหมาะสม IS 3- การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้ เรียน นำ/ประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิด บริการสาธารณะ (Public Service)

การเรียนรแู้ บบรว่ มมือ Cooperative learning องค์ประกอบ 1ต่อ 10.เลา่ การพึ่งพากนั และชว่ ยเหลอื กนั (Positive 2.จดั ทมี เรอื่ งราว เรอื่ งรอ interdependence) (Jigsaw) บวง แขง่ ขนั การปรกึ ษาหารอื กนั อย่างใกลช้ ดิ (Face to face 10 เทคนิค 9.คู่คดิ Promotion Interaction) (Team) การเรยี นรูแ้ บบ 8.การ ความรับผิดชอบของแตล่ ะคนท่สี ามารถตรวจสอบได้ 3.แบง่ ปัน ร่วมมอื (Individual Accountability) สมั ภาษณ์ ความสาเรจ็ การใชท้ ักษะปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและทกั ษะ 4.กล่มุ 7.คู่ การทางานกลมุ่ ย่อย (Interpersonal and Small-group Skills) สบื คน้ ตรวจสอบ การใชก้ ระบวนการกลมุ่ (Group Processing) 5รว่ มกนั 6.เพอื่ น คดิ คู่คดิ

Research-based learning ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดีหาก มีประสบการณ์ตรงกับสิ่งนั้น (learning by doing) principles RBL มี4รูปแบบ ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการ Objective ปฏิบัติจริง เผชิญเหตุการณ์ จริง สร้างสรรค์ผลงาน จาก 1) ผู้สอนใช้ผลการวิจัยในการสอน กระบวนการคิด การทำงานที่ เป็นระบบ สร้างองค์ความรู้ เพื่ อให้ผู้เรียนสามารถแสวงหา ความรู้ 2) ผู้เรียนใช้ผลการวิจัยในการเรียนรู้ ด้วยตนเอง ใช้กระบวนการ ในศาสตร์ของตนได้ด้วย ตนเองโดยมี วิจัยในการแก้ ปัญหา ค้นหา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คำตอบจากการสืบค้น และ Trial Self-Studying วิเคราะห์ข้อมูลด้วยตนเอง and error 3) ผู้สอนใช้กระบวนการวิจัย ในการ สอน 4) ผู้เรียนใช้กระบวนการวิจัยในการ เรียนรู้ พวงผกา ปวีณบำเพ็ญ. (2017). การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน. แหล่งที่มา : https://so01.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/download/166369/120408/

การสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ การสอนที่สนับสนุนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมแสดง Role playing บทบาทตามเรื่องราวหรือสถานการณ์ต่างๆ จุดมุ่งหมาย ข้อจำกัด ขั้นตอนการสอน ให้ผู้เรียนมีความ 1. การจัดสรรเวลา ขั้นเตรียมการ กล้าแสดงออก 2. ค่าใช้จ่าย คุณครูและผู้เรียนร่วม กันกำหนดเรื่องราว ให้ผู้เรียนมีทักษะ และซักซ้อมการแสดง การแก้ไขปัญหา แบบละคร แบบแก้ปัญหา ขั้นแสดง รู้จักการ แสดงโดยมีเรื่องราว มีการสมมติสถานการณ์ ทำงานเป็นทีม ผู้เรียนแสดงบทบาทตามที่ กำหนดอยู่แล้ว ให้ผู้เรียนแสดงตาม กำหนด และคุณครูเป็นผู้ ความคิดตนเอง สังเกตการณ์และผู้ตัดบท ขั้นสรุป คุณครูกล่าวชมเชยและสรุป ถึงสิ่งที่ได้รับในการแสดง www.trueplookpanya นางสาวพิรดา ใจมั่น หมู่ที่ 2 เลขที่ 20

การสอนแบบ การสอนแบบสืบสวนสอบสวน คือ การสอนที่มีระบบการ สืบสวนสอบสวน จัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนจะทำหน้าที่สร้างสถานการณ์ที่น่า สนใจและท้าทาย เพื่อทำให้เกิดแรงกระตุ้นต่อผู้เรียน ผู้เรียน (Inquiry-based learning) เห็นความสำคัญของปัญหา และเกิดการเรียนรู้ด้วยการ สืบสวนสอบสวนจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อให้ได้พบคำตอบ เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการสังเกต อธิบาย พยากรณ์ และ นำไปใช้ เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยตนเองและสามารถ นำไปประยุกต์ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง หลากหลาย ซึ่งมีทั้งข้อดี และข้อจำกัด 1) ครูผู้สอนกำหนดประเด็นปัญหา ให้นักเรียนสังเกต การจัดการเรียนรู้/การสอน สภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหา พยายามนำความคิด รวบยอดเดิมมาแก้ปัญหาโดยคิดหาเหตุผล จัดลำดับ ขั้นที่ 1 การสังเกต (Observation) ความคิดในรูปแบบต่างๆ ให้สอดคล้องสัมพันธ์กับ ขั้นที่ 2 การอธิบาย (Explanation) สภาพการณ์อันเป็นปัญหานั้น ขั้นที่ 3 การทำนาย (Prediction) ขั้นที่ 4 การนำไปใช้และสร้างสรรค์ (Control and Creativity) 2) นักเรียนจัดระบบความคิด ตั้งสมมุติฐานเพื่ออธิบาย ความคิดรูปแบบต่างๆ ในการแก้ปัญหา ทบทวน นางสาวอรุณกมล อุบลแย้ม รหัส 647190221 หมู่เรียนที่ 2 ความคิด และทำความเข้าใจปัญหานั้นๆให้ชัดเจน 3) เมื่ออธิบายความคิดรูปแบบต่างๆ ในการแก้ปัญหา แล้วให้นักเรียนทำนายหรือพยากรณ์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ได้อีกว่าเมื่อเกิดแล้วผลเป็นอย่างไรและแก้ไขอย่างไร 4) นักเรียนสามารถนำเหตุผลและความเข้าใจในการ แก้ปัญหาไปใช้ประโยชน์ให้กว้างไกลในชีวิตประจำวันได้ รวมทั้งมีความคิดสร้างสรรค์นำไปใช้ในสภาพการณ์อื่นๆ








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook