Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Week 5 Innovation_technology

Week 5 Innovation_technology

Published by technoamp, 2021-12-20 17:23:21

Description: Week 5 Innovation_technology

Search

Read the Text Version

“ Tools Technology”

เทคโนโลแยที จ้เปร็นิงศแาลส้วต..รแ์ หง่ “วธิ กี าร” มไิ ดเ้ ป็นศาสตรแ์ หง่ เครอ่ื งมอื เพยี งอย่างเดียว

ครู วสั ดอุ ุปกรณ์ หลกั สตู ร การจัดการศกึ ษา ส่วนนี้คอื เทคโนโลยที างเคร่ืองมือ Tool technology อย่างมี ผู้บริหาร ผเู้ รียน ประสทิ ธิภาพ งบประมาณ อาคารสถานที่ แสดงความหมายและองคป์ ระกอบของเทคโนโลยกี ารศึกษา

เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เน่ืองจากนวตั กรรมเป็ นส่ิงท่ีเกิดข้ึนใหม่มีความเป็ นอิสระใน ตวั มนั เองสูง และยงั ไม่เป็ นส่วนหน่ึงของระบบงานปัจจุบนั ดงั น้นั การประเมินอาจตอ้ งมีหลายวิธีซ่ึงแต่ละวิธีควรคานึงถึง หลกั สำคัญดงั น้ี 1 การประเมินเก่ียวกบั คุณภาพ • คุณสมบตั ิของวสั ดุอุปกรณ์ • ความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบ • ความคลอ่ งตวั ในการใชง้ าน 2 การประเมินเกี่ยวกบั ประสิทธิภาพ • ศกั ยภาพท่ีทาใหก้ ารดาเนินงาน บรรลจุ ุดมุ่งหมายไดเ้ ป็นอยา่ งดี

ส่อื การเรียนการสอน

สกาอื่รแบก่งปารระเเภรทียขอนง การสอน 1. สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคุณลกั ษณะ 2. ส่ือแบ่งตามประสบการณ์การเรียนรู้ 3. ส่ือการเรียนแบ่งตามรูปแบบ

สื่อแบ่งตามคุณลกั ษณะ สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคุณลกั ษณะได้ 4 ประเภทคือ 1. ส่ือประเภทวสั ดุ ไดแ้ ก่ สไลด์ แผน่ ใส 3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ไดแ้ ก่การสาธิต เอกสาร ตารา สารเคมี สิ่งพมิ พต์ ่าง ๆ และคู่มือ การอภิปรายกลมุ่ การฝึกปฏิบตั ิการฝึกงาน การจดั การฝึกปฏิบตั ิ นิทรรศการ และสถานการณ์จาลอง 2. ส่ือประเภทอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ เครื่องมือต่าง 4. ส่ือประเภทคอมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่คอมพวิ เตอร์ ๆ หุ่นจาลอง เครื่องเลน่ เทปเสียง เคร่ืองเล่น ช่วยสอน (CAI) การนาเสนอดว้ ยคอมพวิ เตอร์ วดี ิทศั น์ เครื่องฉายแผน่ ใส และเคร่ืองมือใน (Computer presentation) การใช้ Intranet และ หอ้ งปฏิบตั ิการ Internet เพอ่ื การส่ือสาร (Electronic mail: E- mail) และการใช้ WWW (World Wide Web)

Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ส่ือแบ่งตาม ประสบการณ์การเรียนรู้

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 ประสบการณต์ รง (Direct or Purposeful Experiences) เป็นส่ือการสอนท่ีสร้างประสบการณใ์ หผ้ เู้ รยี นสามารถรบั ร้แู ละ เรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง ลงมือปฏบิ ัติกจิ กรรมด้วยตนเอง เขา้ ไปอยู่ใน สถานการณจ์ ริงและไดส้ ัมผสั ดว้ ยตนเองจากประสาทสมั ผสั ทั้งหา้ ตัวอยา่ งเชน่ การทดลองผสมสารเคมี การฝกึ หดั ทาอาหาร การ ฝกึ หัดตัดเย็บเสอ้ื ผ้า เปน็ ต้น

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ข้ันที่ 2 ประสบการณ์จาลอง (Contrived experience) เป็นส่ือการสอนท่ีผเู้ รียนเรียนรู้จากประสบการณท์ ่ี ใกลเ้ คยี งกับความเป็นจริงท่สี ุดแต่ไม่ใช่ความเปน็ จริง อาจเป็น สงิ่ ของจาลอง หรือสถานการณจ์ าลอง ตวั อยา่ งเชน่ การฝึกหัด ผา่ ตดั ตาด้วยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เปน็ ตน้

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 3 ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง (Dramatized Experience) เปน็ ส่อื การสอนที่ผ้เู รียนเรยี นร้จู ากประสบการณ์ ในการแสดงบทบาทสมมติ หรือการแสดงละคร เพือ่ เป็น ประสบการณใ์ หแ้ กผ่ ้เู รยี น นิยมใชส้ อนในเนือ้ หาทข่ี ้อมี จากดั เรอื่ งยุคสมัยหรอื เวลา

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขน้ั ที่ 4 การสาธติ (Demonstration) เปน็ ส่อื การสอนท่ผี ู้เรียนเรยี นรจู้ ากการดูการแสดง หรือการกระทาประกอบคาอธบิ าย เพ่ือให้เห็นลาดบั ขน้ั ตอนของการกระทานนั้ ๆ เช่น การสาธติ การอาบน้า เดก็ แรกเกิด การสาธิตการแกะสลกั ผลไม้ เป็นต้น

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขั้นที่ 5 การศกึ ษานอกสถานที่ (Field Trip) การพานกั เรยี นไปศกึ ษายังแหลง่ ความรู้นอกห้องเรียน เพ่อื เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นรู้หลายๆดา้ น ไดแ้ ก่ การศึกษาความรจู้ ากสถานที่สาคัญ เชน่ โบราณสถาน โรงงาน อตุ สาหกรรม เปน็ ต้น

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 6 นิทรรศการ (Exhibition) คือ การจดั แสดงสิ่งตา่ ง ๆ รวมท้ังมีการสาธิตและการฉายภาพยนตรป์ ระกอบเพ่ือให้ประสบการณ์ ในการเรียนรูแ้ กผ่ ูเ้ รยี นหลายดา้ น ไดแ้ ก่ การจดั ป้ายนทิ รรศการ การจดั แสดงผลงานนักเรยี น

สื่อแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ข้ันท่ี 7 โทรทศั น์ (Television) เปน็ การใช้โทรทัศน์เป็นสอื่ ในการสอนโดยเฉพาะ เน้นที่ โทรทศั น์การศกึ ษาและโทรทศั นเ์ พื่อการเรียนการสอน เปน็ การ สอนหรือให้ข้อมลู ความรแู้ ก่ผู้เรยี นหรอื ผชู้ มท่อี ยู่ในห้องเรยี นและ ทางบา้ น ใชท้ ้ังระบบวงจรปดิ และวงจรเปดิ ซ่ึงการสอนอาจเป็น การบันทึกลงเทปวีดิทัศน์ หรอื เป็นรายการสดกไ็ ด้ การใช้สอ่ื การ สอนในกรณนี ีผ้ เู้ รียนจะเกิดการเรียนรู้จากการชมโทรทัศน์

สื่อแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขน้ั ที่ 8 ภาพยนตร์ (Motion Picture) เป็นการใช้ภาพยนตรท์ ม่ี ลี ักษณะเปน็ ภาพเคลอ่ื นไหว มเี สียงประกอบ และไดบ้ นั ทกึ ลง ไว้ในแผน่ ฟิลม์ มาเป็นสื่อในการสอน ผ้เู รยี นจะได้เรยี นรู้หรอื ไดร้ บั ประสบการณ์ทั้งจาก ภาพและเสียง หรือจากภาพอยา่ งเดียวกไ็ ดใ้ นกรณีท่เี ป็นภาพยนตร์เงียบ

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขั้นที่ 9 การบันทึกเสยี ง วทิ ยุ และภาพนง่ิ (Recording, Radio and Picture) ไดแ้ ก่ เทปบนั ทึกเสยี ง แผน่ เสยี ง วทิ ยุ ซ่งึ ต้องอาศยั เรอื่ งการ ขยายเสยี ง ส่วนภาพน่งิ ได้แก่ รปู ภาพทง้ั ชนดิ โปร่งแสงทใ่ี ชก้ บั เครอ่ื งฉายภาพข้ามศรี ษะ (Overhead projector) สไลด์ (Slide) ภาพนงิ่ จากคอมพิวเตอร์ และ ภาพบันทกึ เสยี งที่ใชก้ ับ เครือ่ งฉายภาพทบึ แสง (Overhead projector)

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 10 ทศั นสัญลักษณ์ (Visual Symbol) มีความเป็นนามธรรมมากข้นึ จาเปน็ ทจี่ ะตอ้ งคานงึ ถึง ประสบการณข์ องผเู้ รียนเปน็ พน้ื ฐาน ในการเลอื กนาไปใช้ สื่อทีจ่ ัดอยใู่ นประเภทน้ี คอื แผนภูมิ แผนสถิติ ภาพ โฆษณา การต์ ูน แผนท่ี และสัญลักษณ์ต่างเปน็ ต้น

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้ ขนั้ ที่ 11 วจนสัญลกั ษณ์ (Verbal Symbol) เปน็ ส่ือการสอนทอ่ี ยใู่ นรูปแบบของคาพดู คาบรรยาย ตัวหนงั สอื ตัวเลข หรอื สญั ลักษณ์พเิ ศษตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ น ภาษาการเขียน ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ท่จี ดั ให้ผูเ้ รยี นโดย ผา่ นสือ่ ประเภทนี้ จัดวา่ เป็นประสบการณข์ นั้ ทม่ี คี วามเปน็ นามธรรมมากทส่ี ดุ

ส่ือแบ่งตาม Experience (ประสบการณ์) ของ Edgar Dale ประสบการณ์การเรียนรู้

ส่ือการเรียนแบ่ง Louis Shores ไดแ้ บ่งประเภทส่ือการสอนตามรูปแบบ(Form) ไว้ ดงั น้ี ตามรูปแบบ 1. สิ่งตีพมิ พ์ (Printed Materials) เช่น หนงั สือแบบเรียน เอกสารการสอน ฯลฯ 2. วสั ดุกราฟิ ก เช่น แผนภูมิ ( Charts) แผนสถิติ (Graph) แผนภาพ (Diagram) ฯลฯ 3. วสั ดุฉายและเคร่ืองฉาย (Projected Materials and Equipment) เช่น ภาพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ 4. วสั ดุถ่ายทอดเสียง (Transmission) เช่น วทิ ยุ เครื่องบนั ทึกเสียง

แนวคดิ พน้ื ฐาน สอ่ืแบง่ ออกเป็น ประเภท 4ของ “ส่ือสร้างสรรค์”“ ” 1. ส่ือสร้างสรรคป์ ระเภทสงิ่ พมิ พ์ (Printed media) 2. สอ่ื สรา้ งสรรค์ประเภทสอ่ื กิจกรรม (Activities media) 3. ส่ือสร้างสรรคป์ ระเภทสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Media) 4. สื่อสรา้ งสรรค์ประเภทส่ือใหม่ (New Media)

ประ“สเภอื่ สทรา้ ทงส่ี รร1ค”์ 1. สอ่ื สร้างสรรค์ประเภทสง่ิ พิมพ์ (Printed media) หนงั สอื อา่ นเพม่ิ เตมิ ตารา หนงั สือการต์ ูน แบบฝึก

ประ“สเภอื่ สทรา้ ทงส่ี รร2ค”์ 2. สอื่ สรา้ งสรรค์ประเภทส่ือกจิ กรรม (Activities media) เกมส์ ชดุ ฝึกอบรม ชดุ เสรมิ ความรู้ ชุดเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ชดุ ส่อื ผสม

“ปสร่ือสะรเา้ภงสทรทรค่ี”์ 3 3. สอ่ื สร้างสรรค์ประเภทสือ่ อิเล็อกทรอนกิ ส์ (Electronic Media) บทเรียนมลั ตมิ เี ดีย บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน E-learning E-book ฯลฯ

ประ“สเภื่อสทร้าทงส4่ี รรค์” 4. สื่อสร้างสรรค์ประเภทสื่อใหม่ (New Media) Social Media Social Networking Virtual Education M-learning เชน่ mentimeter /vizia /kahoot/classdojo

แนวโน้มของนวตั กรรมส่อื และเทคโนโลยใี นอนาคต ยุคดจิ ทิ ลั (Digital 2020)

DIGITAL 2020: GLOBAL DIGITAL OVERVIEW สถิติและพฤติกรรม ผู้ใชง้ าน Internet Q1 ปี 2020 ท่วั โลก อา้ งองิ จาก : https://www.twfdigital.com/blog/2020/02/global-digital-usage-stat-q1-2020/ (February 1, 2020)











DIGITAL 2020: GLOBAL DIGITAL OVERVIEW สถติ ิและพฤตกิ รรม ผใู้ ชง้ าน Internet Q1 ปี 2020 ของประเทศไทย อา้ งอิงจาก : https://www.twfdigital.com/blog/2020/02/global-digital-usage-stat-q1-2020/ (February 1, 2020)













อา้ งองิ จาก : https://www.disruptignite.com/blog/education2030

Technology in yesterday

(Covid) Disruptive Technology

(Covid) Disruptive Technology

ทําไมต้องเปล่ียนแปลง ความ โอกาส สามารถ ความ สาํ เรจ็

“ผทู้ ่ีอยรู่ อดไดไ้ ม่ใช่ผทู้ ่ีแขง็ แรง หรือ ฉลาดท่ีสุด แต่คือผทู้ ่ี ตอบสนองต่อการ เปลยี่ นแปลง ได้ดที ่ีสุด” —Charles Darwin



2020

ที่มา: รายงานการศกึ ษาวิจัย หวั ข้อ รปู แบบการเรียนรู้สาหรับคนรุ่นใหม่ โดยสานักงานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ รว่ มกบั สถาบันการเรยี นรู้ มจธ. (2560)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook