Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Online Classroom กับการจัดการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์

Online Classroom กับการจัดการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์

Published by technoamp, 2021-03-25 06:41:13

Description: Online Classroom กับการจัดการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์-2/2563

Search

Read the Text Version

สรปุ โครงการสัมมนา Online Classroom กับการจดั การเรยี นการสอนอย่างสร้างสรรค์ วิชา การสัมมนาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา (TN ๕๘๖๑๐) คณะผจู้ ดั ทำ นักศึกษาชั้นปที ี่ ๔ หลกั สตู รสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษาและคอมพิวเตอรก์ ารศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง เสนอ อาจารย์สธุ ดิ า ปรีชานนท์ รายงานเล่มน้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของวิชา การสมั มนาเทคโนโลยีการศกึ ษา (TN ๕๘๖๑๐) มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง อำเภอจอมบงึ จงั หวดั ราชบรุ ี

คำนำ รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการสัมมนาฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน โครงการ สัมมนาเรื่อง “ โครงการสัมมนา Online Classroom กับการจัดการเรียนการสอนอยา่ งสร้างสรรค์ ” จัดขึ้นวนั จันทร์ 8 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 13.00 น. – 16.30 น. มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ในรูปแบบการสัมมนา แบบ Video Conference ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาวิชาชีพครู จำนวน ๙๔ คน เพื่อนำผลสรุปโครงการที่ได้จากการรายงานไปใช้เป็นข้อมูลในแนวทางการประยุกต์ในด้านการเรียนการสอนให้มี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลมากยิง่ ขึน้ ทั้งนี้รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสัมมนาเทคโนโลยีการศึกษา รหัส TN ๕๘๖๑๐ ซึ่งเป็นวิชาเอกบังคับในหลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ การศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการสัมมนาทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมอื ในการดำเนินงาน ตามโครงงานการสัมมนาและรายงานผลการดำเนินโครงการสัมมนา ทำให้การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายที่ กำหนดเป็นอย่างดี คณะผู้จดั ทำ ก

สารบญั หนา้ ส่วนที่ ๑ โครงการสมั มนา Online Classroom กับการจดั การเรียนการสอนอย่างสรา้ งสรรค์ ๑-๘ ส่วนที่ ๒ ผลการประเมนิ โครงการ ๙ – ๑๔ ภาคผนวก ภาคผนวก ก ขออนมุ ตั ิจัดโครงการสมั มนา “Online Classroom กับการจัดการเรยี นการสอน ๑๖ - ๑๗ อยา่ งสร้างสรรค์” ภาคผนวก ข โครงการสมั มนา Online Classroom ๑๘ - ๒๕ กับการจดั การเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ ภาคผนวก ค กำหนดการ ๒๖ - ๒๗ ภาคผนวก ง ประวตั ิวทิ ยากร ๒๘ – ๒๙ ภาคผนวก จ เชญิ วิทยากร ๓๓ - ๓๔ ภาคผนวก ฉ หนงั สือขอเวลาเรียน ๓๔ - ๓๗ ภาคผนวก ช หนังสือขอเรยี นเชิญอาจารย์เขา้ ร่วมโครงการ ๓๗ - ๔๒ ภาคผนวก ซ หนงั สือขอเรียนเชญิ อาจารย์ผปู้ ระเมนิ ๔๓ - ๔๗ ภาคผนวก ฌ หนงั สือขอเรียนเชญิ ประธานในพิธีเปดิ โครงการสมั มนา ๔๗ - ๔๘ ภาคผนวก ญ หนังสือขอประชาสมั พันธ์โครงการลงเว็บไซต์ ๔๙ - ๕๐ มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง ภาคผนวก ฎ หนงั สือขออนญุ าติใชส้ ถานที่ ๕๑ – ๕๒ ภาคผนวก ฏ หนงั สือขอยมื ครภุ ณั ฑ์ ๕๓ - ๔๔ ภาคผนวก ฐ เกยี รติบัตร ๕๕ - ๕๗ ภาคผนวก ฑ พ้นื หลังหนา้ จอซูมของประธานในพธิ ีเปดิ อาจารย์ผู้ประเมนิ ๕๘ - ๖๒ และผ้เู ขา้ รว่ มสมั มนา ภาคผนวก ฒ ป้ายประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรมรว่ มสนกุ กบั เพจ Facebook ของโครงการสัมมนา ๖๓ - ๖๔ ภาคผนวก ณ โปสตอร์ประชาสัมพนั ธ์โครงการสัมมนา ๖๕ - ๖๖ ภาคผนวก ด ไวนิลประชาสมั พันธโ์ ครงการสมั มนา ๖๗ - ๖๘ ภาคผนวก ต ประมวลภาพโครงการสมั มนา ๖๙ - ๗๘ ภาคผนวก ถ เบอ้ื งหลงั ของการจดั โครงการสมั มนา ๗๙ - ๘๑ ภาคผนวก ท ภาพผู้โชคดีจากการเข้าร่วมกิจกรรมบนเพจ Facebook โครงการสมั มนา ๘๒ - ๘๔ ภาคผนวก ธ มอบของท่รี ะลึกใหก้ บั ผโู้ ชคดีทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมของเพจ Facebook ๘๕ - ๘๗ โครงการสมั มนา ภาคผนวก น คำกลา่ วรายงานประธาน ๘๘ - ๙๐ ภาคผนวก บ คำกลา่ วรายงานประธานโครงการ ๙๑ - ๙๓ ภาคผนวก ป คณะผู้จดั โครงการสมั มนา ๙๔ - ๑๐๐ ข

ส่วนท่ี 1 ๑

โครงการพัฒนานักศึกษาคณะครุศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง ****************** 1. กิจกรรมพัฒนานกั ศกึ ษารายวิชีพครู กิจกรรม : โครงการสมั มนา Online Classroom กบั การจดั การเรยี นการสอนอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2. งบประมาณท่ไี ด้รับจดั สรร ( ✓ ) งบประมาณผูจ้ ัดสัมมนา จำนวน ๘,700 บาท 3. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นกั ศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 4 หลักสตู รสาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศึกษาและคอมพิวเตอรก์ ารศึกษา คณะครุศาสตร์ และอาจารยส์ ธุ ิดา ปรชี านนท์ 4. สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา 5. สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรค์ ณะครุศาสตร์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตบัณฑิตครู กลยุทธท์ ี่ 2.2 ยกระดับการจดั การเรยี นรู้ของนักศกึ ษาให้มคี วามเชีย่ วชาญในวิชาชพี 6. สอดคลอ้ งการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ( ) ระดบั หลกั สูตร / ( ) ระดับคณะ องคป์ ระกอบท่ี...................................................................................................................................... .. ตวั บง่ ช้ที ี่................................................................................................................................................. 7. สอดคลอ้ งกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ (เลอื ก ✓ ใน ( ) ไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) ( ) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ( ✓ ) ด้านความรู้ ( ✓ ) ด้านทักษะทางปญั ญา ( ) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ ( ✓ ) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ( ) ด้านการจัดการเรียนรู้ / อน่ื ๆ 8. สอดคล้องกับอัตลกั ษณ์นกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ใฝด่ ี ประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ คือ ( ) มคี ุณลักษณะคนไทยที่พงึ ประสงค์ 4 ประการ ประกอบด้วย 1) มีทัศนคตทิ ด่ี ีและถูกต้อง 2) มีพน้ื ฐานชีวติ ท่ีมั่นคงเข้มแข็ง มรี ะเบียบวนิ ยั 3) มีงานทำ มีอาชพี และ 4) เป็นพลเมืองท่ี ดี ( ) มีความซือ่ สัตย์ ๒

( ) แตง่ กายดี ( ) มีจิตวิญญาณความเป็นครู ( ✓ ) มีทกั ษะสมองเพือ่ ชวี ิตทส่ี ำเร็จ ( ) มสี ัมมาคารวะ ใฝร่ ู้ ประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ คือ ( ) รอบรใู้ นศาสตร์ ( ) พรอ้ มเรยี นรู้ (ผู้นำการเปลย่ี นแปลง) ( ✓ ) จดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ( ) ใช้เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ และภาษาในการทำงานและการจดั การเรียนรู้ ( ✓ ) ประยุกต์ใช้ Generic Skills และทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับการประกอบวิชาชพี และ การทำงาน สงู้ าน ประกอบดว้ ย 4 องค์ประกอบ คอื ( ) มคี วามอดทน ( ✓ ) มคี วามรบั ผดิ ชอบ ( ) สามารถประยกุ ต์ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ และหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการทำงานและ ดำรงชวี ิต ( ) เปน็ นักปฏบิ ตั ิสามารถเข้าไปมสี ่วนรว่ มและปฏิสมั พันธท์ ่ีดกี บั ผปู้ กครองและชมุ ชน 9. สอดคลอ้ งกบั ดา้ นทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ( ) กลุม่ วิชาหลัก ( ) กล่มุ ทกั ษะชวี ติ และอาชพี ประกอบด้วยความสามารถในการปรับตัว และยดื หยุ่น ความคดิ ริเรม่ิ และ การเรียนร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง ปฏิสมั พนั ธท์ างสังคมและขา้ มวฒั นธรรม ความรบั ผดิ ชอบและความสามารถ ผลิตผลงาน และความเปน็ ผู้นำและรับผดิ ชอบต่อสังคม ( ✓ ) กลุม่ ทกั ษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม ไดแ้ ก่ 1) การคิดเชงิ วพิ ากษ์และการแกป้ ัญหา 2) นวัตกรรมและ การสรา้ งสรรค์ และ 3) การสอื่ สารและความร่วมมอื กนั ( ✓ ) กลุ่มทักษะสารสนเทศส่อื และเทคโนโลยี ประกอบด้วย การรสู้ ารสนเทศ การร้สู ือ่ และการรู้ ICT 10. การบรู ณาการเรยี นการสอน รายวิชาการสัมมนาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา (TN 58610) อาจารยผ์ ้สู อนสธุ ิดา ปรชี านนท์ 11. หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา หรือแม้แต่กระบวนเทคนิควิธีการสอนต่าง ๆ ต้อง ปรบั เปล่ยี นตามยุคตามสมัย จึงทำใหม้ กี ารพฒั นาเคร่ืองมือทางการเรยี นการสอนเขา้ มาจัดกิจกรรมและใช้วิธีการเรียน การสอนแบบนวัตกรรม เพื่อพัฒนาการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและสร้างกิจกรรมเพื่อให้การศึกษาดำเนิ นไปใน รูปแบบการมีส่วนรว่ มในการเรียนรแู้ ละมีความจำเป็นกับทั้งผู้สอนและผู้เรียน สำหรบั การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ท่ีมี การนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษา เช่น การนำ Web Application มาช่วยในการจัดการเรียน การสอนอย่างสร้างสรรค์ ทำให้ห้องเรียนออนไลน์มีความน่าสนใจและให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเป็นแรงกระตุ้น จูงใจให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี มีความสามารถในการสื่อสาร และสามารถ นำ เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านการศกึ ษาใหม้ ากท่ีสุด ๓

การสอนอย่างสร้างสรรค์ ทำให้ห้องเรียนออนไลน์มีความน่าสนใจและให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเป็นแรงกระตุ้น จูงใจให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เคร่ืองมือทางเทคโนโลยี มีความสามารถในการสื่อสาร และสามารถในการนำ เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนท์ างด้านการศึกษาใหม้ ากท่สี ุด ทั้งนี้การจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนในยุคศตวรรษท่ี 21 นั้นสิ่งสำคัญท่ีขาดไมไ่ ด้คือผู้สอนโดยเฉพาะอย่างย่งิ นักศึกษาวิชาชีพครูควรต้องมีพื้นฐานสำหรับการนำเครื่องมือเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอนเขา้ ร่วมมาช่วยเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้ การสร้างทักษะความสามารถให้สอดคล้องกับความต้องการในการ เรียนรู้เป็นแนวทางในการพัฒนานักศึกษาวิชาชีพครูสู่ยุค 5.0 โดยเป็นแนวทางช่วยส่งเสริมให้นักศึกษาวิชาชีพครูที่ ออกไปเป็นครูในอนาคตสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ได้อย่างสร้างสรรค์ รู้จัก การประยุกต์ web Application การสอนต่าง ๆ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้รูปแบบใหม่ๆ หรือแนวคิดกระบวนการจัดการเรียน การสอนออนไลน์ในการเตรยี มความพร้อมสูเ่ สน้ ทางอาชีพและแนวทางภายใต้โครงการ “Online Classroom กบั การ จดั การเรยี นการสอนอย่างสรา้ งสรรค”์ จากเหตุผลข้างต้นทำให้ทางคณะผู้จัดเล็งเห็นความสำคัญของการประยุกต์ใช้ Web Application ในการจดั การเรยี นการสอนออนไลนจ์ ึงจดั ทำโครงการสัมมนาในหัวข้อเร่ือง “Online Classroom กบั การจัดการเรียน การสอนอย่างสร้างสรรค์” เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาวิชาชีพครูได้เพิ่มพูนความรู้ในการใช้ เทคโนโลยีในการจัดการศึกษาแบบออนไลนเ์ พ่ือทีจ่ ะนำความรู้ไปต่อยอดและประยุกต์ ใช้ประโยชนใ์ นการศกึ ษาตอ่ ไป 12. วัตถุประสงค์ 12.1 เพื่อเป็นแนวทางในการใช้ web Application ในด้านการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ให้กับ นกั ศึกษาวชิ าชพี ครู เพื่อส่งเสริมแนวทางประยกุ ต์ใชใ้ นการศกึ ษาได้อยา่ งสร้างสรรค์ 12.2 เพื่อให้นกั ศกึ ษาช้นั ปีท่ี 4 ได้เรียนร้กู ระบวนการทำงานในการจัดสมั มนา 13. ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ รอ้ ยละ 80 ตวั ช้ีวัดความสำเร็จตามวตั ถุประสงค์ 1. มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้เครื่องมือ รอ้ ยละ 100 Online Classroom กับการจัดการเรียนการสอนอย่าง 1. ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมมีความรู้ความเขา้ ใจการ สรา้ งสรรค์ เลือกใชเ้ ครื่องมือ Online Classroom กบั การ อยู่ในระดบั จดั การเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ มาก 2. สามารถประยุกตใ์ ช้ Online Classroom กบั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 2. ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมสามารถนำแนวทางไป ประยุกต์ใช้กับการศึกษาได้อย่างสรา้ งสรรค์ 3. มีระดับความพงึ พอใจต่อการเข้าร่วมกจิ กรรม และ 3. ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจต่อการ สามารถนำไปใช้ประโยชนต์ อ่ การเรียนการสอนได้ เขา้ ร่วมกิจกรรม 14. แผนการดำเนนิ งาน ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2564 แผนการดำเนนิ งาน และ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. การใชจ้ า่ ยงบประมาณ ✓ ✓ 1. วางแผนการดำเนินการ (P_Plan) ✓ 1.1 จดั ทำแผนการจัดโครงการ 1.2 ประสานงานในการจัดกจิ กรรม 2. การดำเนนิ การจัดโครงการ (D_Do) ๒.1 วนั จนั ทร์ท่ี 8 มนี าคม พ.ศ.2564 ๔

3. ติดตามและประเมินผลการ ✓ ดำเนินงาน (C_Check) ✓ 3.1 ตรวจสอบจำนวนนกั ศกึ ษาที่ ✓ เขา้ รว่ มกิจกรรม 3.2 ประเมินผลการดำเนินกจิ กรรม 4. ปรับปรงุ /พฒั นา/แก้ไขจากผลการ ติดตามและประเมินผล (A_Act) 4.1 จัดเก็บข้อมูลสรุปผลการ ดำเนนิ งาน 15. วนั เดือน ปี ทจ่ี ัดโครงการ วันจันทร์ 8 มนี าคม พ.ศ. 2564 เวลา 13.00 น. – 16.30 น. 16. สถานทดี่ ำเนนิ การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง ในรูปแบบการสัมมนาแบบ Video Conference ผา่ นโปรแกรม Zoom Meeting 17. กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้าร่วมสมั มนาทั้งส้นิ จำนวน 65 คน ๑๗.๑ นกั ศกึ ษาหลักสตู รสาขาวชิ าเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือการศึกษาและคณติ ศาสตร์ ชน้ั ปที ี่ 1 จำนวน 5 คน 17.2 นกั ศกึ ษาหลักสตู รสาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศึกษาและคอมพวิ เตอรก์ ารศกึ ษา ชนั้ ปที ่ี 2 จำนวน 15 คน ช้นั ปที ่ี 3 จำนวน 14 คน 17.3 นักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ช้นั ปีท่ี 2 หมู่ 2 จำนวน 31 คน 18. งบประมาณ 8,700 บาท - คา่ ตอบแทน 1,800 บาท - ค่าใชส้ อย 5,250 บาท - ค่าวัสดุ 1,650 บาท ๕

19. รายละเอยี ดงบประมาณ กจิ กรรม/หมวดรายจ่าย/รายการ หนว่ ยนบั จำนวน ราคาตอ่ รวมเงนิ หมายเหตุ หน่วย หนว่ ย 8,700 โครงการสัมมนา Online Classroom กบั การจดั การเรยี นการสอนอยา่ งสร้างสรรค์ 1,800 1,800 19.1 ค่าตอบแทน 5,250 - คา่ ตอบแทนวิทยากร คน/ชว่ั โมง 1/3 600 500 500 19.2 ค่าใชส้ อย 900 500 - คา่ ของทีร่ ะลกึ วิทยากร ชน้ิ 1 500 500 1,500 - ค่าของที่ระลกึ ประธาน ชิน้ 1 500 850 1,650 - ค่าของท่ีระลกึ กรรมการ ชิน้ 3 3 1,000 650 - คา่ ถา่ ยเอกสารสี แผ่น 100 5 - ค่าถา่ ยเอกสารขาว ดำ แผ่น 500 1 - ค่าป้ายไวนลิ (ขนาด ๓x๑) ผนื 1 1,500 - คา่ เกยี รตบิ ตั ร ใบ 85 10 19.3 ค่าวัสดุ - กระดาษ A4 รมี 2 500 - โปรแกรม ZOOM Meeting PRO Plus Host 1 650 **หมายเหตุ ขอเฉลย่ี ทุกรายการ 20. รูปแบบท่ใี ช้ในการสัมมนา การบรรยายและการสาธติ 21. หัวขอ้ สัมมนา การบรรยายในหัวข้อ Online Classroom กบั การจัดการเรียนการสอนอย่างสรา้ งสรรค์ - เทคนิคการสรา้ งสรรค์รายวิชาสู่ Online Classroom - การเลือกใช้ Web Application กับกจิ กรรมการเรยี นการสอน - Online Classroom กบั การจัดการเรยี นการสอนอย่างสร้างสรรค์ - การเตรียมความพร้อมสู่ครยู คุ ดจิ ิทัล ความฉลาดทางดิจทิ ัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) 22. วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐวรรณ เฉลิมสขุ : ผู้เชีย่ วชาญดา้ นการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ มหาวิทยาลยั บูรพา 23. ผดู้ ำเนนิ รายการ นายวนิ ัย บ้ชู ้วน นางสาววราภรณ์ องอาจ นักศกึ ษาหลกั สูตรสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษาและคอมพิวเตอรก์ ารศึกษาชน้ั ปีท่ี 4 ๖





ส่วนท่ี 2 ๙

ส่วนที่ ๒ ผลการประเมนิ โครงการ สรปุ ผล จากการสำรวจข้อมลู ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการสัมมนาเทคโนโลยกี ารศึกษาเรือ่ ง \"Online classroom กับการจัดการ เรียนการสอนอย่างสรา้ งสรรค์\" ของนักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษา ที่จัด ขึ้นในวันจันทร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๐๐ น. – ๑๖.3๐ น. ระยะเวลา ๓ ชั่วโมง ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บา้ นจอมบงึ ในรปู แบบการสมั มนาแบบ Video Conference ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting ตารางที่ ๑ สถานะภาพ จำนวน (คน) N = 84 15 ร้อยละ สถานะภาพ 69 17.9 ชาย 84 82.1 หญงิ 100 รวม ผลการประเมนิ ขอ้ มูล ตารางที่ ๑ พบว่า สถานะภาพของผู้เข้าร่วมงานสมั มนา สว่ นใหญเ่ พศหญิง จำนวน ๖9 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.1 และเพศชาย จำนวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 17.9 ตามลำดับ ตารางท่ี ๒ สถานะ จำนวน (คน) N = 84 2 ร้อยละ สถานะ 82 2.40 อาจารย์ 84 97.60 นกั ศกึ ษา 100 รวม ผลการประเมินข้อมลู ตารางท่ี 2 สถานะของผูเ้ ข้ารว่ มงานสัมมนา พบว่า ผเู้ ข้ารว่ มงานสมั มนา สว่ นใหญ่เป็น นักศึกษา จำนวน 82 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 97.6 และอาจารย์ จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.4 ตามลำดับ ตารางท่ี 3 อายุ จำนวน (คน) N = 84 11 ร้อยละ อายุ 61 13.10 18 – 19 ปี 8 72.60 20 – 21 ปี 4 9.50 22 – 23 ปี 84 4.80 24 ปีขึ้นไป 100 รวม ผลการประเมินข้อมูล ตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมงานสัมมนา พบว่าส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 20 – 21 ปี จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 72.60 รองลงมามีอายุระหว่าง 18 – 19 ปี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 13.10 รองลงมามีอายุระหวา่ ง 22 – 23 ปี จำนวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 9.50 และมีอายุ 24 ปีขึ้นไป จำนวน 4 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 4.80 ตามลำดบั ๑๐

ตารางท่ี 4 คณะ คณะ จำนวน (คน) N = 84 ครุศาสตร์ 84 รอ้ ยละ 84 100 รวม 100 ผลการประเมินข้อมูล ตารางที่ 4 ของผู้เข้าร่วมการอบรมสัมมนา พบว่า ทั้งหมดเป็นนักศึกษาสังกัด คณะครศุ าสตร์ จำนวน 84 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ตารางที่ 5 สาขาวชิ า สาขาวชิ า จำนวน (คน) N = 84 ภาษาอังกฤษ 57 รอ้ ยละ เทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือการศึกษาและคณติ ศาสตร์ 14 67.90 เทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอรก์ ารศกึ ษา 13 16.70 84 15.50 รวม 100 ผลการประเมนิ ข้อมูล ตารางที่ 5 ของผ้เู ข้ารว่ มการอบรมสัมมนา พบวา่ ส่วนใหญ่ เปน็ นักศกึ ษาสาขาวชิ า ภาษาองั กฤษ จำนวน 57 คน คิดเปน็ ร้อยละ 67.90 รองลงมาเปน็ นักศกึ ษาเทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื การศึกษาและ คณติ ศาสตร์จำนวน 14 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.70 และรองลงมาเปน็ นักศึกษาเทคโนโลยีการศกึ ษาและคอมพิวเตอร์ การศึกษา จำนวน 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.50 ตามลำดบั ตารางท่ี 6 ระดับชน้ั ปี จำนวน (คน) N = 84 6 ร้อยละ ระดบั ชน้ั ปี 63 7.10 ปี 1 13 75.00 ปี 2 2 15.50 ปี 3 84 2.40 อาจารย์ 100 รวม ผลการประเมินข้อมูล ตารางที่ 6 ของผู้เข้าร่วมสัมมนา พบว่า ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 รองลงมาเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 15.50 รองลงมาเป็น นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.10 และเป็นอาจารย์ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.40 ตามลำดับ ๑๑

ตารางท่ี 7 ทราบข่าวการสมั มนาจากแหล่งใด ทราบขา่ วการสัมมนา จำนวน (คน) N = 84 ป้ายประชาสมั พนั ธ์ 28 รอ้ ยละ เวบ็ ไซต์มหาวทิ ยาลยั 15 33.30 เพจ Facebook 43 17.90 เพื่อนหรือคนรู้จัก 57 51.20 84 67.90 รวม 100 ผลการประเมินข้อมูล ตารางที่ 7 ของผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนา พบว่า สาชาวิชา ผู้เข้าร่วมสัมมนา ส่วนใหญ่ ทราบข่าวการประชาสมั พนั ธ์จากเพ่ือนหรือคนรู้จัก จำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 67.90 รองลงมาเพจ Facebook จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 51.20 รองลงมาป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 และ เวบ็ ไซต์มหาวิทยาลยั จำนวน 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 17.90 ตามลำดับ ตารางท่ี 8 ความพึงพอใจด้านวทิ ยากร / กระบวนการจดั สัมมนาแบบออนไลน์ / ระยะเวลา / พธิ ีกร N = 84 มาก ปาน ผลรวม S.D. ทีส่ ุด กลาง น้อย ระดบั ประเด็นวัดความพึงพอใจ (5) มาก (3) น้อย ท่สี ดุ มากข้นึ ���̅��� (4) (2) (1) ไป จำนวนผู้ตอบ (รอ้ ยละ) ระดบั ความพึงพอใจ ด้านวิทยากร - 92.86 4.37 0.62 - 94.05 4.43 0.61 1. การถา่ ยทอดความรู้ของ 44.05 48.81 7.14 - - 90.48 4.38 0.64 วทิ ยากรมีความชดั เจน - 95.24 4.45 0.63 2. การนำเสนอนา่ สนใจ ใช้ 48.81 45.24 5.95 - 96.43 4.39 0.60 ภาษาเข้าใจงา่ ยและชัดเจน 93.81 4.40 0.62 - 92.86 4.46 0.63 3. การเช่ือมโยงเนอื้ หาใน 45.24 45.24 9.52 - - 90.48 4.29 0.63 หัวขอ้ สัมมนา 4. การใช้ส่ือประกอบการ 51.19 44.05 3.51 1 บรรยายเหมาะสม 5. การตอบข้อซักถามในการ 44.05 52.38 2.38 1 สมั มนา ผลรวมค่าเฉลย่ี /ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ด้านกระบวนการจัดสัมมนาแบบออนไลน์ / ระยะเวลา 1. ความสะดวกในการลงทะเบียน 53.57 39.29 7.14 - 2. รูปแบบของการจัดโครงการ 38.10 52.38 9.52 - สมั มนามคี วามเหมาะสม ๑๒

3. ความเหมาะสมของเอกสาร 45.24 44.05 10.71 - - 89.29 4.35 0.67 ประกอบการสัมมนา ประเด็นวดั ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ผลรวม ���̅��� S.D. ท่ีสดุ (4) กลาง (2) ทส่ี ดุ (5) (3) (1) จำนวนผู้ตอบ (ร้อยละ) ระดบั ความพึงพอใจ 4. ความเหมาะสมของอุปกรณ์ใน 42.86 47.62 9.52 - - 90.48 4.33 0.65 การจดั สมั มนา 2 4 - 66.67 3.99 0.87 5. เครอื ขา่ ยมีความเสถียร 34.52 32.14 30.95 1 - 80.95 4.14 0.84 2 - 88.10 4.36 0.72 6. ภาพและเสยี งมีความชัดเจน 98.10 42.86 14.29 - - 84.52 4.21 0.76 7. การประสานงานของทีมงาน 48.81 39.29 10.71 - 85.42 4.27 0.74 8. ระยะเวลาในการจัดสัมมนามี 39.29 45.24 13.10 - ความเหมาะสม - ผลรวมค่าเฉลี่ย/ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน - ดา้ นพิธีกร - 1. การตอ้ นรบั / ชแี้ จงรายละเอยี ด 47.62 46.43 5.95 - 94.05 4.44 0.59 ตอ่ ผเู้ ขา้ ร่วมสมั มนา - 97.62 4.44 0.55 2. การใหค้ ำแนะนำหรือตอบข้อสัก 46.43 51.19 2.38 95.83 4.44 0.57 ถาม ผลรวมคา่ เฉล่ยี /ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ 1. สามารถบอกประโยชน์ของการ จดั การเรยี นการสอนแบบ Online 40.48 51.19 8.33 - 91.67 4.35 0.61 ได้ 2. สามารถอธิบายรายละเอยี ดของ Online Classroom กับการจดั การ 33.33 60.71 5.95 - 94.05 4.27 0.57 92.86 4.23 0.66 เรยี นการสอนอย่างสร้างสรรค์ได้ ผลรวมค่าเฉล่ยี /ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ด้านการนำความร้ไู ปใช้ 1. สามารถนำความรูท้ ่ีได้รับนำไป ประยกุ ตใ์ ช้ในการเรยี นการสอนและ 45.24 45.24 9.52 - 90.48 4.36 0.65 - 92.86 4.33 0.61 ชวี ิตประจำวนั ได้ 2. สามารถนำความร้ไู ปเผยแพร่ / 41.67 51.19 7.14 ถา่ ยทอดได้ ๑๓

3. สามารถนำไปเปน็ แนวทางในการ - - 97.62 4.46 0.55 ประยุกต์ใชใ้ นการจัดการเรยี นการ 48.81 48.81 2.38 93.65 4.38 0.60 สอนได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ผลรวมคา่ เฉล่ีย/ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการประเมนิ ขอ้ มลู ตารางท่ี 8 ความพงึ พอใจของผู้เข้าอบรมสัมมนา พบว่า ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสมั มนามีระดับ ความพึงพอใจในภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 92.31 (������ = 4.35 , S.D. = ๐.64) ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านกระบวนการจัดสัมมนาแบบออนไลน์ / ระยะเวลา ซึ่งมีคิดเป็นร้อยละ 85.42 (������ = 4.27 , S.D. = ๐.74) รองลงมาคือ ด้านวิทยากร ซึ่งมีผลรวมคิดเป็นร้อยละ 93.81 (������ = ๔.40 , S.D. = ๐.62) รองลงมาคือ ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ซงึ่ มผี ลรวมคิดเป็นร้อยละ 92.86 (������ = ๔.23 , S.D. = ๐.66) รองลงมาคอื ดา้ นการนำความรู้ไปใช้ ซึ่ง มีผลรวมคดิ เป็นรอ้ ยละ 93.65 (������ = ๔.38 , S.D. = ๐.6๐) และรองลงมาคือ ด้านพิธีกร ซึ่งมีผลรวมคิดเป็นรอ้ ยละ 95.83 (������ = 4.44 , S.D. = ๐.๕7) ตามลำดบั ตารางที่ 9 ดา้ นความร้คู วามเข้าใจกอ่ นและหลงั การเข้ารว่ มอบรมสมั มนา N = 84 ประเด็นวดั ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ผลรวม ���̅��� S.D. ท่สี ุด (4) กลาง (2) ท่ีสดุ (5) (3) (1) จำนวนผู้ตอบ (ร้อยละ) ระดบั ความพึงพอใจ ด้านความรู้ความเข้าใจ 1. ความรคู้ วามเข้าใจในเรื่องน้ี - 5.95 16.67 51.19 26.19 5.95 2.02 0.82 ก่อนการเขา้ สมั มนา 2. ความร้คู วามเข้าใจในเรื่องนี้ 35.71 60.71 3.57 - - 96.43 4.32 0.54 หลังการเขา้ สัมมนา ผลรวมค่าเฉล่ีย/ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 51.19 4.15 0.71 ผลการประเมินข้อมูล ตารางที่ 9 ด้านความรู้ความเข้าใจ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนามีความรู้ความเข้า ก่อนและหลังการเข้าร่วมสัมมนา คิดเป็นร้อยละ 51.19 (������ = 4.15 , S.D. = 0.71) ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจก่อนเข้าอบรมสัมมนา คิดเป็นร้อยละ 5.95 (������ = 2.02 , S.D. = ๐.82) ผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจหลังเข้าอบรมสัมมนา คิดเป็นร้อยละ 96.43 (������ = 4.32 , S.D. = ๐.54) ๑๔

ภาคผนวก ๑๕

ภาคผนวก ก ขออนุมตั จิ ัดโครงการสัมมนา “Online Classroom กบั การจดั การเรียนการสอนอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๑๖

๑๗

ภาคผนวก ข โครงการสัมมนาOnline Classroom กบั การจดั การเรยี นการสอนอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๑๘

โครงการพฒั นานกั ศกึ ษาคณะครุศาสตร์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง ****************** 1. กิจกรรมพฒั นานักศกึ ษารายวิชพี ครู กจิ กรรม : โครงการสมั มนา Online Classroom กบั การจดั การเรียนการสอนอยา่ งสร้างสรรค์ 2. งบประมาณทีไ่ ด้รบั จดั สรร ( ✓ ) งบประมาณผจู้ ดั สัมมนา จำนวน ๘,700 บาท 3. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ นกั ศึกษาช้ันปีท่ี 4 หลกั สตู รสาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศึกษาและคอมพวิ เตอรก์ ารศกึ ษา คณะครุศาสตร์ และอาจารยส์ ุธดิ า ปรีชานนท์ 4. สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏหม่บู า้ นจอมบึง ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยกระดบั คุณภาพการศึกษา 5. สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์คณะครศุ าสตร์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การผลติ บัณฑติ ครู กลยทุ ธท์ ี่ 2.2 ยกระดับการจดั การเรียนรู้ของนักศึกษาให้มคี วามเชี่ยวชาญในวิชาชพี 6. สอดคล้องการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ( ) ระดับหลกั สูตร / ( ) ระดับคณะ องค์ประกอบที.่ ....................................................................................................................................... ตวั บง่ ช้ีท่.ี ................................................................................................................................................ 7. สอดคลอ้ งกับมาตรฐานผลการเรยี นรู้ (เลอื ก ✓ ใน ( ) ไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) ( ) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ( ✓ ) ด้านความรู้ ( ✓ ) ดา้ นทกั ษะทางปัญญา ( ) ด้านทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ ( ✓ ) ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลขการส่ือสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ( ) ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ / อ่นื ๆ 8. สอดคลอ้ งกับอตั ลักษณ์นักศึกษาของมหาวิทยาลัย ใฝด่ ี ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ ( ) มคี ณุ ลกั ษณะคนไทยท่ีพึงประสงค์ 4 ประการ ประกอบดว้ ย 1) มีทัศนคตทิ ี่ดีและถกู ต้อง 2) มพี ื้นฐานชีวิตที่มน่ั คงเข้มแข็ง มีระเบยี บวินัย 3) มีงานทำ มีอาชพี และ 4) เป็นพลเมืองท่ี ดี ๑๙

( ) มคี วามซอ่ื สัตย์ ( ) แตง่ กายดี ( ) มีจติ วิญญาณความเป็นครู ( ✓ ) มีทักษะสมองเพื่อชวี ิตทสี่ ำเรจ็ ( ) มีสมั มาคารวะ ใฝ่รู้ ประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ คือ ( ) รอบรใู้ นศาสตร์ ( ) พรอ้ มเรยี นรู้ (ผ้นู ำการเปล่ียนแปลง) ( ✓ ) จัดการเรียนร้แู บบ Active Learning ( ) ใช้เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ และภาษาในการทำงานและการจดั การเรียนรู้ ( ✓ ) ประยกุ ตใ์ ช้ Generic Skills และทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรบั การประกอบวิชาชีพและ การทำงาน สู้งาน ประกอบด้วย 4 องคป์ ระกอบ คือ ( ) มคี วามอดทน ( ✓ ) มีความรับผิดชอบ ( ) สามารถประยกุ ตภ์ ูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ และหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำงานและ ดำรงชีวติ ( ) เปน็ นกั ปฏบิ ัตสิ ามารถเข้าไปมสี ว่ นร่วมและปฏิสมั พนั ธท์ ดี่ กี ับผ้ปู กครองและชมุ ชน 9. สอดคลอ้ งกับด้านทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ( ) กลุ่มวชิ าหลัก ( ) กลุ่มทกั ษะชวี ิตและอาชพี ประกอบดว้ ยความสามารถในการปรับตวั และยดื หยุ่น ความคดิ รเิ ริม่ และ การเรยี นรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง ปฏิสัมพันธท์ างสงั คมและข้ามวัฒนธรรม ความรับผดิ ชอบและความสามารถ ผลติ ผลงาน และความเป็นผนู้ ำและรับผดิ ชอบต่อสงั คม ( ✓ ) กลุ่มทักษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม ได้แก่ 1) การคดิ เชงิ วิพากษ์และการแกป้ ัญหา 2) นวัตกรรมและ การสรา้ งสรรค์ และ 3) การสือ่ สารและความร่วมมือกนั ( ✓ ) กลุม่ ทกั ษะสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี ประกอบด้วย การรู้สารสนเทศ การรู้ส่อื และการรู้ ICT 10. การบรู ณาการเรยี นการสอน รายวชิ าการสมั มนาเทคโนโลยกี ารศึกษา (TN 58610) อาจารยผ์ สู้ อนสุธดิ า ปรีชานนท์ 11. หลักการและเหตผุ ล ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา หรือแม้แต่กระบวนการเทคนิควิธีการสอนต่าง ๆ ต้อง ปรับเปลย่ี นตามยุคตามสมัย จึงทำใหม้ กี ารพฒั นาเครื่องมือทางการเรยี นการสอนเขา้ มาจดั กจิ กรรมและใช้วิธีการเรียน การสอนแบบนวัตกรรม เพื่อพัฒนาการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและสร้างกิจกรรมเพื่อให้การศึกษาดำเนิ นไปใน รปู แบบการมีส่วนรว่ มในการเรียนรแู้ ละมีความจำเป็นกับทัง้ ผู้สอนและผู้เรียน สำหรบั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่มี การนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษา เช่น การนำ Web Application มาช่วยในการจัดการเรียน การสอนอย่างสร้างสรรค์ ทำให้ห้องเรียนออนไลน์มีความน่าสนใจและให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเป็นแรงกระตุ้น จูงใจให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี มีความสามารถในการสื่อสาร และสามารถในการนำ เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ให้เกดิ ประโยชนท์ างด้านการศกึ ษาให้มากทีส่ ุด ๒๐

การสอนอย่างสร้างสรรค์ ทำให้ห้องเรียนออนไลน์มีความน่าสนใจและให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเป็นแรงกระตุ้น จูงใจให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เคร่ืองมือทางเทคโนโลยี มีความสามารถในการสื่อสาร และสามารถในการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางดา้ นการศึกษาให้มากท่ีสุด ทั้งนี้การจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 นั้นสิ่งสำคัญท่ีขาดไมไ่ ด้คือผู้สอนโดยเฉพาะอย่างย่งิ นักศึกษาวิชาชีพครูควรต้องมีพื้นฐานสำหรับการนำเครื่องมือเทคโนโลยมี าประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรียนการสอนเขา้ ร่วมมาช่วยเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้ การสร้างทักษะความสามารถให้สอดคล้องกับความต้องการในการ เรียนรู้เป็นแนวทางในการพัฒนานักศึกษาวิชาชีพครูสู่ยุค 5.0 โดยเป็นแนวทางช่วยส่งเสริมให้นักศึกษาวิชาชีพครูท่ี ออกไปเป็นครูในอนาคตสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ได้อย่างสร้างสรรค์ รู้จักการประยุกต์ web Application การสอนต่าง ๆ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้รูปแบบใหม่ๆ หรือแนวคิดกระบวนการจัดการเรียน การสอนออนไลน์ในการเตรียมความพร้อมสูเ่ ส้นทางอาชีพและแนวทางภายใต้โครงการ “Online Classroom กบั การ จัดการเรียนการสอนอยา่ งสรา้ งสรรค”์ จากเหตุผลข้างต้นทำให้ทางคณะผู้จัดเล็งเห็นความสำคัญของการประยุกต์ใช้ Web Application ในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์จงึ จัดทำโครงการสัมมนาในหัวข้อเรื่อง “Online Classroom กบั การจดั การเรียน การสอนอย่างสร้างสรรค์” เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาวิชาชีพครูได้เพิ่มพูนความรู้ในการใช้ เทคโนโลยใี นการจดั การศกึ ษาแบบออนไลน์เพื่อทจ่ี ะนำความรู้ไปต่อยอดและประยกุ ต์ ใช้ประโยชน์ในการศกึ ษาต่อไป 12. วัตถุประสงค์ 12.1 เพื่อเป็นแนวทางในการใช้ web Application ในด้านการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ให้กับ นกั ศึกษาวชิ าชีพครู เพอ่ื สง่ เสรมิ แนวทางประยกุ ต์ใชใ้ นการศกึ ษาได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 12.2 เพอื่ ให้นกั ศกึ ษาชัน้ ปีท่ี 4 ไดเ้ รียนรกู้ ระบวนการทำงานในการจดั สมั มนา 13. ตัวช้ีวดั ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ตวั ชี้วัดความสำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจการ รอ้ ยละ 80 1. มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกให้เครื่องมือใช้ เลือกใช้เครื่องมือ Online Classroom กับการ Online Classroom กับการจัดการเรียนการสอนอย่าง จดั การเรยี นการสอนอยา่ งสร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำแนวทางไป รอ้ ยละ 100 2. สามารถประยุกต์ใช้ Online Classroom กับ ประยกุ ต์ใชก้ บั การศึกษาไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ การศกึ ษาได้อยา่ งสร้างสรรค์ 3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการ อยู่ในระดับ 3. มีระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม และ เข้าร่วมกิจกรรม มาก สามารถนำไปใช้ประโยชนต์ ่อการเรยี นการสอนได้ 14. แผนการดำเนินงาน ปี พ.ศ. 2563 ธ.ค. ปี พ.ศ. 2564 แผนการดำเนนิ งาน และ ต.ค. พ.ย. ✓ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. การใชจ้ า่ ยงบประมาณ ✓ 1. วางแผนการดำเนนิ การ (P_Plan) ✓ 1.1 จัดทำแผนการจดั โครงการ 1.2 ประสานงานในการจัดกจิ กรรม 2. การดำเนินการจัดโครงการ (D_Do) ๒.1 วันจันทร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2564 ๒๑

3. ติดตามและประเมินผลการ ✓ ดำเนินงาน (C_Check) ✓ 3.1 ตรวจสอบจำนวนนักศึกษาที่ ✓ เขา้ ร่วมกิจกรรม 3.2 ประเมินผลการดำเนนิ กจิ กรรม 4. ปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการ ติดตามและประเมนิ ผล (A_Act) 4.1 จัดเก็บข้อมูลสรุปผลการ ดำเนนิ งาน 15. วัน เดอื น ปี ทีจ่ ดั โครงการ วันจนั ทร์ 8 มนี าคม พ.ศ. 2564 เวลา 13.00 น. – 16.30 น. 16. สถานทีด่ ำเนนิ การ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ในรูปแบบการสัมมนาแบบ Video Conference ผ่านโปรแกรม Zoom Meeting 17. กลุม่ เปา้ หมาย ผู้เขา้ รว่ มสัมมนาทัง้ สนิ้ จำนวน 65 คน ๑๗.๑ นกั ศึกษาหลกั สตู รสาขาวชิ าเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือการศกึ ษาและคณิตศาสตร์ ชัน้ ปีที่ 1 จำนวน 5 คน 17.2 นักศึกษาหลักสูตรสาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์การศึกษา ชั้นปีที่ 2 จำนวน 15 คน ช้นั ปที ่ี 3 จำนวน 14 คน 17.3 นกั ศึกษาหลกั สูตรสาขาวิชาภาษาองั กฤษ ชัน้ ปีที่ 2 หมู่ 2 จำนวน 31 คน 18. งบประมาณ 8,700 บาท - คา่ ตอบแทน 1,800 บาท - ค่าใช้สอย 5,250 บาท - ค่าวสั ดุ 1,650 บาท ๒๒

19. รายละเอยี ดงบประมาณ กิจกรรม/หมวดรายจ่าย/รายการ หน่วยนบั จำนวน ราคาต่อ รวมเงิน หมายเหตุ หน่วย หนว่ ย 8,700 โครงการสัมมนา Online Classroom กับการจัดการเรยี นการสอนอย่างสรา้ งสรรค์ 1,800 1,800 19.1 คา่ ตอบแทน 5,250 - ค่าตอบแทนวทิ ยากร คน/ชั่วโมง 1/3 600 500 500 19.2 คา่ ใชส้ อย 900 500 - คา่ ของท่ีระลกึ วิทยากร ชิน้ 1 500 500 1,500 - คา่ ของท่ีระลกึ ประธาน ชน้ิ 1 500 850 1,650 - ค่าของทร่ี ะลกึ กรรมการ ชิน้ 3 3 1,000 650 - ค่าถ่ายเอกสารสี แผ่น 100 5 - ค่าถ่ายเอกสารขาว ดำ แผ่น 500 1 - ค่าปา้ ยไวนิล (ขนาด ๓x๑) ผนื 1 1,500 - ค่าเกยี รติบัตร ใบ 85 10 19.3 ค่าวัสดุ - กระดาษ A4 รีม 2 500 - โปรแกรม ZOOM Meeting PRO Plus Host 1 650 **หมายเหตุ ขอเฉลยี่ ทุกรายการ 20. รปู แบบที่ใชใ้ นการสมั มนา การบรรยายและการสาธิต 21. หัวข้อสัมมนา การบรรยายในหัวข้อ Online Classroom กบั การจัดการเรียนการสอนอยา่ งสร้างสรรค์ - เทคนิคการสร้างสรรคร์ ายวชิ าสู่ Online Classroom - การเลอื กใช้ Web Application กับกจิ กรรมการเรียนการสอน - Online Classroom กบั การจดั การเรียนการสอนอยา่ งสร้างสรรค์ - การเตรยี มความพร้อมสู่ครูยุคดจิ ทิ ลั ความฉลาดทางดิจทิ ัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) 22. วทิ ยากร ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ณัฐวรรณ เฉลิมสขุ : ผเู้ ช่ียวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ มหาวิทยาลัยบรู พา 23. ผ้ดู ำเนนิ รายการ นายวินยั บู้ช้วน นางสาววราภรณ์ องอาจ นักศึกษาหลกั สูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์การศึกษาช้ันปีที่ 4 ๒๓

๒๔

๒๕

ภาคผนวก ค กำหนดการ ๒๖

กำหนดการโครงการสัมมนา “Online Classroom กับการจัดการเรียนการสอนอยา่ งสร้างสรรค์” วันจนั ทร์ 8 มนี าคม พ.ศ.2564 เวลา 13.00 น. – 16.30 น. มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง ในรปู แบบการสัมมนาออนไลน์ ผา่ นโปรแกรม Zoom Meeting เวลา 12.30 - 13.00 น. ********************************* เวลา 13.00 – 13.30 น. เวลา 13.30 – 16.00 น. ลงทะเบยี น พิธีเปิดโครงสัมมนา “Online Classroom กับการจดั การเรยี นการ เวลา 16.00 – 16.30 น. สอนอยา่ งสรา้ งสรรค์” บรรยายการเรยี นการสอนยคุ ดิจิทัลในการใช้ Online Classroom - เทคนิคการสรา้ งสรรค์รายวชิ าสู่ Online Classroom - การเลือกใช้ Web Application กับกจิ กรรมการเรียนการสอน - Online Classroom กับการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งสร้างสรรค์ - การเตรียมความพร้อมสู่ครูยุค DQ : ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) วทิ ยากรโดย : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ณัฐวรรณ เฉลมิ สุข พิธปี ิดโครงสมั มนา “Online Classroom กบั การจดั การเรียนการ สอนอยา่ งสร้างสรรค์ ๒๗

ภาคผนวก ง ประวัติวิทยากร ๒๘

ประวตั วิ ิทยากร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ณัฐวรรณ เฉลิมสุข ช่ือ - นามสกุล ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ณัฐวรรณ เฉลิมสขุ Asst. Prof. Nattawan Chalermsuk ตำแหนง่ อาจารย์ โรงเรียนสาธิต “พบิ ูลบำเพ็ญ” มหาวทิ ยาลัยบรู พา ภาควิชาการจดั การเรยี นรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา สถานท่ีทำงาน โรงเรยี นสาธติ “พิบลู บำเพ็ญ” มหาวทิ ยาลัยบูรพา 73 ถนนบางแสนล่าง ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จงั หวัดชลบุรี โทรศัพท์ 085-1205087 e-mail [email protected] การศึกษา สถาบนั ปรญิ ญาเอก (กศ.ด.) เทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร (2563) ปริญญาโท (กศ.ม.) เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร (2551) ปรญิ ญาตร(ี ศศ.บ.) ศลิ ปศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ (2548) ประสบการณท์ ำงาน พ.ศ. 2548-2549 อาจารย์ สอนศิลปะ (มัธยมศึกษา) โรงเรียนอัสสมั ชัญ บางรกั พ.ศ. 2550-2551 นกั ออกแบบส่ือการเรียนการสอน (Instructional Design) บริษัท ไซเบอร์โนเลจ. จำกัด พ.ศ. 2551-2555 นกั บรหิ ารงานศลิ ปกรรม ศนู ย์ศิลปกรรมแหง่ ประเทศไทย สถาบนั วัฒนธรรมวจิ ัยและศลิ ปะ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน อาจารยโ์ รงเรียนสาธติ “พิบลู บำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบรู พา ภาควชิ าการจดั การเรยี นรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ความเช่ียวชาญ – คอมพิวเตอร์ เพื่อการศึกษา/เทคโนโลยีสารสนเทศ/ไอซีทีเพอื่ การเรยี นการสอน - คอมพวิ เตอรม์ ัลติมเี ดยี เพื่อการศึกษา - การเรียนการสอนออนไลน์ (Online, e-Learning) - การออกแบบรปู แบบการเรียนการสอน - จติ วิทยาการสอน ๒๙

การศึกษาดงู านและการฝึกอบรม – อบรมเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงานด้านการจัดการเรยี นการสอนสะเต็มศึกษา STEM Professional Development Workshop ณ Ewha Woman University South Korea (2560) - ศึกษาดงู านด้านหลกั สตู ร การจดั การเรยี นการสอนและการวิจัยทางดา้ นเทคโนโลยีการศกึ ษา ณ The Centre for Instructional Technology and Multimedia (CITM@PTPM), University Sains Malaysia (USM), Malaysia (2561) - ศึกษาดงู านดา้ นเทคโนโลยีการศกึ ษา หลักสตู ร และ ICT เพอ่ื การศึกษา ณ Faculty of Education, Chiba University, Tokyo Japan (2561) - ศกึ ษาดงู านดา้ นเทคโนโลยกี ารศกึ ษา และ JMOOC ณ Meiji University, Tokyo JAPAN (2561) - ศึกษาดูงานด้านพิพธิ ภัณฑแ์ หล่งเรยี นรแู้ ละการบริหารจดั การหอ้ งสมุด ณ Chiba City Central Tokyo JAPAN (2561) - ศึกษาดูงานดา้ นพิพธิ ภัณฑแ์ หล่งเรยี นรู้และประวัตศิ าสตร์ ณ National Museum of Emerging Science and Innovation, Tokyo JAPAN (2561) ภาระงานทร่ี บั ผดิ ชอบ (ด้านการเปน็ วทิ ยากร) - ร่วมประชุมระดมความคิดเห็นเพอื่ พัฒนาหลกั สตู ร STEM2 ถา้ พรุ่งนี้ไม่มีไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทยร่วมกับศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ (2559) - รว่ มประชุมระดมความคดิ เหน็ เพ่ือปรบั ปรุงหลักสูตร STEM2 เร่ืองพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ศนู ย์วิทยาศาสตรศ์ ึกษา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ (2562) - ผชู้ ่วยวิทยากรโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เร่อื งโมบายเทคโนโลยีเปล่ยี นโลก เพื่อเริมการเรียนรู้แห่ง ศตวรรษที่ 21 แบบบูรณาการ (idmTEL: Integrated Disruptive Mobile Technology Enhanced Learning Tools of the 21st Century) สมาคมเครอื ข่ายการพัฒนาวชิ าชพี อาจารย์และองค์กรระดบั อุดมศึกษาแหง่ ประเทศ ไทย (คอวท) (2562) -วทิ ยากรในการอบรมเชิงปฏิบตั ิการพฒั นาบุคลากรเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรยี น (กิจกรรม พฒั นาการ จัดการเรียนรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์) ณ โรงเรยี นอนบุ าลนานาชาติตากสินบา้ นค่าย (วดั หวายกรอง) จ.ระยอง (2563) - วทิ ยากรโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการกระบวนการออกแบบการเรียนรู้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา (2563) - วิทยากรโครงการอบรมพัฒนาทักษะครูอาชวี ศกึ ษา ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ภาคกลาง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือรว่ มกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (2563) - วิทยากรโครงการค่ายความรู้พัฒนาทกั ษะวชิ าชีพนวัตกรรมการศึกษาสกู่ ารเรียนรูย้ ุคดิจทิ ัล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบึง จ.ราชบุรี (2563) - วิทยากรโครงการการประยุกต์ใช้ Web Application ในการสร้างสรรค์ผลงาน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎหมูบ่ ้าน จอมบงึ จ.ราชบุรี (2563) บทความวิจัยและบทความวิชาการ 2559 ณัฐวรรณ เฉลิมสุข. (2559). การศึกษาชั้นเรยี นพัฒนารปู แบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 MAT เพื่อ ส่งเสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษา. วารสารปัญญาภิวฒั น์ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) (TCI 1) ๓๐

2560 ณฐั วรรณ เฉลมิ สขุ . (2560). การสรา้ งสรรค์ทางทัศนศิลป์: สง่ เสรมิ จนิ ตนาการเรียนรู้. Veridian E- Journal, Silpakorn University. ปที ่ี 10 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-เมษยน) (TCI 1) 2561 ณฐั วรรณ เฉลมิ สขุ . (2561). การพฒั นาโปรแกรมศิลปกรรมสำหรบั นักเรียนมธั ยมศึกษาตอน ปลายของ โรงเรียนสาธติ พบิ ลู บำเพญ็ มหาวิทยาลัยบรู พา. วารสารสหวทิ ยาการวจิ ยั : ฉบบั บัณฑิตศึกษา ปีที่ 7 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-มถิ ุนายน) (SSRN) 2562 ณัฐวรรณ เฉลมิ สขุ และอนิรทุ ธ์ิ สติมน่ั . (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน ดว้ ยการเรียนแบบทกั ษะปฏิบัติร่วมกับ เคร่ืองมือทางปัญญาผ่านคลาวค์ อมพิวติง้ เพ่ือเสริมสร้างทักษะ ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละการสร้างผลงานศลิ ปะของ นกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ปีท่ี 47 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มนี าคม) (TCI 1) 2562 ณฐั วรรณ เฉลิมสขุ กฤตยษ์ พุ ัช สารนอก และกติ ติพร ชูเกยี รต.ิ (2562). STEAM EDUCATION กับการพัฒนาทกั ษะการคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ทบ่ี รู ณาการเครื่องมือทางปัญญา ผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง. งานประชมุ วชิ าการนิทรรศการเรียนการสอน “นวัตกรรมและการเรยี นรู้อยา่ งสร้างสรรค์” มหาวิทยาลัยศรปี ทุม กรุงเทพฯ (Proceeding) 2562 กฤตย์ษุพชั สารนอก ปณิตา วรรณพริ ุณ ปรชั ญนนั ท์ นลิ สุข และณฐั วรรณ เฉลิมสุข. (2562). องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมระบบของระบบนเิ วศการเรยี นรู้ดิจิทลั เพอื่ การจัดการเรียนการสอนด้วยการเลา่ เรื่อง แบบดิจิทัลสำหรับนกั ศึกษาวิชาชพี ครู. สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) (TCI 2) 2563 ณัฐวรรณ เฉลิมสุข. (2563). การประเมนิ หลกั สูตรโรงเรียนสาธิต “พิบลู บำเพ็ญ” มหาวทิ ยาลัย บูรพา โปรแกรมการศึกษานานาชาติขนั้ พน้ื ฐาน (มธั ยมศกึ ษา). วารสารศึกษาศาสตร์สาร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. ปี ที่ 4 ฉบับ ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม) (TCI 2). ขออนสุ ทิ ธิบตั ร - ผปู้ ระดษิ ฐ์และผอู้ อกแบบ การออกแบบผลิตภณั ฑ์อปุ กรณ์ การถา่ ยภาพและภาพเคลื่อนไหวใต้นำ้ เลขทีค่ ำ ขอ 2102000455 (29 มกราคม 2564) ๓๑

ภาคผนวก จ ขอเชิญวทิ ยากร ๓๒

๒๙

ภาคผนวก ฉ หนังสอื ขอเวลา ๓๔

๓๕

๓๖

๓๗

ภาคผนวก ช หนงั สือขอเรยี นเชญิ อาจารยเ์ ขา้ ร่วมโครงการ ๓๘

๓๙

๔๐

๔๑

๔๒

ภาคผนวก ซ หนงั สือขอเรยี นเชิญอาจารยผ์ ปู้ ระเมนิ ๔๓

๔๔

๔๕

๔๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook