Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฐานการเรียนรู้ นิทรรศการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

ฐานการเรียนรู้ นิทรรศการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

Published by 927sce00010, 2021-01-20 03:00:11

Description: ฐานการเรียนรู้ นิทรรศการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

Search

Read the Text Version

เรอ่ื ง สวนวทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน เวลา 15 นาที แนวคิด สวนวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ ฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการเกี่ยวกับแสง เสยี ง แมเ่ หล็กไฟฟ้า พลงั งาน แรงและการเคล่ือนท่ี หวั หนุ่ นกั วิทยาศาสตร์ และเครื่องผ่อนแรง ในการจดุ ประกายความคิดทางดา้ น วทิ ยาศาสตร์ให้กับผรู้ ับบริการ โดยผรู้ บั บริการสามารถแลกเปลยี่ นเรยี นรู้รว่ มกนั ดว้ ยวธิ ีการทดลองกับสื่อการ เรยี นรูจ้ รงิ ทำใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารเห็นความสำคัญของการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรท์ ่ีสอดคล้องกบั ชีวิตประจำวัน วัตถปุ ระสงค์ แลกเปลยี่ นเรียนรู้และทดลองเก่ียวกับแสง เสียง แมเ่ หล็กไฟฟา้ พลงั งาน แรงและการเคล่อื นที่ หวั หุน่ นกั วทิ ยาศาสตร์ และเครอ่ื งผ่อนแรง เนือ้ หา 1. การผสมแสงสี 2. เบอร์นูลล่ี 3. การเกดิ ฟ้าผา่ (JACOB LADDER) 4. วงแหวนกระโดด 5. ทายตวั เลข (เลขฐาน 2) 6. เสียงสะทอ้ น 7. ท่อเสยี ง 8. จานสะทอ้ นเสยี ง 9. กอ้ งสลบั ลาย 10. การแผ่รังสีความร้อน 11. หลอดไฟในแก้วน้ำ 12. การเกิดภาพบนกระจกเงาทท่ี ำมุมตา่ งกนั 13. การเคลอ่ื นไหวบนกระจกเงา 14. การสะท้อนของกระจกเว้า 15. การสะท้อนของกระจกนูน 16. ชิงชา้ แมเ่ หลก็ 17. ภาพอนนั ต์ 18. กล้องตาเรือ 19. การสะท้อนภาพบนกระจกเงาทรงกระบอก

20. แรงและเคร่ืองผ่อนแรง 21. แรงหนีศูนย์กลาง 22. รอก 23. หลกั การทำงานของจกั รยานสูบนำ้ 24. หัวห่นุ นักวิทยาศาสตร์ ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ ตอนท่ี 1 กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระสบการณท์ างวิทยาศาสตร์ (S : Science Experience Activity) ( 5 นาที ) 1. ผู้จัดกิจกรรมทักทายและแนะนำตนเองกับผู้รับบริการ และชี้แจงวัตถุประสงค์ของฐานการเรียนรู้ ผ่านนิทรรศการ เรื่อง วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ซ่ึงฐานการเรียนผ่านนิทรรศการน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้รับบริการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองเกี่ยวกับผลงานของนักวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และสนุกกบั คณติ ศาสตร์ 2. ผูจ้ ัดกิจกรรมนำเขา้ ส่บู ทเรยี นโดยการสอบถามประสบการณ์เดิมของผูส้ อน เก่ียวกับเคร่ืองเลน่ วิทยาศาสตร์ 3. ผู้จัดกิจกรรมแนะรายละเอียดภาพรวมของเนื้อหาในฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ เรื่อง วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน ขั้นตอนท่ี 2 กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ท่ีทา้ ทาย (C : Challenge Learning Activity) 1. ผ้จู ัดกจิ กรรมบรรยายให้ความร้แู ละอธบิ ายนิทรรศการ เร่ือง วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 2. เปดิ โอกาสให้ผูร้ บั บรกิ ารพูดคุย ซักถาม ทดลอง เล่นเครื่องเล่น 3. ผจู้ ัดกจิ กรรมและผูร้ บั บริการสรุปส่งิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ร่วมกัน ขนั้ ตอนท่ี 3 กิจกรรมการสรุปผลการนำวทิ ยาศาสตรไ์ ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั (I : Implementation Conclusion Activity) 1. ผจู้ ดั กจิ กรรมสุ่มผู้รบั บริการ จำนวน 1-2 คน ทสี่ มคั รใจให้ตอบคำถามในประเดน็ ท่านไดร้ บั ความรอู้ ะไรบา้ งผา่ นนิทรรศการในฐานการเรียนรเู้ ร่ือง วิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน นี้ และท่านคิดว่าจะนำ ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันของท่านไดอ้ ย่างไร 2. ผ้จู ดั กจิ กรรมและผู้รบั บริการสรุปสิง่ ที่ไดเ้ รยี นรู้ร่วมกัน

3. ผจู้ ดั กิจกรรมใหผ้ ู้รับบริการประเมินความพึงพอใจทม่ี ีตอ่ ฐานการจดั กิจกรรมการเรียนรูผ้ า่ น นทิ รรศการ เรื่อง วิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน สอื่ วัสดุอุปกรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. ฐานการเรยี นรู้ เรอ่ื ง วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน การวดั และประเมนิ ผล สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มของผูร้ ับบรกิ าร ความตั้งใจ ความสนใจของผ้รู บั บริการ ผลการประเมนิ การเรยี นรผู้ า่ นนิทรรศการ เรื่อง วิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน

1. การผสมแสงสี วิธเี ลน่ กดป่มุ สขี าว แล้วสังเกตปรากฏการณท์ เ่ี กิดข้นึ หลักการ การผสมกันของสีตามการทดลองของ Maxwell การผสมสแี บบบวกนเ้ี ปน็ การผสมกนั ของสขี องแสง ซ่งึ มีแมส่ ี หลักคือแสง สแี ดง เขยี วและน้ำเงิน และเราจะเรียกสที ่เี กิด จากการผสมกันของแม่ สบี วกว่า แมส่ รี อง ดงั น้ี สนี ำ้ เงิน + สแี ดง ได้ สีมว่ งแดง สแี ดง + สเี ขยี ว ได้ สีเหลือง สีนำ้ เงนิ + สีเขียว + สีแดง ได้ สีขาว 2. เบอร์นูลล่ี วธิ ีเล่น กดปมุ่ สีส้ม จะมีลมออกมา แล้วนำลูกบอลลงไป สงั เกตส่งิ ที่เกิดขึน้ หลักการ แดเนียล เบอร์นูลี นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิส กล่าวว่า เมื่ออากาศมีความเร็วเพิ่มขึ้นความ ดันของอากาศจะลดลง เนื่องจากอากาศที่กำลังเคลื่อนที่จะมีพลังงานจลน์ และอากาศที่มีความเร็วสูงจะมี พลังงานจลน์มากกว่าอากาศที่มีความเร็วต่ำ ดังนั้นขณะที่อากาศมีความเร็วสูงขึ้นจะมีพลังงานจลน์เพิ่มข้ึน ทำใหแ้ รงกระทำต่อพนื้ ท่ีลดลง เปน็ เหตใุ ห้ความดันลดลงดว้ ย จากหลักการนี้ จงึ นำไปสร้างปกี เครื่องบินให้มผี วิ ด้านบนโค้ง ดา้ นล่างเรียบ เมื่อเคร่อื งบนิ เคลอ่ื นท่ี อากาศด้านบนของปีกเครื่องบินมคี วามเร็วมากขน้ึ ความดันลดลง ทำใหอ้ ากาศด้านลา่ งของปีกออกแรงดันปกี เครือ่ งบนิ ให้ยกขน้ึ

3. การเกดิ ฟา้ ผา่ (JACOB LADDER) วธิ เี ลน่ กดปมุ่ คา้ งไว้ แลว้ สังเกตสิ่งทเ่ี กดิ ข้ึนระหวา่ งขดลวด 2 อนั หลักการ ฟ้าผ่าเกิดจากการถ่ายเทของประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ เมื่อมีลมพัดผ่านผิวพื้นดิน หรือ อาคาร จะทำให้ลมซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของแก๊สชนิดต่าง ๆ ได้รับอิเล็กตรอนจากการขัดสี และพา อิเล็กตรอนไปยังก้อนเมฆในอากาศ ทำให้บริเวณพื้นดินมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกขณะเดียวกันบริเวณด้านล่าง ของก้อนเมฆจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ แต่เนื่องจากก้อนเมฆซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของไอน้ำจึงเป็นตัวนำ ไฟฟ้าได้ดีกว่าอากาศ จึงทำให้อิเล็กตรอนที่บริเวณด้านล่างของก้อนเมฆจะเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้าบวก ขน้ึ ทดี่ า้ นบนของก้อนเมฆ จนในท่สี ดุ ทำใหบ้ ริเวณดา้ นบนของกอ้ นเมฆมีประจุไฟฟ้าบวกเพม่ิ ข้ึนเรื่อย ๆ และ บริเวณด้านล่างของก้อนเมฆจะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปรวมกันอยู่มากเมื่อนานขึ้นประจุลบจะเกิดมากขึ้น ประกอบกับท่ีผวิ โลกกจ็ ะเกิดประจุไฟฟ้าบวกข้นึ ท้ังน้ีเพราะสญู เสียอิเล็กตรอนไป จึงทำใหเ้ กิดแรงดูดระหว่าง ประจุบวกที่ผิวโลกกับอิเล็กตรอนที่ด้านล่างของก้อนเมฆ จึงทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากด้านล่างของก้อน เมฆลงสู่พน้ื และในการเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนลงสู่พื้นจะเคลื่อนท่ีดว้ ยความเร็วสูงจึงเกิดแรงผลักอากาศให้ แยกออกจากกันอย่างรวดเรว็ และเมื่ออากาศเคลื่อนที่มากระทบกันจะเกิดเสยี งดังข้นึ และมปี ระกายไฟเกิดขึ้น ดว้ ย

4. วงแหวนกระโดด วธิ ีเลน่ กดปุ่มสีขาว แล้วปล่อย หลกั การ เปน็ เคร่ืองแสดงการเกิดกระแสไหลวนโดยการให้ไฟฟ้ากระแสสลบั ไหลในขดลวดรอบแกน เหล็กอ่อน เม่อื มกี ารไหลของกระแสในขดลวดจะเกิดกระแสเหนี่ยวนำ ข้นึ โดยรอบแกนเหล็ก เส้นแรงแม่เหล็ก ดังกล่าวจะตัดกับโลหะที่อยู่ในรัศมี ซึ่งในกรณีนี้ใช้วงแหวนอลูมิเนียมที่คล้องอยู่กับแกนเหล็กเนื่องจากวง แหวนเป็นตัวนำกระแสไฟฟ้าจงึ ไหลวนอยู่ในวงแหวนและเกิดเป็นแรงแม่เหล็กทีม่ ีทิศทางตรงข้ามกับเสน้ แรง จากขดลวดในครงั้ แรกจงึ เกิดแรงผลกั ให้วงแหวนอลมู ิเนียมลอยข้นึ จากพืน้ ไปตามท่อจนหมดแรงกจ็ ะตกลงมา 5. ทายตัวเลข (เลขฐาน 2) วิธีเล่น 1. ผู้เล่น ใหผ้ ทู้ ี่เราตอ้ งการรู้วนั เกดิ ของเขา โดยให้เขาดูกระดานทลี ะ แผน่ โดยให้ดูเฉพาะ แถวสีนำ้ เงิน 2. แล้วถามเขาว่า ตัวเลขในแผ่นนี้มี วันเกิดของคุณมั้ย (ถาม อย่างน้ีจนครบทัง้ 5 แผ่น) 3. เก็บแผ่นที่เขาบอกว่ามีวันเกิดของเขาไว้ แล้ว นำตัวเลขซ่ึง แทนกลุ่ม ที่เราทำการกระจายในตอนแรก (คือเลข 1,2,4,8,16) มารวมกนั ก็จะรู้วนั เกดิ ของเขาคนน้ันทนั ที 4. กดป่มุ ตอบ เครื่องทายตัวเลขก็จะสามารถคำนวณ คำตอบได้ ทนั ที

หลกั การ เนอ่ื งจาก วนั กค็ ือ วนั ในแตล่ ะเดือนซ่งึ มีค่า 1-31 พยายามกระจาย 1-31 ให้อยรู่ ปู ผลบวกของ 1,2,4,8,16 ดงั น้ี 1=1 2=2 3 = 1+2 4=4 5 = 1+4 6 = 2+4 7 = 1+2+4 8=8 9 = 1+8 10 = 2+8 11 = 1+2+8 12 = 4+8 13 = 1+4+8 14 = 2+4+8 15 = 1+2+4+8 16 = 16 17 = 1+16 18 = 2+16 19 = 1+2+16 20 = 4+16 21 = 1+4+16 22 = 2+4+16 23 = 1+2+4+16 24 = 8+16 25 = 1+8+16 26 = 2+8+16 27 = 1+2+8+16 28 = 4+8+16 29 = 1+4+8+16 30 = 2+4+8+16 31 = 1+2+4+8+16

แบ่ง เลข 1-31 ออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มท่ี 1 เป็นกลมุ่ ของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 1 เปน็ ตัวบวก ซง่ึ ไดแ้ ก่ 1,3,5,7,9,11,13,15,17,19,21,23,25,27,29,31 กลุ่มที่ 2 เปน็ กล่มุ ของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 2 เป็นตัวบวก ได้แก่ 2,3,6,7,10,11,14,15,18,19,22,23,26,27,30,31 กลุ่มท่ี 3 เปน็ กลุ่มของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 4 เปน็ ตัวบวก ไดแ้ ก่ 4,5,6,7,12,13,14,15,20,21,22,23,28,29,30,31 กลุม่ ที่ 4 เป็นกลมุ่ ของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 8 เปน็ ตัวบวก ไดแ้ ก่ 8,9,10,11,12,13,14,15,24,25,26,27,28,29,30,31 กลมุ่ ที่ 5 เปน็ กลุม่ ของเลขท่ีกระจายออกมา โดยมี 16 เป็นตัวบวก ได้แก่ 16,17,18,19,20,21,22,23,24,25,26,27,28,29,30,31 6. เสยี งสะท้อน การสะท้อนของคลืน่ เสียงพบเสมอในชวี ิตประจำวัน เช่นเมอ่ื เขา้ ไปในห้องถุงใหญใ่ หญห่ รอื ทำแลว้ สง่ เสยี งดังดังจะ ได้ยินเสียงสะท้อนกลับมาเราเรียกเสียงสะท้อนน้นั ว่าเสยี งก้อง ซงึ่ มักจะรบกวนการได้ยินสามารถแก้ไขโดย บุผนังของห้อง ใหญ่ใหญด่ ว้ ยวัตถุทด่ี ดู เสียงหรอื กระจายเสยี งให้สะท้อนไป หลายหลายทางเสยี งสะท้อนหรือเสยี งกลอ้ งจะเกดิ ขึน้ เม่อื การ ไดย้ นิ เสียงครง้ั แรกและครงั้ ท่ีสองมีระยะเวลาห่างกันอย่างน้อย หนงึ่ / 10 วินาที วธิ ที ดลอง 1. ตบมือของท่านท่ปี ากท่อ 2. รีบเอาหแู นบที่ปากท่อทา่ นจะได้ยินเสยี งตบมือสะท้อนกลบั มาใหม่ เกดิ อะไรขน้ึ จะไดย้ ินเสยี งตบมอื สะท้อนกลบั มา ทำไมจงึ เป็นเชน่ น้ัน เม่อื ตบมือเสยี งจะเดินทางไปตามท่อจนกระทบกบั ผนงั ที่ปลายท่อแล้วสะท้อนกลบั มาให้ได้ยนิ อีกครัง้ ท่อน้มี ีความยาวมากกว่า 55 ฟตุ ทำให้เราไดย้ ินเสียงครั้งแรกและครง้ั ท่ีสองในระยะเวลาทีห่ า่ งกันมากกวา่ 1/10 วินาทเี สยี งท่ีได้ยินคร้งั ที่สองจงึ เป็นเสยี งสะท้อนหรือเสยี งกอ้ ง

7. ทอ่ เสียง การสนั่ ของวตั ถุใดใดท่ีมีความถี่ของการสัน่ เทา่ กับความถี่ธรรมชาตขิ องวตั ถนุ นั้ จะทำใหเ้ กิดการส่ัน รุนแรงทีส่ ดุ คือมีแอมปจิ ูดมากท่สี ุดหรือเกดิ เสียงดังมากท่สี ดุ ซง่ึ เรยี กว่าการเกิดกำทอน วิธีทดลอง 1. ใชไ้ มเ้ คาะถอดเสียงท่ีมคี วามยาวต่างกนั สงั เกตเสียงทเี่ กดิ ขน้ึ 2. รองใช้ไม้เคาะทอ่ เสียงให้เกิดเสยี งดนตรี เกดิ อะไรขน้ึ ทอ่ แต่ละท่อเกดิ เสียงสูง-ต่ำไม่เท่ากันและสามารถเคาะให้เป็นเสยี งดนตรีได้ ทำไมจงึ เป็นเชน่ น้นั ไม้เคาะที่ท่อโดยแรงกระทำจากภายนอกท่ีทำใหเ้ กิดความถี่กับความถ่ีธรรมชาติของการส่ันของวัตถุ น้ันจะเกดิ ความดังของเสยี งเพ่ิมขนึ้ อย่างมากเรียกว่าอยู่ในภาวะกำทอน (Resonance) เสยี งที่เกิดข้นึ จากการ เคาะนนั้ จะมคี วามดงั ท่ตี ่างกนั ไปตามความยาวของท่อซ่งึ ถ้าทอ่ ทสี่ น้ั เสยี งที่ออกมาจะสูงแตใ่ นทางกลบั กันถ้า ถอดเสียงย่งิ ยาวเสียงทเ่ี คาะจะย่ิงต่ำเป็นเพราะความถี่ของเสียงทเ่ี กิดขึ้นจากการเคาะน้นั จะมคี วามถสี่ งู ในท่อ ทีส่ ่นั และมีความถ่ีตำ่ ในท่อท่ียาว

8. จานสะท้อนเสียง คลื่นเสียงสามารถสะทอ้ นได้ จานผิวโค้งพาราโบรา่ มีความพิเศษอย่างหนึ่งคือถา้ มีคล่นื เสียง คลื่นแสง หรือวัตถุใดท่ีมคี ุณสมบัตสิ ะท้อนได้ตกกระทบผวิ จานในแนวขนานกันกบั แกนของจานจะสะท้อนจากผิวจาน เขา้ หา โฟกัส ของจานเสมอเราสามารถนำคุณสมบัตดิ ังกล่าวน้ีไปประดิษฐ์อปุ กรณ์ต่างๆ เชน่ จานรบั สัญญาณ ดาวเทยี ม โคมไฟหน้ารถยนต์ จานสะทอ้ นแสงของไฟฉาย วิธที ดลอง 1. แนบหกู บั ปลายทอ่ ทอ่ี ยู่ด้านหลงั จานผิวโคง้ พาราโบรา่ 2. ใชม้ ือจับดา้ นหมนุ ใหจ้ านหันไปหาจดุ กำเนิดเสยี งในบรเิ วณนัน้ (อาจเป็นเพ่ือนทีย่ ืนพดู คุยกนั )ท่าน ได้ยนิ เสยี งอะไรบา้ งไหม เกดิ อะไรข้นึ ทา่ นจะได้ยินเสียงจากจุดกำเนิดที่อยใู่ นจานผิวโคง้ พาราโบลา ทำไมจงึ เปน็ เชน่ นั้น เสียงจากจุดกำเนิดเสยี งหน้าจานผิวของพาราโบลาจะตกกระทบกับผิวจานในแนวขนานกับแกนของ จานแล้วสะทอ้ นไปรวมกันทจ่ี ุดโฟกัสของจานนะจดุ โฟกสั นั้นมปี ลายของท่อรับเสียงติดตัง้ ไว้ให้สามารถรับ เสียงทมี่ ารวมกันได้พอดีเสียงดังกลา่ วจะสะท้อนไปตามท่อทีเ่ ช่ือมไวจ้ นถงึ ปลายท่อทห่ี ูเราแนบอยู่ทำใหเ้ ราได้ ยินเสยี ง

9. กอ้ งสลบั ลาย วตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้มีความรู้และประสบการณ์เรื่องคาไลโดสโคป ซงึ่ เกดิ จากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาสามแผ่นทำมมุ ระหว่าง กัน 60 องศานา่ จะทำใหเ้ กดิ การสะท้อนของแสงกลับไปกลับมาให้ ภาพปรากฏทสี่ วยงามมาก วธิ ีทดลอง ใช้ตาสองดูภาพท่ปี รากฏในกล้องสลบั ลายซ่งึ จะมแี สงส่อง ทะลุดา้ นหลงั กล้องผา่ นพลาสตกิ สตี า่ งๆสงั เกตภาพทปี่ รากฏ คำตอบ ภาพท่ปี รากฏในกล้องสลับลายเปน็ ภาพที่สวยงามทีจ่ ะ เปล่ยี นสไี ปตลอดเวลา ท่ีมีการหมนุ ของจานสีการเกิดสีเกดิ จากแสง ไฟที่สองทะลผุ า่ นพลาสติกสรี ปู ต่างๆ และจะสะทอ้ นกลบั ไปกลับมา หลายๆ ครง้ั บนผิวกระจกเงาสามแผนทว่ี างทำมุม 60 องศาระหว่าง กันนั่นเอง 10. การแผร่ งั สคี วามร้อน วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจปรากฏการณเ์ รื่องการแพรังสคี วามร้อน สามารถทำให้ความร้อนเดนิ ทางจากทหี่ นง่ึ มายงั อกี ท่ีหนึ่งโดยไม่ ตอ้ งอาศัยตัวกลาง วธิ ปี ฎิบตั ิการ กดสวติ ช์ใหห้ ลอดไฟตดิ แล้วสังเกตการเปลีย่ นแปลงที่ เกิดข้ึนของเรดิโอสโคปอยากทราบว่าปรากฏการณ์ดงั กล่าว เกดิ ข้ึนได้อย่างไร คำตอบ แผ่นโลหะทอี่ ยู่ในหลอดแกว้ ของเรดิโอสโคปจะหมนุ รอบ แกนค่อนข้างเรว็ ทัง้ น้เี พราะว่าแผน่ โลหะสีดำไดร้ ับความร้อนและ ดูดความรอ้ นจากการแผ่รังสขี องหลอดไฟไดม้ ากกวา่ จงึ ทำใหก้ า๊ ซในหลอดเรดโิ อสโคปขยายตวั หนีออกไปใน อัตราเรว็ ท่สี ุดกว่าแผ่นโลหะสีเงนิ จึงผลักให้เกดิ การหมุนรอบแกนของแผน่ โลหะในหลอดเลดิโอสโคปได้การแผ่ รงั สีความรอ้ นคือการถ่ายโอนพลังงานความร้อนจากบรเิ วณทีร่ ้อนกวา่ ไปยังบรเิ วณท่ีเยน็ กว่าไดโ้ ดยไมต่ ้องมี

ตวั กลางตัวอยา่ งการแผร่ ังสคี วามร้อนได้แก่การแพรังสีความรอ้ นจากดวงอาทิตยม์ ายงั โลกความร้อนจากกอง ไฟท่ีแพรังสีความร้อนเป็นรศั มอี อกมาโดยรอบแหล่งกำเนดิ เป็นต้น 11. หลอดไฟในแกว้ นำ้ วัตถุประสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ดู้ ศู ึกษาปรากฏการณ์สะทอ้ นของแสงเพียง บางส่วนในกระจกใสซึ่งจะทำใหเ้ กดิ ปรากฏการณข์ องแสงที่ นา่ สนใจ วิธที ดลอง สงั เกตแก้วนำ้ ซึ่งมีน้ำอยู่เกือบเตม็ แกว้ ว่ามีอะไรในแกว้ หรือไม่แลว้ กดสวติ ช์ใหห้ ลอดไฟติดสงั เกตว่าเกดิ อะไรข้นึ ในแก้วน้ำ และทำไมถึงเป็นเช่นนน้ั คำตอบ จะสงั เกตุเหน็ หลอดไฟไปปรากฏในแก้วนำ้ ทัง้ น้เี พราะวา่ หลอดไฟจะสะท้อนทีก่ ระจกใสแล้วไปเกิดเงาขึ้นในแกว้ นำ้ ทำให้มองดเู หมือนมหี ลอดไฟเกิดขึ้นโดยติดสว่างใน แกว้ น้ำได้ 12. การเกิดภาพบนกระจกเงาที่ทำมุมตา่ งกนั วตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาจำนวนภาพของตวั ตุ๊กตาที่สะท้อนบนกระจกเงา 2 แผน่ ทท่ี ำมุมกันดว้ ยจำนวนองศาท่ีต่างกนั วา่ จำนวนภาพท่ปี รากฏจะเพม่ิ ขึ้น อยา่ งไรเมอื่ มมุ หรือองศาของกระจกเปลี่ยนแปลงไป วิธที ดลอง ให้ขยบั กระจกบานทสี่ ามารถพบั ไปมาได้ซึง่ มี 1 บานให้ตรงกับเส้นสี ที่ปรากฏอยากทราบวา่ จำนวนภาพทป่ี รากฏเก่ยี วข้องกบั จำนวนองศา อยา่ งไร

คำตอบ จำนวนภาพท่ีปรากฏจากกระจกท่ที ำมุมเปน็ ตามสูตรจำนวนภาพ =(360 องศา ÷ มุมกระจกเงา)-1 มุมกระจกเงา 120 ํ 90 ํ 60 ํ 45 ํ 30 ํ จำนวนภาพ 2 3 5 7 11 13. การเคล่อื นไหวบนกระจกเงา วิธีทดลอง หมนุ แปน้ วงกลมดว้ ยความเร็วพอประมาณ แลว้ สังเกตภาพท่ีปรากฏบนกระจกเงาท่ีอยภู่ ายในจานหมนุ ทา่ น เห็นภาพเป็นอยา่ งไร คำตอบ จะเหน็ ภาพเคลื่อนไหวได้ทั้งน้ีเพราะความเร็ว ของการหมุนภาพสะท้อนทปี่ รากฏบนกระจกด้วยความเร็ว ตอ่ เน่อื งทีท่ ำให้เกดิ ภาพตดิ ตาเพราะประสาทตายงั คงจำภาพเดมิ ได้อีกระยะหนึ่งจงึ เห็นการเกิดภาพต่อเนื่องเป็นภาพเคลอื่ นไหว ได้ก่อนท่ภี าพใหมจ่ ากเล่ือนมาให้เหน็ ความเรว็ ของภาพทเ่ี ลื่อน ประมาณ วนิ าทีละ 20 ภาพหรือเร็วกว่านี้ ประโยชน์ ภาพยนตรแ์ ละการต์ นู เคล่ือนไหวได้โดยอาศัยหลกั การนี้

14. การสะท้อนของกระจกเวา้ วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้รจู้ ักกฎการสะท้อนแสงของกระจกนูน เวา้ 2. เพอ่ื ให้สามารถเขยี นเส้นแสดงทางเดนิ ของแสง ในการเกิดภาพของกระจกเว้าได้ 3. เขา้ ใจการเกิดภาพของกระจกเวา้ กระจกเวา้ (Concave miror) คอื กระจกที่ใชผ้ ิว โคง้ เวา้ เป็นผวิ สะท้อนแสงหรือกระจกเงาที่รังสตี กกระทบ และรงั สีสะท้อนอยู่ด้านเดียวกับจุดศูนย์กลางความโคง้ อยากสมบัติของกระจกเวา้ ท่ีมีความยาวโฟกัสมากๆจะมี กำลังขยายมากและลกั ษณะของภาพเปน็ ภาพเสมือนซ่ึงตา เราสามารถมองเหน็ ได้จากกระจกเวา้ ภาพท่เี กิดจากวัตถทุ ี่ อยู่ห่างจากกระจกเว้าไมเ่ กินสองเท่าของระยะของจุด โฟกัสภาพที่ได้มีขนาดใหญ่กว่าวตั ถุเป็นทาสจงึ มีลักษณะ หวั กลบั กับวัตถธุ าตุท่ีเกิดข้ึนสามารถนำฉากมารบั ได้ ประโยชน์ กระจกเวา้ ใชใ้ นกลอ้ งจุลทรรศน์เพอื่ ช่วยรวมแสงใหต้ กท่ีแผ่นสไลด์เพ่ือทำใหเ้ ราเหน็ ภาพชัดข้นึ ทนั ต แพทยใ์ ช้ส่องดฟู ันคนไขเ้ พอ่ื ใหเ้ หน็ ภาพของฝันมีขนาดใหญ่กว่าปกติทำใหส้ ะดวกต่อการรักษา

15. การสะท้อนของกระจกนนู วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้รู้จักกฎการสะท้อนแสงของ กระจกนูนโค้งและกระจกเงาราบ 2. เพอื่ ให้สามารถเขยี นเส้นแสดงทางเดิน ของแสงในการเกิดภาพของกระจกนูนได้ กระจกนูน เป็นกระจกท่มี ีผิวดา้ นหนึง่ โค้งออก เรยี กวา่ กระจกนนู (Convex mirror) ดังรูปแสดง การสะท้อนของลำแสงขนานจากกระจกนนู แสงที่ สะทอ้ นออกมาจากกระจกนนู เปน็ ลำแสงท่มี าจาก จดุ โฟกัสที่อยู่ดา้ นหลงั กระจกโดยจดุ โฟกสั ของ กระจกนนู จะทำหน้าทีเ่ สมือนวา่ เปน็ แหลง่ กำเนดิ แสงเน่ืองจากรังสีของแสงไม่ไดม้ าพบกนั จรงิ ภาพท่ี เกิดจากกระจกนนู จงึ เปน็ ภาพเสมือนหวั ต้งั เสมอมี ขนาดเล็กกวา่ วัตถุและเปน็ ภาพทีม่ ุมมองกว้าง ประโยชน์ 1. ใช้เป็นกระจกมองหลงั รถยนต์ เช่นเดียวกบั กระจกเงาราบแต่ภาพท่เี หน็ จาก กระจกนูนจะอยใู่ นระยะใกลก้ ว่า 2. ใชเ้ ป็นกระจกติดตามทางเลยี้ วหรอื มุมมองของถนนเพ่ือชว่ ยใหม้ องเหน็ รถที่ว่งิ สวนทางมาได้

16. ชิงชา้ แมเ่ หล็ก วัตถุประสงค์ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจปรากฏการณ์ตามธรรมชาตจิ ากการ ทดลองวา่ โคตรลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้าสลบั ไหลผ่านจะ เหนยี วนำกับสนามแมเ่ หล็กถาวรทำให้เกดิ การแกวง่ ไกว ของชิงช้าได้ วธิ ีปฏิบตั ิ กดสวติ ช์แล้วปล่อยมอื ทำเช่นนตี้ ่อเนอื่ งกนั ไปให้ ได้จังหวะท่ีพอดๆี สงั เกตผลการทดลองที่เกดิ ขึน้ ทำไมถึง เป็นเช่นน้ัน คำตอบ จรงิ ชา้ จะแกวง่ ไกวไปมาได้อย่างสวยงามโดย อำนาจเหนยี วนำของกระแสไฟฟา้ กับสนามแมเ่ หลก็ กลา่ วคือกระแสไฟฟา้ ที่ไหลผ่านขดลวดซึ่งออกแบบใหเ้ หมือนพืน้ ชงิ ชา้ จะทำให้ขดลวดมีอำนาจเหนียวนำ ไฟฟา้ จึงจะเหนยี วนำกับสนามแม่เหล็กถาวรซงึ่ วางอยูท่ ่ฐี านทำให้เกิดการแกวง่ ไกวของชงิ ช้าได้ 17. ภาพอนนั ต์ วัตถุประสงค์ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจปรากฏการณ์ของการเกดิ ภาพเมื่อวาง วตั ถอุ ยรู่ ะหว่างกลางของกระจกเงาสองบานทีว่ างขนานกันวา่ จะมีจำนวนภาพเกดิ ขึน้ เทา่ ไหร่ วิธที ดลอง ใหผ้ ดู้ ูสังเกตว่าเงารปู ตุ๊กตาทีเ่ กดิ ขึ้นในกระจกเงาทั้ง สองบานเป็นอยา่ งไรและลองนบั จำนวนเงาตกุ๊ ตาที่ปรากฏมี จำนวนเท่าไหร่ คำตอบ เงาที่เกิดจากการสะท้อนของกระจกเงาสองบาน ทว่ี าง ขนานกันมจี ำนวนนบั ไม่ได้ (จำนวนอนันต์)

18. กล้องตาเรอื วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ศกึ ษาการสะท้อนของแสงโดยใช้กระจกเงา วธิ ที ดลอง ใช้กระจกเงาสองแผ่นวางทำมุม 45 องศาในกล่องหัก มุมละ 1 แผ่นทำใหม้ องเหน็ ภาพในมุมสงู ได้โดยอาศัยภาพ สะท้อนจากกระจกเงา 2 แผ่น ประโยชน์ ใช้ในกจิ การเรือดำน้ำสามารถมองเหน็ วัตถบุ นผวิ นำ้ ได้ หรอื ใชเ้ ป็นกล้องดูขบวนแห่ 19. การสะทอ้ นภาพบนกระจกเงาทรงกระบอก จุดประสงค์ เพ่ือศึกษาการเกดิ ภาพบนกระจกเงาทรงกระบอก โดยสงั เกตภาพท่ีถูกยดื ใหเ้ ป็นวงกลมจนไม่ได้สัดส่วนและ ภาพสะท้อนจากกระจกเงาทรงกระบอกจะเหน็ วา่ ภาพบน กระจกท่ีสะท้อนภาพท่ีถูกยืดออกจะกลายเปน็ ภาพท่ถี กู สัดส่วนเนื่องด้วยคณุ สมบัติของการสะท้อนภาพทกุ ทศิ ทาง ของภาพสะท้อนจากวัตถทุ รงกระบอก ภาพสะท้อนจากวตั ถทุ รงกระบอก ภาพทเ่ี กดิ จากการสะท้อนของวัตถทุ รงกระบอก จะไดภ้ าพทส่ี ะทอ้ นจากทุกทศิ ทุกทางและการทวี่ ัตถุ ทรงกระบอกจะสะท้อนภาพท่ีเสมอื นวา่ มีพ้ืนท่ีมากกวา่ น(ี้ แต่มอี งศาเท่ากนั ) ทำใหเ้ กดิ ภาพสะทอ้ นทบี่ บี เขา้ และสะท้อนได้ครบ 360 องศา ประโยชน์จากภาพสะท้อนทุกทิศทาง ในปัจจบุ ันประโยชน์ทไี่ ด้รับและนำไปใช้มากทีส่ ุดของคณุ สมบตั ิการสะท้อนทุกทศิ ทางน้เี หน็ จะไม่พน้ ระบบรกั ษาความปลอดภัยทง้ั ใชเ้ ป็นกระจกสังเกตการณแ์ ละนำประยุกต์ใช้กบั กล้องวงจรปิด

20. แรงและเคร่ืองผ่อนแรง การทดลองและสงั เกต - หมนุ ดา้ มจับ ไปตามเขม็ และทวนเขม็ นาฬิกาแลว้ สงั เกตการเคล่ือนท่ขี องมวล - ลองใช้มือดันมวลใหเ้ คลอื่ นทไี่ ป ทางซา้ ยหรอื ขวาแลว้ สงั เกตว่ามวลเคลือ่ นท่ีได้ หรอื ไม่อยา่ งไร เกิดอะไรข้ึน การหมุนได้มจับจะสามารถเคลื่อนที่มวล ไปทางซ้ายหรอื ขวาไดโ้ ดยใช้แรงไม่มากแต่มวนจะ เคลอื่ นที่ไปไดช้ ้า แมจ้ ะใช้มือดนั มลู ให้ไปทางซา้ ยหรือขวาด้วยแรงที่มากเทา่ ไหรก่ ต็ ามกจ็ ะไมส่ ามารถดนั มวลเคล่อื นท่ี ไดเ้ ลย เพราะอะไร การทำงานของเคร่ืองผอ่ นแรงชนิดน้ไี ดน้ ำประโยชน์ของเฟืองชนิดหนง่ึ มาใชค้ ือเฟืองหนอน เฟืองหนอน (Worm gear) เป็นลักษณะเสียงครบท่ีมเี กรยี วสกูพันอยโู่ ดยรอบ ใช้สำหรับเปลีย่ นทิศทางการเคลื่อนท่แี ละความเรว็ รวมถงึ แรงในการเคล่ือนทดี่ ว้ ยเฟอื งหนอนมีลักษณะเด่นคือเฟอื งหนอนไม่สามารถหมนุ เกลยี วหนอนได้ ทำให้ นยิ มใชเ้ ฟืองลักษณะน้ีกบั ระบบการลำเลียงเพื่อป้องกนั การไหลยอ้ นกลับของระบบลำเลียงอกี ทัง้ ยงั สามารถ ลำเลยี งของหนักมากๆ ได้โดยใช้แรงขบั เคลื่อนท่ีไม่ตรงมากนัก 21. แรงหนศี ูนยก์ ลาง วตั ถุประสงค์ เพ่อื ใหผ้ ู้ดเู กิดความสนุกและเข้าใจปรากฏการณ์ตาม ธรรมชาตเิ รื่องแรงหนีศนู ย์กลาง วิธีการทดลอง ใหป้ ลอ่ ยรปู แกว้ จากปลายลาง ณระดบั ความสูงตา่ งๆ กนั สงั เกตดวู า่ การปล่อยรูปแก้ในระดับทส่ี ามารถทำให้ลูกยังไม่ตกจาก หลงั ได้อยากทราบวา่ แรงทมี่ ากระทำกบั ลูกแก้วไมต่ กจากรางคือแรง อะไร คำตอบ แรงหนศี นู ยก์ ลาง

22. รอก หลกั การทำงานของรอก โดยปกตแิ ล้วหากเราต้องการทจี่ ะยกหรือลากวัตถุ ใดๆ เราจะต้องออกแรงกระทำต่อวตั ถนุ ั้นๆ ด้วยปรมิ าณ เท่ากบั แรงตา้ นทวี่ ัตถุนนั้ น้ันมีอยู่ (load) (มดยกของธรรมดา) หมายความว่าหากวตั ถทุ ี่เราต้องการยกนนั้ มนี ้ำหนักมากเราก็ ตอ้ งออกแรงมากตามไปด้วย (มดยกของแล้วยกไม่ไหวโดนทับ) จึงมกี ารคิดคน้ อุปกรณ์ที่ช่วยให้ เราสามารถยกวัตถุที่หนัก มากๆโดยการออกแรงนอ้ ยๆไดเ้ รียกวา่ เครือ่ งผอ่ นแรง (Machines) เครอ่ื งผ่อนแรงน้ันใช้หลักการของการ ไดเ้ ปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage M.A.) เพ่อื ช่วยลดแรงท่เี ราต้องใชก้ ับวัตถุต่างๆ การได้เปรียบเชงิ กลสามารถหาไดจ้ ากอตั ราสว่ นระหวา่ งแรงต้านท่วี ตั ถุนนั้ ๆ มีอยกู่ บั แรงที่เรากระทำ ต่อวัตถุ (แรงพยายาม) และอัตราสว่ นระหว่างระยะทางที่เคลอ่ื นทโ่ี ดยแรงพยายามกบั ระยะทางทีเ่ คลื่อนท่ี โดยโหลดน้ันเรยี กวา่ \"อัตราสว่ นความเรว็ (Velocity Ration - V.R.)\" รอก (Pulley) เป็นเครื่องมือที่มลี ักษณะกลมแบนมนั หมุนได้ขายวงลอ้ ใชเ้ ชือกหรือโซ่คล้องสำหรบั ดงึ รอกแบ่งออกเปน็ หลายชนดิ ได้แก่ รอกเด่ยี วตายตวั จะมเี ชอื กคลอ้ งผา่ นวงรอกหน่ึงตัว ปลายเชือกด้านหนงึ่ ผูกติดกบั วัตถุท่ีต้องการยก อกี ดา้ นหนงึ่ สำหรับจบั เพ่ือดึงวัตถุลอกแบบน้ีไม่พ้นแรงแตอ่ ำนวยความสะดวกในการทำงาน รอกเดีย่ วเคล่ือนท่ี เปน็ รอกทีเ่ คลื่อนท่ีไดเ้ ม่ือนำไปใช้งานรอกแบบนี้ช่วยผ่อนแรงครึ่งหนึง่ ของนำ้ หนัก รอกพวง เกิดจากการนำรอกหลายอยา่ งและหลายตัวมาต่อกนั เป็นระบบมลี ักษณะเปน็ พวง 23. หลักการทำงานของจกั รยานสบู นำ้ จักรยานเปน็ จกั รกลทมี่ หี ลักการทำงานง่ายง่ายไม่ซับซ้อนไม่ตอ้ งใชเ้ คร่ืองยนต์ไมใ่ ช้น้ำมันเชอ้ื เพลงิ ใช้ พลังงานต้นกำลังจากแรงปน่ั ของผ้ขู ่ีไปหมุนเฟืองล้อทำใหล้ ้อมหมนุ นอกเหนือจาก การใชจ้ ักรยาน เปน็ พาหนะแลว้ ยังสามารถดดั แปลงโครงจักรยานมาใชเ้ ปน็ ตน้ กำลงั ฉุดปม๊ั น้ำแทนมอเตอร์ไฟฟ้าหมนุ เคร่ืองปนั่ ไฟฟา้ หมนุ เคร่อื งบดบนเครื่องซักผ้าและ อื่นๆ อีกมากมายนับวา่ เปน็ เทคโนโลยีท่ีส่งเสรมิ วิถีชีวิตพอเพียงลด ต้นทุนดา้ น

24. หัวหุ่นนักวิทยาศาสตร์ 1. อัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ เกิด  วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ทเี่ มืองอูลม์ (Ulm) ประเทศเยอรมนี (Germany) เสียชวี ติ  วนั ที่ 18 มถิ ุนายน ค.ศ.1955 ท่ีเมอื งนิวเจอร์ซี่ (New Jersey) ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ผลงาน  - คน้ พบทฤษฎสี มั พัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รงั สี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวลั โนเบล สาขาฟสิ ิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ผลงานของไอน์สไตน์ในสาขาฟิสิกส์มีมากมาย ต่อไปนี้เป็น สว่ นหนงึ่ : ทฤษฎสี มั พทั ธภาพพเิ ศษ ซงึ่ นำกลศาสตร์มาประยุกต์รวม กับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทฤษฎีสัมพทั ธภาพทั่วไป, ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับ แรงโน้มถ่วง ซึ่งเป็นไปตามหลักแห่งความสมมูล,วางรากฐานของ จักรวาลเชงิ สมั พัทธ์ และคา่ คงที่จกั รวาล, ขยายแนวความคิดยุคหลัง นิวตัน สามารถอธิบายจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของดาวพุธได้อย่างลึกซึ้ง, ทำนายการหักเหของแสงอัน เนอื่ งมาจากแรงโนม้ ถ่วงและเลนส์ความโนม้ ถ่วง, อธิบายการเกดิ ปรากฏการณ์ของแรงยกตัว, รเิ ร่มิ ทฤษฎีการ แกว่งตัวอยา่ งกระจายซึง่ อธบิ ายการเคลื่อนที่ของบราวน์ของโมเลกลุ , ทฤษฎีโฟตอนกบั ความเกย่ี วพันระหว่าง คลื่น-อนุภาค ซึ่งพัฒนาจากคุณสมบัติอุณหพลศาสตร์ของแสง, ทฤษฎีควอนตัมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ อะตอมในของแข็ง, พลังงานทจ่ี ดุ ศูนย์, อธบิ ายรปู แบบยอ่ ยของสมการของชเรอดิงเงอร์, EPR paradox, รเิ ริ่ม โครงการทฤษฎีแรงเอกภาพ

2. หลุยส์ ปาสเตอร์ เกิด  วนั ท่ี 27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 ที่เมืองโดล(Dole) มล รฐั จูรา(Jura) ประเทศฝรัง่ เศส(France) เสียชีวิต  วันที่ 28 กนั ยายน ค.ศ. 1895 ประเทศฝร่ังเศส (France) ผลงาน  - ค้นพบวคั ซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบา้ - ค้นพบว่าจุลินทรยี ์เปน็ สาเหตุท่ีทำให้เกดิ การเนา่ เสีย - ค้นพบวิธกี ารฆา่ เชอ้ื จลุ ินทรียโ์ ดยการนำมาตม้ หรอื เรยี กวา่ พาสเจอร์ไรเซซัน (Pasteurization) ในวงวิชาการดา้ นจุลชวี วิทยา ยกยอ่ งกนั ว่า หลยุ สป์ าสเตอร์ “เปน็ บิดาแหง่ จลุ ชวี วทิ ยา” ผวู้ างรากฐานและให้กำเนิดวิชาจลุ ชวี วิทยา 3. มาดาม มารี ครู ่ี เกิด  วนั ท่ี 7 พฤศจิกายน ค.ศ.1867 ทีเ่ มืองวอร์ซอร์ (Warsaw) ประเทศโปแลนด์ (Poland) เสียชวี ติ  วันท่ี 4 กรกฎาคม ค.ศ.1934 ที่กรุงปารสี (Paris) ประเทศฝร่งั เศษ (France) ผลงาน  - คน้ พบธาตเุ รเดยี ม - ได้รบั รางวัลโนเบลสาขาฟสิ ิกส์ ในปี ค.ศ.1903 จาก ผลงานการพบธาตุเรเดยี ม - ไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขาฟิสิกส์อกี คร้ังหน่ึง ในปี ค.ศ. 191 จากผลงานการคน้ คว้า หาประโยชน์จากธาตเุ รเดยี ม

4. ไอแซก นวิ ตนั เกิด  วันท่ี 25 ธนั วาคม ค.ศ. 1642 เมอื งลนิ คอรน์ เชียร์ (Lincohnshire) ประเทศอังกฤษ(England) เสียชวี ติ  วันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 กรงุ ลอนดอน (London) ประเทศองั กฤษ (England) ผลงาน  1. ต้ังกฎแรงดงึ ดดู ของโลก 2. ต้ังกฎเกย่ี วกบั การเคลือ่ นทข่ี องวตั ถุ 3. ตัง้ ทฤษฎแี คลคลู สั (Calculus) 4. ประดษิ ฐก์ ลอ้ งโทรทรรศน์ชนดิ หักเหแสง 5. คน้ พบสมบัติของแสงทีว่ า่ แสงสีขาวประกอบข้นึ จากแสงสีรงุ้ 5. นโิ คลัส โคเปอร์นคิ สั เกดิ  วนั ที่ 19 กมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ. 1473 ทเี่ มืองตรู ัน (Torun) ประเทสโปแลนด์ (Poland) เสยี ชีวติ  วนั ท่ี 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543 ทเ่ี มืองฟรอนบูรก์ (Frauenburg) ประเทศโปแลนด์ (Poland) ผลงาน  ต้งั ทฤษฎีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ (Copernicus Theory) โดยทฤษฎนี ี้กล่าววา่ ดวงอาทติ ยเ์ ป็นศนู ย์กลางของสรุ ิย จักรวาล โลก ดาวเคราะห์อื่นๆตอ้ งหมนุ รอบดวงอาทิตย์และโลกมี สัณฐานเปน็ ทรงกลม ระบบสรุ ยิ จกั รวาลท่โี คเปอรน์ ิคัสเป็นผูค้ ้นพบ โดยสามารถสรปุ เป็น ทฤษฎีได้ท้ังหมด 3 ขอ้ คอื 1. ดวงอาทิตย์เปน็ ศูนย์กลางของระบบสรุ ิยจักรวาล โลก และดาวเคราะหอ์ น่ื ๆตอ้ งโคจรรอบดวงอาทิตย์ การโคจรของโลก รอบดวงอาทติ ยต์ ้องใชเ้ วลา 1 ปหี รือ 365 วัน ซงึ่ ทำใหเ้ กดิ ฤดูกาลขึ้น 2. โลกมีสณั ฐานกลมไมไ่ ดแ้ บนอย่างที่เขา้ ใจกนั มา โคเปอร์นคิ ัสให้เหตผุ ลในข้อน้วี ่า มนุษยไ์ มส่ ามารถ มองเห็นดาวดวงเดียวกัน ในเวลาเดยี วกันและสถานท่ตี ่างกันได้ อีกทัง้ โลกต้องหมุนอยูต่ ลอดเวลาไม่ไดห้ ยดุ น่ิง โดยโลกใชเ้ วลา 1 วัน หรือ 24 ช่ัวโมง การหมนุ รอบตัวเอง ซึ่งทำให้เกดิ กลางวัน และกลางคืน 3. ดาวเคราะห์ตา่ งๆทโ่ี คจรรอบดวงอาทิตยเ์ ป็นไปในลกั ษณะวงกลม โคเปอร์นคิ สั ได้เขียนรปู ภาพแสดง ลกั ษณะการโคจร ของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ย์ แตท่ ฤษฎีของโคเปอรน์ คิ สั ข้อนผ้ี ิดพลาดเพราะเขากลา่ วว่า \"การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตยเ์ ป็นวงกลม\" ต่อมานกั ดาราศาสตรช์ าวเยอรมัน โจฮันเนส เคพเลอร์ (Johanes Kepler) ไดค้ น้ พบว่า การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทติ ย์นน้ั มีลกั ษณะเป็นวงรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook