Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานประวัติศาสตร์

โครงงานประวัติศาสตร์

Published by Phumichat Palas, 2021-01-31 13:01:36

Description: โครงงานประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

เรื่อง พระมหากษัตรยิ ใ์ นสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ผู้จดั ทา นายทศพร ฉนุ หอม 63202010007 นางสาวบณุ ยานุช ชนุ ฉาย 63202010011 นายภมู ิฉัตร ปาลาศ 63202010017 นางสาวยุพารัตน์ ปิน่ นอ้ ย 63202010021 นางสาวรัตนก์ า ประคองเก็บ 63202010023 เอกสารฉบับนเ้ี ป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรยี นรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี สังกัดสานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา



เร่อื ง พระมหากษตั ริย์ในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา ผจู้ ัดทา นายทศพร ฉนุ หอม 63202010007 นางสาวบณุ ยานุช ชุนฉาย 63202010011 นายภูมฉิ ตั ร ปาลาศ 63202010017 นางสาวยุพารัตน์ ปิน่ นอ้ ย 63202010021 นางสาวรตั นก์ า ประคองเกบ็ 63202010023 เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ สว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาค้นคว้าประกอบการเรียนรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี สงั กดั สานักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ก ชื่อเรอ่ื ง : พระมหากษตั ริยใ์ นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ผูจ้ ัดทา : นายภูมิฉัตร ปาลาศ นายทศพร ฉนุ หอม นางสาวบุณยานชุ ชุยฉาย นางสาวยพุ ารัตน์ ป่ินนอ้ ย นางสาวรัตน์กา ประคองเก็บ ที่ปรึกษา : ครูศริ ิโสภา วิศษิ ฏว์ ัฒนะ ปกี ารศกึ ษา : 2563 บทคัดยอ่ การจดั ทาโครงการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยสมัยกรุงศรีอยธุ ยา เร่อื งพระมหากษัตริย์ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา มจี ุดมุ่งหมายเพ่อื ศกึ ษาประวัติศาสตร์อยธุ ยา เกี่ยวกบั พระมหากษตั ริย์สยามในสมยั อยธุ ยา เกย่ี วกับ เร่ืองต่างๆ เช่น การปกครอง การทหาร การค้า เหตุการณ์หรอื พระราชกรณยี ะกจิ และอนื่ ๆ เพือ่ ใหค้ นรุ่นหลังได้เหน็ ถึง พระปรีชาสามารถของ พระมหากษัตริย์สยามทีส่ ามารถรักษาเอกราช ของ อาณาจกั รอยธุ ยาถงึ 417 ปีอาณาจกั รอยุธยามพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ และทรงมีพระราชอานาจ สูงสดุ ในการปกครองราชอาณาจกั ร ตลอดช่วงสมัยของอาณาจกั รอยธุ ยามีพระมหากษัตริย์ปกครองรวม 34 พระองค์ โดยมสี มเด็จพระรามาธบิ ดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) เปน็ ปฐมกษตั ริย์ถือเปน็ การเร่มิ ตน้ ราชวงศ์อู่ ทองปกครองอาณาจักรอยธุ ยาเมื่อ พ.ศ. 1893 และโปรดให้พระราเมศวรพระราชโอรสครองเมอื งลพบรุ ี ขนุ หลวงพงว่ั (พระงว่ั หรอื พ่องวั่ ) ครองเมอื งสพุ รรณบรุ ี ภายหลงั เมื่อสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ 1 สวรรคต สมเดจ็ พระราเมศวรได้ครองกรงุ ศรีอยุธยาสบื ต่อมา ไม่นาน ได้เกิดการเปลีย่ นแปลงอานาจทางการเมอื ง

ข เม่อื ขนุ หลวงพงัว่ ได้ยกทัพจากเมอื งสพุ รรณบรุ มี าครองกรุงศรีอยุธยาการแย่งชงิ อานาจทางการเมืองทาให้ อาณาจกั รอยุธยามีหลายราชวงศ์ผลัดเปล่ียนกนั ปกครองประกอบด้วย ราชวงศ์อทู่ อง ราชวงศ์สพุ รรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทยั ราชวงศ์ปราสาททอง และราชวงศ์บ้านพลหู ลวง ซึ่งเป็นราชวงศ์สดุ ท้ายก่อนเสยี กรุงศรี อยุธยาใน พ.ศ. 2310 ถอื เป็นการสิ้นสุดสมัยอยุธยา

ค กิตติกรรมประกาศ รายงานเลม่ นม้ี คี วามสมบูรณ์ และสาเร็จลุลว่ งได้ด้วยความกรุณาใหค้ วามชว่ ยเหลือจาก คณุ ครศู ริ โิ สภา วิศิษฏ์วัฒนะ คุณครทู ่ีปรึกษาประจารายวิชาท่ไี ด้ดูแลให้คาปรึกษาแนะนา คอย ตรวจทานในการตรวจแกไ้ ขให้รายงานเล่มน้ีเสร็จเรียบรอ้ ย คณะผูจ้ ัดทาขอกราบขอบพระคุณ เป็นอยา่ งสูงยิง่ ขอขอบคุณเพอ่ื นร่วมชนั้ ทกุ ท่าน และสมาชกิ ในครอบครัวผจู้ ัดทาทุกคนที่ใหก้ าลังใจใน การจัดทารายงานโดยตลอด คณุ ค่าและประโยชน์การทารายงานในคร้งั นค้ี ณะผ้จู ัดทาขอมอบบชู าพระคณุ แดบ่ ุพการี ตลอดจนบูรพาจารย์ทม่ี ี ส่วนสาคัญย่ิง ในการสร้างพ้ืนฐานการศึกษาใหแ้ กค่ ณะผู้จดั ทาจน ประสบผลสาเรจ็ ตามความประสงค์ นายภมู ิฉัตร ปาลาศ นายทศพร ฉนุ หอม นางสาวบุณยานชุ ชยุ ฉาย นางสาวยพุ ารัตน์ ป่นิ น้อย นางสาวรตั นก์ า ประคองเก็บ

สารบัญ ง เรื่อง หน้า บทคดั ย่อ ก กติ ติกรรมประกาศ ค สารบญั ง สารบญั ตาราง จ สารบัญภาพ ช บทที่ 1 บทนา 1 1 1.1 ความเป็นมา 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1-2 1.3 ขอบเขต 2 1.4 ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ 3 บทที่ 2 ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้อง 3 2.1 กษตั ริย์ หรอื พระมหากษตั รยิ ์ 3-4 2.2 พระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ์ 4 2.3 การส้นิ สุดราชวงศ์ 4-5 2.4 เหตขุ ัดแย้งก่อนสิน้ ราชวงศ์

สารบญั (ต่อ) จ เร่ือง หน้า บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินการ 3.1 ข้ันตอนการดาเนินงาน และรายละเอียดกจิ กรรม 7 3.2 วธิ ีการรวบรวมเอกสารและวเิ คราะห์ขอ้ มลู 7-8 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาคน้ คว้า 8 4.1 ราชวงศอ์ าณาจกั รอยุธยา 9 4.2 ลาดับกษัตริย์ในสมยั อยุธยา 9 10-13 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 14 5.1 สรปุ ผล 14 5.2 ปญั หาและอปุ สรรคในการศึกษาค้นคว้า 14 5.3 ขอ้ เสนอแนะแนวทางในการพฒั นา 15 16 บรรณานกุ รม 17-18 ประวตั ิผ้ศู กึ ษา

สารบัญตาราง ฉ ตารางที่ 3-1 ขนั้ ตอนการดาเนินงาน และรายละเอยี ดกจิ กรรม หน้า ตารางท่ี 4-1 ลาดับกษัตรยิ ใ์ นสมยั อยุธยา 7 10-13

ช สารบัญภาพ หน้า 3 ภาพที่ 2-1 พระมหากษัตรยิ ์ 5 ภาพที่ 2-2 การแยง่ ชิงราชสมบตั ิ 8 ภาพท่ี 3-1 รวบรวมข้อมูลผา่ นอปุ กรณ์ส่ือสารอเิ ลคทรอนกิ ส์ 9 ภาพที่ 4-1 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจา้ อู่ทอง) ปฐมกษัตรยิ แ์ ห่งอาณาจักรอยธุ ยา

1 บทท่ี 1 บทนา 1.ความเป็นมา ในประวัตศิ าสตรข์ องชาติไทย อาณาจักรอยุธยาเปน็ อาณาจกั รของชนชาตไิ ทยมกี รุงศรีอยธุ ยาเป็น ศูนย์กลางอานาจหรอื ราชธานี มีพระมหากษัตรยิ ์ครองราชย์ 5 ราชวงศ์ เรมิ่ ต้นจากราชวงศอ์ ่ทู อง มี กษัตริย์ 3 พระองค์ ราชวงศส์ พุ รรณภูมิ มีกษัตรยิ ์ 13 พระองค์ ราชวงศส์ โุ ขทยั มกี ษตั รยิ ์ 7 พระองค์ ราชวงศ์ปราสาททอง มีกษตั รยิ ์ 4 พระองค์ และราชวงศ์บา้ นพลูหลวง มกี ษตั ริย์ 6 พระองค์ รวมมี พระมหากษตั ริย์ทง้ั ส้นิ 33 พระองค์ คณะผูจ้ ดั ทาจึงมีความสนใจทีจ่ ะจดั ทาโครงงานเรอ่ื งพระมหากษตั รยิ ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพื่อศึกษาพระราชประวตั ิ พระปรีชาสามารถ และพระราชกรณียกิจทสี่ าคญั ของ กษตั ริยแ์ ต่ละพระองค์ ท่คี รองราชย์สืบต่อกนั มารวม 417 ปี 2. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือศกึ ษาความเปน็ มาของ กษัตรยิ ์ในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา 2. เพ่อื ใหต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ของประวตั ิศาสตรใ์ นการสบื ค้นความเปน็ มาของ พระมหากษตั ริย์ใน สมัยกรงุ ศรีอยุธยา ใหค้ นรนุ่ หลงั ไดเ้ หน็ ถึงพระปรชี าสามารถของพระมหากษตั ริย์ 3. เพือ่ นาวิธีการทางประวัตศิ าสตร์มาประยกุ ต์ใช้กับโครงงานเร่อื งน้ี 3. ขอบเขต 3.1 สถานท่ี วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี 3.2 ระยะเวลา

2 26 วนั (6 มกราคม 2564 ถึง 31 มกราคม 2564) 3.3 ตัวแปร 3.3.1 ตัวแปรต้น การศึกษาขอ้ มลู เกย่ี วกับพระมหากษัตรยิ ส์ มัยกรงุ ศรีอยธุ ยา 3.3.2 ตวั แปรตาม ทาให้ไดร้ ับขอ้ มูลเก่ียวกับพระมหากษัตริยส์ มยั กรุงศรีอยธุ ยา 3.3.3 ตวั แปรควบคุม คือ การสืบคน้ และการตีความข้อมูล 4.ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ 4.1 มีความรูใ้ นเรื่องพระมหากษตั ริยไ์ ทยสมยั กรุงศรีอยธุ ยา 4.2 มีความตระหนักถึงความสาคัญของประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของ พระมหากษตั รยิ ใ์ นสมัยกรงุ ศรี อยธุ ยาและได้เหน็ ถึงพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตรยิ ์ 4.3 ได้เรียนรู้การนาวิธกี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าประยุกตใ์ ชก้ ับโครงงานเร่ืองน้ี

3 บทท่ี 2 ทฤษฎีที่เกีย่ วข้อง ในการศกึ ษาเรอื่ ง พระมหากษตั รยิ ์ในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา ผ้จู ัดทาไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลกั การ ต่างๆ จากเอกสารทเี่ กีย่ วข้องดังตอ่ ไปนี้ 2.1 กษัตรยิ ์ หรือ พระมหากษัตริย์ (องั กฤษ: Monarch) ภาพที่ 2-1 พระมหากษตั รยิ ์ คือประมขุ แห่งรฐั พระมหากษตั รยิ ์อาจจะใชท้ ั้งพระราชอานาจสูงสดุ หรือผอู้ ่ืนอาจจะใช้พระราช อานาจนน้ั ในฐานะผแู้ ทนของ พระมหากษัตรยิ ์ โดยปกตแิ ล้ว พระมหากษัตริย์เป็นผทู้ ไี่ ด้รับการสืบทอด สทิ ธิ์อนั โดยชอบด้วยกฎหมายโดยสว่ นพระองค์เองเพอ่ื ใช้สทิ ธอิ ธิปไตยของรฐั (มักจะเรยี กกันว่า บังลงั ค์ หรือ มงกฎุ ) หรอื ไดร้ ับเลอื กโดยกระบวนการทถ่ี ูกกาหนดข้ึนจากราชวงศห์ รือกล่มุ บคุ คลทมี่ ีสิทธไิ์ ดร้ ับ เลอื กเพ่อื ให้มาเปน็ พระมหากษตั รยิ ข์ องประเทศน้นั หรอื อีกวธิ หี นง่ึ บคุ คลอาจจะไดเ้ ป็นพระมหากษัตริย์ โดยสทิ ธิใ์ นการพิชิต ได้รับการสนบั สนนุ หรอื รวมวธิ กี ารต่าง ๆ พระมหากษัตริยม์ กั จะครองราชยไ์ ดต้ ลอด พระชนมช์ ีพหรือจนกวา่ จะสละราชสมบตั ิ หากเด็กเลก็ ท่ีไดร้ ับการสวมมงกฎุ เป็นพระมหากษัตรยิ ์ ก็จะมี การแต่งตง้ั ผู้สาเร็จราชการแทนพระองคเ์ พือ่ ใหป้ กครองประเทศแทน จนกวา่ พระมหากษตั ริย์จะเจริญวัย เป็นผใู้ หญท่ ม่ี คี วามจาเป็นในการปกครอง อานาจทแ่ี ท้จริงของพระมหากษัตริยจ์ ะแตกตา่ งกนั ออกไปในแต่ ละระบอบกษัตรยิ แ์ ละในยุคสมัยต่าง ๆ อย่างแบบสุดโต่ง พวกเขาอาจจะมีพระราชอานาจที่เดด็ ขาด (ระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์) ท่ีใชพ้ ระราชอานาจอธิปไตยอยา่ งแท้จรงิ หรือในทางกลับกัน พวกเขา

4 อาจจะเปน็ เพยี งแคป่ ระมขุ แหง่ รฐั ในพิธีซึง่ ใช้พระราชอานาจโดยตรงเพยี งเลก็ น้อย หรอื แทบไม่มีเลย หรอื พระราชอานาจท่ถี กู สงวนไว้ โดยอานาจทแ่ี ท้จริงน้ันได้ตกเปน็ ของรัฐสภาหรอื หนว่ ยงานอนื่ ๆ ภายใต้ 2.2 พระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยสมัยอยธุ ยาเม่ือส้นิ กรงุ สุโขทยั พระเจา้ อทู่ องไดส้ รา้ งกรุงศรีอยธุ ยา ศาสนา พราหมณเ์ ข้ามามีบทบาทอย่างมากโดยอิทธิพลของขอมและละโว้ ซ่งึ ถือว่ากษตั ริยค์ อื พระผูเ้ ป็นเจา้ อวตาร มาเกิด พระเจา้ อ่ทู องก็กลายเป็นสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 รูปแบบของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ส์ มัย อยธุ ยาแตกต่างจากสมัยสโุ ขทยั อย่างมากระบอบการปกครองของอยธุ ยาเปน็ ระบอบการปกครองซงึ่ พระมหากษตั ริยม์ ีอานาจเปน็ ลน้ พน้ สังคมในสมัยอยธุ ยาข้นึ อยู่กบั พระมหากษัตรยิ ์โดยตรง ซึง่ ต่างกบั สมัย สโุ ขทัยท่พี ระมหากษตั ริยท์ รงปกครองราษฎรเย่ยี งบิดาปกครองบุตร แต่ในสมัยอยุธยาเป็นความสัมพันธ์ ระหวา่ งเจา้ กบั ข้าโดยแท้ ตาแหนง่ พระมหากษัตริย์เป็นตาแหน่งทีช่ ว่ งชิงกนั ดว้ ยอานาจทางทหาร แนวความคิดเก่ียวกบั พระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ เทวราชและทรงใช้พระราชอานาจใน ฐานะทท่ี รงเป็นสมมตเิ ทพ กฎเกณฑต์ ลอดจนขนบประเพณตี า่ งๆไดถ้ ูกกาหนดขึ้นเพือ่ รักษาฐานะเทวรา ชของพระมหากษตั รยิ ์ ทาให้พระมหากษตั ริย์ทรงมีพระราชอาจเปน็ ลน้ พ้น สามารถครองราชยใ์ นสถาบัน พระมหากษตั ริยไ์ ดห้ ลายสถาบันพร้อมกนั ได้ ตัวอย่างเช่น พระมหากษัตรยิ ์แหง่ แคนาดาและ พระมหากษตั รยิ ์แห่งสหราชอาณาจกั รซงึ่ เปน็ รัฐทแ่ี ยกจากกัน แต่พวกเขาจะแบง่ ให้มพี ระมหากษตั รยิ ์องค์ เดียวกนั ผ่านทางการเปน็ รัฐร่วมประมขุ 2.3 การส้ินสดุ ราชวงศ์ การชุมนุมต่อต้านอานาจรัฐ ปรากฏในประวตั ศิ าสตรก์ ารเมืองไทยมาตงั้ แตย่ ุคสุโขทัย คอื การระดม ผูค้ นมาชุมนมุ โดยมีวัตถุประสงค์ในการยตุ ิ ลม้ ล้าง เปลี่ยนแปลงอานาจรฐั หรอื เปลยี่ นขว้ั อานาจการ ปกครองจากกลุ่มอานาจเดมิ ไปสูก่ ลมุ่ ผตู้ อ่ ต้านในสมัยโบราณความขัดแยง้ ทางการเมอื งทีน่ าไปสคู่ วามไม่ พอใจในตวั กษัตริย์ มกั เป็นปญั หาความขดั แยง้ ในกล่มุ บุคคลชน้ั ปกครอง กลมุ่ เจา้ นาย หรอื กลุ่มขุนนาง ซึ่ง มักมีความไมล่ งรอยในการจดั สรรทรพั ยากรโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเกณฑ์แรงงานในสังคมยคุ จารตี ท่ีมี ความเกยี่ วข้องกับการบริหารจดั การอานาจรัฐอยา่ งมาก ทง้ั ในเรอ่ื งกาลังพลในการทพั และแรงงานใน ก่อสร้างอาคารสถานสาคัญ สาธารณปู โภคตา่ งๆ ในเมืองกระบวนการชิงอานาจจาเปน็ ต้องผ่านการลม้ อานาจเดิม โดยการระดมผูค้ นซง่ึ ส่วนใหญเ่ ปน็ ประชากรผชู้ ายมาชุมนุมพลกลายเปน็ กองกาลังติดอาวธุ หรอื ทหาร เพอ่ื รบพุ่งกับฝ่ายที่ตนเองต้องการลม้ อานาจ

5 มีหลักฐานลายลักษณอ์ กั ษรปรากฏในศิลาจารกึ ยุคสโุ ขทัย โดยเฉพาะจารกึ วดั ป่ามะม่วง กลา่ วถึง ความ วนุ่ วายจากการชงิ อานาจหลังรัชสมัยพระยาเลอไท พระมหาธรรมราชาลิไทต้องเสดจ็ เข้ามาระงบั การ จลาจลโดยอ้างความชอบธรรมในฐานะพระมหาอปุ ราช จึงทรงระดมไพร่พลจากเมืองศรสี ัชนาลยั เข้ามาตี เมอื งสโุ ขทัยจนทรงไดร้ บั อานาจการปกครอง ภายหลังทรงใช้พทุ ธศาสนาเปน็ เคร่ืองมือสาคญั ในการสรา้ ง สถานะของพระองคใ์ นฐานะกษัตรยิ แ์ บบธรรมราชา 2.4 เหตขุ ดั แยง้ กอ่ นสน้ิ ราชวงศ์ ภาพ 2-2 การแยง่ ชงิ ราชสมบตั ิ ในสมัยอยุธยาท่มี ชี ่วงระยะเวลายาวนานกว่า 4 ศตวรรษ กม็ ีเหตุขดั แยง้ ในชนชั้นปกครองอยา่ งต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากอาณาจกั รอยุธยาเกดิ จากการรวมของนครรฐั เดิม 3 นคร คือ สุพรรณภมู ิ อโยธยา และละโว้ ซ่ึง ผนวกรวมเข้าด้วยกันบนพืน้ ฐานความสมั พนั ธ์ทางเครอื ญาตจิ ากการอภิเษกสมรสขา้ มราชวงศ์ จึงมักเกิด เหตคุ วามขัดแย้งทางการเมอื งโดยเฉพาะช่วงการเปลยี่ นผ่านรชั กาลท่ตี ่างฝ่ายตา่ งอ้างความชอบธรรมใน การเปน็ ผูถ้ อื อานาจการปกครองของรัฐ อาทิ เหตุการณ์เมอ่ื สนิ้ รัชสมัยสมเด็จพระรามาธบิ ดีอูท่ อง มคี วาม ขัดแยง้ ระหว่างสมเด็จพระราเมศวร เจา้ นายฝงั่ อู่ทอง กบั ขนุ หลวงพระงว่ั เจ้านายฝ่ังสพุ รรณภูมหิ รอื เมอื่ ครัง้ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชทรงกระทาการต่อตา้ นสมเด็จพระศรสี ุธรรมราชา ซง่ึ เปน็ พระเจา้ อา พระองค์ตอ้ งทรงระดมพลแมก้ ระท่งั ชาวตา่ งชาติ โดยเฉพาะแขกเปอรเ์ ซยี แขกมวั มาเป็นกาลงั สาคัญ จน ไดร้ บั ชยั ชนะและทรงสามารถขึ้นครองราชยไ์ ดส้ าเรจ็ นอกจากความขัดแย้งระหวา่ งกลุม่ ชนชั้นนา ยงั มี หลักฐานทางประวัตศิ าสตรท์ ีก่ ล่าวถึงกรณีชนชั้นระดับไพร่บา้ นพลเมอื งลกุ ขน้ึ มาต่อต้านอานาจรัฐในสมัย อยุธยา ทเี่ ราเรยี กวา่ เหตุการณ์กบฏตา่ งๆ อาทิ กบฏธรรมเสถียรในสมยั พระเพทราชา ด้วยเกดิ ความไม่

6 พอใจในอานาจรัฐของราชวงศ์บ้านภูหลวง โดยมีนายธรรมเสถียรซง่ึ เป็นชาวบา้ นธรรมดาปลอมตัวเป็นเจา้ ฟ้าอภัยทศ พระญาตขิ องสมเดจ็ พระนารายณ์ เพ่ืออ้างความชอบธรรมในการสืบตอ่ ราชบลั ลงั ก์ มกี าร ระดมพลจากชาวบ้านตามชานเมอื งอยธุ ยาหรือกรณี กบฏผูม้ บี ญุ ต่างๆ ทมี่ กั ใช้เหตกุ ารณ์ทาง พระพุทธศาสนามาอ้างอิงตัวว่าเปน็ ผูน้ าทจี่ ะสน้ิ สุดกลียุคและนาไปสยู่ ุคพระศรอี ารยท์ ีป่ ระเสริฐกว่า เพ่อื สร้างความชอบธรรมในการระดมชาวบ้านตอ่ ตา้ นอานาจรัฐ จึงเห็นได้ว่าการชมุ ชนตอ่ ตา้ นอานาจรัฐในสมยั โบราณแตกต่างจากการชมุ นุมทางการเมืองในปัจจบุ นั ด้วยในทศั นะคนโบราณ กษัตรยิ ค์ อื ผมู้ ีอานาจสูงสดุ ในการปกครองของรฐั แบบสมบรู ณาญาสิทธิราช เม่ือ เกิดความไม่พอใจหรือมีความขัดแยง้ กับองค์อธปิ ัตย์ของรัฐ จึงมกั นาไปส่กู ารตอ่ ส้เู พอื่ เปลยี่ นแปลงตัว ผูป้ กครอง

7 บทท่ี 3 วิธีศกึ ษาคน้ คว้า การศึกษาเร่ือง พระมหากษตั ริยใ์ นสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ผจู้ ัดทาได้มกี ารดาเนนิ การเพ่ือศึกษาข้อมูลเพือ่ ดาเนินการคน้ คว้า มีวิธีการศกึ ษาดังน้ี 3.1 ข้ันตอนการดาเนนิ งาน และรายละเอยี ดกจิ กรรม ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดกจิ กรรม ขน้ั ท่ี 1 การกาหนดเรอื่ งท่จี ะศึกษา 1) สมาชิกแต่ละคนหาหวั ขอ้ ที่ตนเองสนใจมากทีส่ ุด 2) นาหัวข้อแตล่ ะคนมาประชมุ ปรึกษาหารือ เพือ่ เลอื กหวั ข้อท่ี ขั้นที่ 2 การรวบรวมหลักฐาน นา่ สนใจที่สุด 3) เลอื กหวั ขอ้ ทีส่ มาชกิ มีความสงสัยมากที่สดุ เป็นหวั เรือ่ งท่จี ะ ศกึ ษา 4) นาเร่ืองท่ีจะศึกษาเสนอต่อครูที่ปรึกษาโครงงาน 1) ให้สมาชกิ ไปสบื ค้นหาขอ้ มูลให้ไดม้ ากทสี่ ดุ จากแหลง่ ข้อมูล ตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั ประเดน็ ศกึ ษาของกลมุ่ ได้แก่ อนิ เตอร์เนต็ หนังสอื ตา่ งๆ 2) สมาชกิ ร่วมกนั คดั เลือดข้อมูลที่เกี่ยวขอ้ ง และแยกแยะเปน็ หวั ขอ้ เรอ่ื งตา่ ง ๆ รวมทัง้ เรยี งตามลาดับเหตุการณ์ กอ่ น-หลัง เพือ่ ง่ายตอ่ การอา้ งอิง ขั้นท่ี 3 การประเมินคณุ ค่าของ 1) นาข้อมูลท่ีสบื ค้นรวมรวมข้อมูล คดั เลอื กไวแ้ ล้ว นามา หลักฐาน วิเคราะห์ ตรวจสอบ ความน่าเชื่อถอื เพ่อื ให้ได้ขอ้ เท็จจรงิ 2) นาขอ้ มูลท่ีสอดคลอ้ งกนั ไปวิเคราะหต์ อ่ ข้อมูลท่แี ตกต่าง ขน้ั ที่ 4 การตคี วาม สบื คน้ ว่าเป็นเพราะสาเหตุใด สว่ นข้อมลู ที่ไมส่ อดคลอ้ งขัดแยง้ กับ ขอ้ มูลสว่ นใหญจ่ ะไม่นาไปวเิ คราะห์ต่อ 1) สมาชกิ ร่วมกันวเิ คราะห์ข้อมูล พิจารณาวา่ ผแู้ ต่งบทความหรือ หนงั สือแต่ละชนดิ มีเจตนาท่ีแท้จรงิ อย่างไร โดยดจู ากสานวนการ เขียนของผู้เขยี น และลักษณะโดยทัว่ ไป 2) พจิ ารณาเน้ือขอ้ มูล ว่ามแี อบแฝงความหมายที่แท้จรงิ ใดอีก

8 ขนั้ ตอนการดาเนินงาน รายละเอียดกิจกรรม ขั้นท่ี 5 การนาเสนอ 1) เมื่อได้ขอ้ เท็จจรงิ ทผ่ี า่ นการวิเคราะห์ ตีความแล้ว นามา เชือ่ มโยงเขา้ ด้วยกัน 2) เรียบเรยี งขอ้ มูลใหม่โดยใช้ภาษาที่เขา้ ใจง่ายและมีความ ตอ่ เนอ่ื งเป็นเหตุเปน็ ผลกนั 3) เรยี งลาดบั เหตกุ ารณ์ก่อน-หลงั 4) รายงานการศกึ ษาค้นคว้าและนาเสนอ ตารางที่ 3-1 ข้ันตอนการดาเนนิ งานและรายละเอยี ดกิจกรรม 3.2 วิธีการรวบรวมเอกสารและวิเคราะห์ขอ้ มลู รวบรวมข้อมลู ผา่ นอปุ กรณ์สอ่ื สารอเิ ลคทรอนกิ ส์ เช่น ไลน์ เฟส์บคุ๊ ภาพที่ 3-1 รวบรวมข้อมูลผา่ นอุปกรณ์ส่อื สารอเิ ลคทรอนกิ ส์

9 บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า ความสาคญั ของประวัติศาสตรเ์ กยี่ วกับพระมหากษตั ริยใ์ นการสืบค้นความเป็นมาของ พระมหากษตั รยิ ์ ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยา จากการศกึ ษาโดยวิธรี วบรวมขอ้ มูลผลทีไ่ ดม้ ดี ังนี้ ภาพท่ี 4-1 สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจา้ อูท่ อง) ปฐมกษตั ริยแ์ หง่ อาณาจกั รอยุธยา 4.1 ราชวงศอ์ าณาจกั รอยุธยา ราชวงศอ์ ู่ทอง พระมหากษัตรยิ ์ 3 พระองค์ ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิ พระมหากษตั ริย์ 14 4พระองค์ ราชวงศส์ ุโขทยั พระมหากษตั ริย์ 7 พระองค์ ราชวงศป์ ราสาททอง พระมหากษัตริย์ 5 พระองค์ ราชวงศบ์ า้ นพลูหลวง พระมหากษตั ริย์ 6 พระองค์

10 4.2 ลาดับกษตั ริย์ในสมยั อยุธยา กรงุ ศรีอยุธยาเป็นราชธานขี องไทยอยู่นาน 417 ปี มีพระมหากษตั ริย์ปกครองท้ังส้ิน 34 พระองค์ นบั รัชกาลได้ 35 รัชกาล ดังนี้ รชั กาลท่ี พระนาม ปี พ.ศ ที่ เหตุการณ์หรือพระราชกรณยี กจิ ครองราชย์ ท่สี าคัญ 1. สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ 1 1893 – 1912 – สถาปนากรุงศรอี ยุธยาเป็นราช (พระเจ้าอทู่ อง) ธานี – จดั ระเบยี บการปกครองแบบ จตุสดมภ์ 2. สมเดจ็ พระราเมศวร 1912–1913 – 3. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 1 (ครั้งที่ 1) (ขนุ หลวงพระง่ัว) 1913 – 1931 -สุโขทัยยอมอยู่ใต้อานาจอยธุ ยา 4. สมเดจ็ พระเจา้ ทองลนั (หรอื เจา้ ทองจนั ทร)์ 1931 (7 วัน) – 5. สมเดจ็ พระราเมศวร 1931–1938 – ทาสงครามชนะล้านนา (คร้ังท่ี 2) – ตนี ครเมอื งหลวงของ (ขอม) ได้ 6. สมเดจ็ พระรามราชาธริ าช 1938 – 1952 – สโุ ขทัยประกาศอิสรภาพ 7. สมเดจ็ พระอนิ ทราชา 1952 – 1967 – อยธุ ยากลับมีอานาจเหนอื สโุ ขทัย (เจา้ นครอินทร)์ 1967 – 1991 – รบชนะอาณาจักรเขมร 8. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 2 – รวมสุโขทัยเขา้ กับอยธุ ยาเมอ่ื (เจ้าสามพระยา) พ.ศ. 1981 9. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ 1991 – 2031 – ปฏริ ปู การปกครองรวมอานาจเข้า 10. สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี 3 (พระอินทราชาที่ 2) สศู่ ูนยก์ ลางประกาศใชร้ ะบบศักดินา 2031 – 2034 –

11 รัชกาลที่ พระนาม ปี พ.ศ.ท่ี เหตกุ ารณห์ รือพระราชกรณียกิจ 11. 12. สมเด็จพระรามาธิบดที ี่ 2 ครองราชย์ 13. 14. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 4 2034 – 2072 – หลอ่ พระศรีสรรเพชญ์ (หนอ่ พทุ ธางกรู ) 15. พระรัษฎาธริ าช – มีสัมพันธไมตรกี บั โปรตเุ กส 16. 17. สมเด็จพระไชยราชาธิราช 2072 – 2076 – 18. พระยอดฟ้า (พระแก้วฟา้ ) 2076 – 2077 – 19. ขนุ วรวงศาธิราช สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (5 เดอื น) 20. (พระเจ้าชา้ งเผือก) 21. 2077 – 2089 – อยุธยาทาสงครามกับพมา่ เปน็ 22. สมเดจ็ พระมหนิ ทราธิราช คร้ังแรก ล้านนายอมเปน็ ประเทศ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธิราช (พระสรรเพชญ์ท่ี 1) ราชของอยธุ ยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2089 – 2091 – (พระสรรเพชญท์ ่ี 2) สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระ 2091 (42 วัน) – สรรเพชญที่ 3) พระศรีเสาวภาคย์ (พระสรรเพชญท์ ี่ 2091 – 2111 -ไทยเสยี สมเด็จพระสรุ ิโยทัยในการ 4) รบกับพม่า พ.ศ. 2091 ไทยแพพ้ ม่า ในสงครามชา้ งเผอื ก พ.ศ. 2106 2111 – 2112 – เสียกรงุ อยธุ ยา ครั้งท่ี 1 แก่พม่า เม่อื พ.ศ. 2112 2112 – 2133 – อยธุ ยาเป็นประเทศราชของพมา่ 15 ปี เขมรโจมตีไทยหลายคร้งั – พระนเรศวรทรงประกาศ อสิ รภาพจากพมา่ เมื่อ พ.ศ. 2127 2133 – 2148 – ไทยชนะพมา่ ในสงครามยุทธหัตถี พ.ศ. 2135 ออกไปกวา้ งขวาง 2148 – 2153 – ส่งทตู ไปฮอลันดา นับเปน็ ทูตไทย คณะแรกทไี่ ปยโุ รป 2153-2154 – (1ป2ี เดือน)

12 รัชกาลท่ี พระนาม ปี พ.ศ. ที่ เหตกุ ารณ์หรอื พระราชกรณยี กิจ ครองราชย์ 23. สมเด็จพระเจา้ ทรงธรรม (พระ 2154 – 2171 – พบรอยพระพทุ ธบาทสระบรุ ี 24. สมเด็จพระเชษฐาธิราช 2171 – 2172 – (8 เดอื น) 25. พระอาทิตย์วงศ์ 2172 (38 วนั ) – 26. สมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง 2172 – 2199 – ได้เขมรเปน็ เมอื งประเทศราช (พระสรรเพชญท์ ี่ 5) 27. สมเด็จเจ้าฟ้าไชย 2199 (5เดือน) – (พระสรรเพชญ์ ท่ี 6) 2199 – 28. สมเด็จพระศรสี ุธรรมราชา (2 เดือน) (พระสรรเพชญ์ที่ 7) 2199 – 2231 – สง่ ออกพระวสิ ุทธสนุ ธร (โกษา ปาน) เปน็ ทตู ไปฝรงั่ เศส –รับ 29. สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช วิทยาการจากชาติ ตะวันตกเข้ามา เป็นยุคทองของวรรณคดี 30. สมเด็จพระเพทราชา 2231 – 2246 – ความสมั พนั ธก์ บั ฝรัง่ เศสสน้ิ สดุ ลง 31. สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ท่ี 8 – การค้ากบั ตา่ งประเทศลดลง (พระเจ้าเสอื ) – เกิดกบฏในเมืองตา่ งๆ 4 ครง้ั 32. สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ที่ 9 2246 – 2251 – เรอื่ งราวของพนั ท้ายสรสิงห์ (พระเจา้ ท้ายสระ) 2251 – 2275 – ขดุ คลองมหาไชยเชื่อมแมน่ า้ แม่ 33. สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ กลองกับแม่นา้ ทา่ จนี 2275 – 2301 – ส่งสมณทูตไปฟ้นื ฟพู ุทธศาสนาใน ลังกา -มีความรงุ่ เรอื งด้านวรรณกรรม กวี สาคญั ไดแ้ ก่ เจ้าฟ้าธรรมาธเิ บศร

13 รชั กาลท่ี พระนาม ปี พ.ศ ที่ เหตกุ ารณแ์ ละพระราชกรณียกจิ 34. สมเดจ็ พระเจา้ อุทุมพร ครองราชย์ (ขนุ หลวงหาวัด) 2301 – 35. สมเด็จพระทีน่ ัง่ สุริยาศน์อมรนิ ทร์ (พระเจา้ เอกทัศ) (1 เดือน) 2301 – 2310 – เสยี กรุงศรีอยธุ ยาครง้ั ท่ี 2 แกพ่ มา่ เมอ่ื พ.ศ. 2310 เป็นอันส้ินสุดสมัย อยุธยา ตารางที่ 4-1 ลาดับพระมหากษตั ริย์

14 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการทดลอง จากการจดั ทาโครงงานเพอื่ ศกึ ษาเก่ียวกบั ประวัตคิ วามเปน็ มา ศึกษาเก่ยี วกบั พระมหากษัตรยิ ์สมัยกรุง ศรีอยธุ ยา ด้วยวธิ ีการสืบค้นหาบทความ รายงานวิชาการทางประวตั ิศาสตรจ์ ากอนิ เตอร์เน็ต และหนงั สอื ท่เี กีย่ วขอ้ ง นามารวมรวม ตีความ และวเิ คราะห์ข้อมลู ปรากฏผลการศึกษาทีส่ ามารถสรุปไดด้ งั นี้ พระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมขุ ปกครองประเทศ อนั เกดิ จากแนวความคิดท่ีวา่ แต่เดิมมนุษย์ยังมี น้อยดารงชีพแบบเรยี บง่ายอยู่กับธรรมชาติ และเมื่อมนษุ ย์ขยายพันธมุ์ ากขึน้ ธรรมชาติตา่ งๆ เริ่มหมดไป เกดิ การแก่งแยง่ กันทามาหากิน เกดิ ปญั หาสงั คมขึน้ จงึ ตอ้ งหาทางแก้ไขคนในสงั คม จึงคิดวา่ ตอ้ งพิจารณา เลอื กใหบ้ ุคคลที่เหมาะสมมสี ตปิ ัญญา และมีความเฉลียวฉลาดจะได้รับการแตง่ ตัง้ ใหเ้ ป็นผู้พจิ ารณาตัดสิน เมอ่ื เกดิ กรณีปญั หาตา่ งๆ ผูเ้ ปน็ ทพ่ี อใจประชาชนยินดีต่อมาเลยเรยี กวา่ พระราชา พระมหากษัตริย์สมยั อยธุ ยาทุกพระองค์ลว้ นแตเ่ ป็นผมู้ พี ระปรชี าสามารถมากตามความถนดั ของแต่ละพระองค์ อกี ท้ังยังทรง เสยี สละเวลาสว่ นพระองค์พระวรกายเพอ่ื ประชาชนทรงมหี ลกั ธรรมเปน็ ผ้ทู ย่ี ดึ ครองหวงแหน และขยาย ผนื แผ่นดนิ ไว้ใหแ้ ก่เหล่า ประชาชนหรืออาณาประชาราษฎร์ได้อยอู่ ย่างร่วมเยน็ เปน็ สุขพระมหากษตั ริย์ทุก พระองคท์ รงเสยี สละเลือดเนื้อและชวี ติ กอบกู้เอกราชบา้ นเมืองไวใ้ ห้ชนรนุ่ หลงั ประเทศไทยของเรานี้เรามี พระมหากษัตรยิ ์ทรงยึดถือครอบครองผืนแผ่นดินไทยไว้เพอื่ ให้เราคนไทยทุกคนจึงมผี ืนแผ่นดินไทยอยู่ ตราบจนทุกวันน้ี 5.2 ปญั หาและอปุ สรรคในการศึกษาคน้ คว้า การศกึ ษาโครงงานนี้ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ มีผลปรากฏเหน็ ได้อยา่ งเด่นชัด วา่ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ เปน็ ท่ีรกั ของปวงชนชาวไทย แม้จากอดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน “พระมหากษัตริยข์ องไทย” อาจมีคาเรียกขานที่ แตกต่างกนั ตามประเพณีนิยม หรอื ธรรมเนียมทเี่ คยปฏบิ ตั ิสบื ต่อกนั มา เช่นเรียกว่า พระราชา เจ้ามหา ชีวิต เจ้าฟ้า เจา้ แผ่นดิน พอ่ เมือง พระเจ้าแผน่ ดนิ พระเจา้ อย่หู ัว หรือในหลวง ฯลฯ แต่ท่ีสอดคล้องกบั ทฤษฎที กุ ยคุ ทกุ สมัย คือ พระมหากษตั ริย์ทุกพระองค์ ทรงอยใู่ นใจของชาวไทยทุกคนตลอดกาล

15 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา ขอ้ เสนอแนะ 1. อุปกรณแ์ ละเทคโนโลยีทนี่ ามาใช้ในการสบื ค้นข้อมูลไม่เพียงพอ เนื่องจากมีปัญหาด้าน งบประมาณ 2. ปัญหาเกี่ยวกบั การค้นคว้าข้อมลู จากแหล่งต่างๆ นอกสถานทไ่ี มส่ ามารถทาไดเ้ นือ่ งจากอยู่ ในช่วงสถานการณ์โรคระบาด และการรวมรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์ข้อมูล รว่ มกนั ของคณะผจู้ ัดทา ทาได้ ไม่สะดวก แนวทางในการพัฒนา การศึกษาขอ้ มูลจะมผี ลงานท่ีดียง่ิ ขน้ึ หากมีอปุ กรณใ์ นการคน้ คว้าเพยี งพอ และแนวทางในการ พัฒนา หากมแี หล่งข้อมลู หลากหลาย จะทาให้การสบื คน้ ข้อมลู ได้มากยงิ่ ขน้ึ การมีขอ้ มูลไม่เพยี งพอสง่ ผล กระทบ มีเพยี งข้อมูลดา้ นพระราชกรณียกิจของพระมหากษตั ริย์ เพยี งดา้ นเดียว ข้อมูลสว่ นของสังคม ความเปน็ อยู่ของชาชนมกั ไม่คอ่ ยมีการนาเสนอ ทาใหม้ กี ารวเิ คราะห์ขอ้ มูลไมค่ รอบคลมุ ทกุ ดา้ น

16 บรรณานกุ รม เวบ็ ไซด์ 1. http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/hist/84.htm 2. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title 3. http://www.thaistudies.chula.ac.th 4. https://th.wikipedia.org/wiki

17 ประวัตผิ ู้จัดทา เรอื่ ง พระมหากษตั ริย์ในสมยั กรุงศรีอยุธยา 1. นายทศพร ฉุนหอม ประวัตสิ ่วนตวั วันที่ 4 เดอื น มกราคม ปี พ.ศ. 2544 อายุ 20 ปี ท่ีอยู่ 210 หมู่ 13 ตาบลหัวสาโรง อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบรุ ี ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ. ชั้น ป.6 ร.ร. ปี พ.ศ. ชั้น ม.3 ร.ร. ปี พ.ศ. 2563 ชน้ั ปวช.1/1 เลขท่ี 7 2. นางสาวบณุ ยานชุ ชนุ ฉาย ประวตั ิส่วนตวั วันท่ี 25 เดอื น พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2547 อายุ 16 ปี ที่อยู่ 41 หมู่ 3 ตาบลโก่งธนู อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลพบุรี ประวตั กิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ. 2559 ช้นั ป.6 ร.ร. กองทพั บกอุปถัมภ์ค่ายนารายณศ์ ึกษา ปี พ.ศ. 2562 ชั้น ม.3 ร.ร. กองทัพบกอปุ ถัมภ์ค่ายนารายณ์ศึกษา ปี พ.ศ. 2563 ชั้น ปวช.1/1 เลขท่ี 11 3. นายภมู ิฉัตร ปาลาศ ประวตั ิส่วนตัว วนั ท่ี 29 เดือน สิงหาคม ปี พ.ศ. 2547 อายุ 16 ปี ทอ่ี ยู่ 117 หมู่ 7 ตาบลโพธิ์เก้าต้น อาเภอเมือง จังหวัดลพบรุ ี ประวัติการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2559 ช้ัน ป.6 ร.ร. อสั สมั ชัญคอนแวนลพบรุ ี

18 ปี พ.ศ. 2562 ชน้ั ม.3 ร.ร. สาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรลี พบุรี ปี พ.ศ. 2563 ชั้น ปวช.1/1 เลขท่ี 17 4. นางสาวยพุ ารตั น์ ปน่ิ น้อย ประวัติส่วนตัว วนั ท่ี 11 เดือน สิงหาคม ปี พ.ศ. 2547 อายุ 16 ปี ทอ่ี ยู่ 49 หมู่ 3 ตาบลถลุงเหลก็ อาเภอโคกสาโรง จังหวดั ลพบุรี ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ชั้น ป.6 ร.ร. บ้านถลุงเหลก็ ปี พ.ศ. 2562 ชน้ั ม.3 ร.ร. บ้านถลุงเหลก็ ปี พ.ศ. 2563 ชน้ั ปวช.1/1 เลขที่ 21 5. นางสาวรัตน์กา ประคองเก็บ ประวัตสิ ่วนตัว วันที่ 19 เดือน พฤศจกิ ายน ปี พ.ศ. 2546 อายุ 17 ปี ทอ่ี ยู่ 66/1 ม.4 ตาบลทะเลชบุ ศร อาเภอเมอื ง จงั หวัดลพบุรี ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ชน้ั ป.6 ร.ร. อนุบาลจงั หวัดทหารบกลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2562 ชน้ั ม.3 ร.ร. อนบุ าลจังหวัดทหารบกลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2563 ชน้ั ปวช.1/1 เลขท่ี 23

19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook