Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มสมบูรณ์รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจำปี 2564

เล่มสมบูรณ์รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจำปี 2564

Description: เล่มสมบูรณ์รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจำปี 2564

Search

Read the Text Version

ก รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวดั ในเขตพน้ื ที่รับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

ก คำนำ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ไดม้ อบหมายให้สำนักงานส่งเสริมและ สนบั สนุนวิชาการ 6 (สสว.6) ทำหน้าที่เชอื่ มโยงประสานนโยบายระหว่างหน่วยงานส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค ในเขตพน้ื ที่รับผิดชอบ การแปลงนโยบาย ข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ และแผนตา่ งๆ ของกระทรวงฯ ให้เกิด การบรู ณาการการปฏิบัติงานของหน่วยงานสงั กัดกระทรวงฯ ในสว่ นภูมิภาค ให้เหมาะสมกับบริบทพื้นท่ี ทั้งน้ี เพ่อื ให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 จึงจัดทำรายงาน สถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ในเขตพื้นท่ีรับผดิ ชอบครอบคลุม 7 จังหวัด ไดแ้ ก่ บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี โดยเปน็ การรวบรวมข้อมูลทตุ ิยภมู ิจากแหล่งขอ้ มูล หน่วยงาน ท่เี ก่ยี วขอ้ ง อาทิ กรมการปกครอง สำนกั งานสถติ แิ ห่งชาติ สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคม แห่งชาติ กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงแรงงาน เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำรายงาน สถานการณ์ทางสังคมที่เกิดข้นึ ในพืน้ ท่ีกลุ่มจังหวัด การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ พร้อมขอ้ เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสังคมในพื้นท่ีกลุ่มจงั หวดั ในเขตพืน้ ทร่ี ับผดิ ชอบขอ งสำนักงาน ส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 ซง่ึ รายงานประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทนำ สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ในพน้ื ที่รบั ผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ6 สว่ นที่ 3 สถานการณ์ทางสังคมกลุ่มเป้าหมาย ในระดับกล่มุ จังหวดั ส่วนท่ี 4 สถานการณ์ความม่นั คงของมนุษย์ 12 มิติ ระดบั กลุม่ จงั หวัด ส่วนท่ี 5 การวิเคราะห์ และจัดลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จังหวัด ส่วนท่ี 6 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 ขอขอบคุณข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและ หวงั เป็นอย่างย่ิงว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับหน่วยงานและภาคีเครือข่ายในการนำข้อมูลไปใช้ ในการวางแผนงานปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาทางสงั คมใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทพื้นที่ตอ่ ไป สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6 สิงหาคม 2564 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จงั หวดั ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

สารบญั ข คำนำ หน้า สารบัญ สารบญั ตาราง ก สารบญั ภาพ ข บทสรุปผู้บริหาร ง สว่ นที่ 1 บทนำ ฉ ช 1.1 หลกั การและเหตผุ ล 1 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 2 1.3 วิธีดำเนินงาน 2 1.4 ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 2 สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานในพ้ืนที่รบั ผิดชอบของสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 3 3 2.1 ท่ตี ง้ั และอาณาเขต 5 2.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 6 2.3 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ 8 2.4 ขอ้ มูลการปกครอง 8 2.5 ข้อมลู ประชากร 10 2.6 ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมและชาตพิ ันธุ์ 14 2.7 ด้านสาธารณสุข 18 2.8 ดา้ นการศึกษา 21 2.9 ด้านแรงงาน 23 2.10 ด้านทอี่ ยู่อาศยั 24 2.11 ดา้ นเศรษฐกิจ 29 2.12 ข้อมูลภาคีเครือขา่ ย 30 ส่วนที่ 3 สถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มเปา้ หมายทางสงั คมในระดับกลุ่มจังหวดั 30 3.1 กลุ่มเด็ก 31 3.2 กลุ่มเยาวชน 31 3.3 กลุม่ สตรี 32 3.4 กลุม่ ครอบครัว 33 3.5 กลุ่มผู้สูงอายุ 34 3.6 กลุ่มผู้พิการ 36 3.7 กลุ่มผดู้ อ้ ยโอกาส รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนทีร่ ับผิดชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

สารบัญต่อ ค สว่ นที่ 4 สถานการณ์ความมัน่ คงของมนุษย์ 12 มติ ิ ระดับกลุ่มจังหวัด หน้า 4.1 สถานการณค์ วามม่นั คงของมนษุ ยม์ ติ ทิ ่อี ยอู่ าศยั 37 4.2 สถานการณ์ความมน่ั คงของมนุษยม์ ิติสุขภาพ 37 4.3 สถานการณค์ วามมน่ั คงของมนษุ ยม์ ิติอาหาร 38 4.4 สถานการณ์ความม่ันคงของมนษุ ยม์ ิตกิ ารศกึ ษา 39 4.5 สถานการณค์ วามมน่ั คงของมนษุ ยม์ ติ กิ ารมีงานทำและรายได้ 40 4.6 สถานการณ์ความม่นั คงของมนุษยม์ ติ ิครอบครัว 41 4.7 สถานการณค์ วามมั่นคงของมนษุ ย์มติ ชิ ุมชนและการสนับสนนุ ทางสังคม 42 4.8 สถานการณ์ความม่นั คงของมนุษย์มติ ศิ าสนาและวัฒนธรรม 43 4.9 สถานการณ์ความมั่นคงของมนษุ ย์มิติความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สิน 44 4.10 สถานการณค์ วามม่นั คงของมนษุ ยม์ ติ ิสทิ ธแิ ละความเป็นธรรม 45 4.11 สถานการณ์ความม่นั คงของมนุษยม์ ติ ิการเมอื ง 46 4.12 สถานการณค์ วามมน่ั คงของมนษุ ย์มติ ิสิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากร/พลงั งาน 47 48 ส่วนที่ 5 การวิเคราะห์และจัดลำดับความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั 49 5.1 การจัดลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมตามกลมุ่ เป้าหมาย 49 5.2 สถานการณ์เชงิ ประเดน็ สำคัญของกลมุ่ จังหวดั ในเขตพืน้ ทีส่ สว.6 53 59 ส่วนท่ี 6 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ 59 6.1 บทสรุป 64 6.2 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 65 6.3 ขอ้ เสนอแนะเชงิ ปฏบิ ตั ิระดับกลุ่มจังหวัด 67 ภาคผนวก -เอกสารอ้างอิง รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้นื ทร่ี ับผิดชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

ง สารบญั ตาราง ตารางท่ี แสดงท่ตี ง้ั และอาณาเขตพ้ืนทกี่ ลมุ่ จงั หวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว 6 หน้า 1 แสดงจำนวนเขตการปกครองพน้ื ทกี่ ลุม่ จงั หวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.6 3 2 แสดงจำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำแนกตามเพศ และจังหวัด 8 3 แสดงจำนวนหน่วยบรกิ ารสาธารณสุข ภาครฐั และภาคเอกชน จำแนกตามจงั หวัด 8 4 ในเขตพ้ืนทร่ี บั ผดิ ชอบของ สสว.6 14 แสดงจำนวนประชากรตอ่ แพทยร์ ายจังหวดั 5 แสดงสาเหตกุ ารตาย 5 อนั ดบั แรกจากโรคตา่ งๆ จังหวัดในเขตพื้นท่รี บั ผิดชอบของ สสว.6 15 6 จำนวนนักเรียนนักศกึ ษาในระบบ จำแนกตามระดับชั้น ปี พ.ศ.2563 16 7 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสงั กดั รายจังหวดั ปีการศึกษา 2561 18 8 คะแนนเฉล่ียการทดสอบ O-Net ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2561 – 2563 19 9 คา่ เฉล่ียเชาวนป์ ญั ญา (IQ) ของเดก็ นกั เรยี นไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 (คะแนน) ปี พ.ศ. 2562 19 10 ภาวการณม์ งี านทำของประชากรในกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผดิ ชอบของ สสว.6 20 11 ไตรมาส 4 (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๓) 21 จำนวนคนต่างด้าวทไี่ ด้รับอนญุ าตทำงานคงเหลอื พ.ศ.2559-2563 ของกลมุ่ จงั หวดั 12 ในเขตพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบ สสว.6 22 แสดงจำนวนชมุ ชนผ้มู รี ายได้นอ้ ยของกล่มุ จังหวัด พ.ศ 2562 13 แสดงการขยายตวั ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในเขตพ้นื ที่รับผดิ ชอบสสว.6 23 14 ปพี .ศ.2560-2562 24 แสดงผลิตภณั ฑจ์ ังหวัดตอ่ หัว (GPP per capita) ปี 2562 15 แสดงรายไดโ้ ดยเฉลีย่ ต่อเดือนตอ่ ครัวเรอื นของกล่มุ จังหวัด พ.ศ.2558-2562 25 16 แสดงหนสี้ นิ เฉล่ียตอ่ ครัวเรอื น จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการก้ยู มื พ.ศ. 2558-2562 25 17 แสดงจำนวนองค์กรภาคเี ครือข่าย 26 18 แสดงสถานการณเ์ ด็ก จำแนกตามจงั หวดั ปี 2564 29 19 แสดงสถานการณเ์ ยาวชน จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 30 20 แสดงสถานการณ์กลุ่มสตรี จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 31 21 แสดงสถานการณก์ ลุม่ ครอบครัวจำแนกตามจังหวดั ปี 2564 31 22 แสดงสถานการณผ์ ู้สงู อายุ จำแนกตามจงั หวัด ปี 2564 32 23 แสดงสถานการณ์คนพิการ จำแนกตามจงั หวดั ปี 2564 33 24 34 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพน้ื ท่รี ับผิดชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

จ สารบัญตารางตอ่ ตาราง หนา้ ที่ 25 แสดงสาเหตุความพิการ จำแนกตามจงั หวัด ปี 2564 35 26 แสดงสถานการณผ์ ้ดู อ้ ยโอกาส จำแนกตามจังหวัด ปี 2564 36 27 แสดงขอ้ มูลสถานการณค์ วามมัน่ คงของมนุษย์ มติ ิทีอ่ ย่อู าศัย จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562 37 28 แสดงข้อมลู สถานการณค์ วามมน่ั คงของมนษุ ย์ มติ ิสขุ ภาพ จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562 38 29 แสดงข้อมลู สถานการณ์ความมน่ั คงของมนุษย์ มติ อิ าหาร จำแนกรายจังหวดั ปี 2562 39 30 แสดงขอ้ มูลสถานการณค์ วามม่ันคงของมนุษย์ มติ ิการศึกษา จำแนกรายจงั หวดั ปี 2562 40 31 แสดงขอ้ มูลสถานการณ์ความมัน่ คงของมนษุ ย์ มติ ิการมงี านทำและรายได้ รายจังหวัด ปี 2562 41 32 แสดงข้อมลู สถานการณค์ วามมน่ั คงของมนุษย์ มิติครอบครวั จำแนกรายจงั หวดั ปี 2564 42 33 แสดงขอ้ มลู สถานการณ์ความมน่ั คงของมนษุ ย์ มติ ชิ มุ ชนและการสนับสนนุ ทางสงั คม จำแนกรายจังหวดั 43 ปี 2562 34 แสดงข้อมูลสถานการณค์ วามมน่ั คงของมนษุ ย์ มิตศิ าสนาและวัฒนธรรม รายจังหวัด ปี 2562 44 35 แสดงข้อมูลสถานการณค์ วามมั่นคงของมนุษย์ มิติความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สิน รายจังหวดั ปี 2562 45 36 แสดงข้อมูลสถานการณ์ความม่นั คงของมนษุ ย์ สทิ ธแิ ละความเปน็ ธรรม รายจังหวัด ปี 2562 46 37 แสดงข้อมูลสถานการณค์ วามมน่ั คงของมนษุ ย์ มิตกิ ารเมอื ง จำแนกรายจังหวัด ปี 2564 47 38 แสดงข้อมูลสถานการณค์ วามมนั่ คงของมนุษย์ มติ สิ ง่ิ แวดล้อม ทรพั ยากร/พลังงาน รายจงั หวัด ปี 2562 48 39 แสดงผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด กลุ่มเดก็ ปี 2564 49 40 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จังหวัดกลุม่ เยาวชนปี 2564 50 41 แสดงผลการจัดลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด กลุ่มสตรี ปี 2564 50 42 แสดงผลการจดั ลำดับความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั กลมุ่ ครอบครัวปี 2564 51 43 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดกลุ่มผ้สู ูงอายปุ ี 2564 51 44 แสดงผลการจัดลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัด กลุ่มคนพกิ าร ปี 2564 52 45 แสดงผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จังหวัด กลมุ่ ผ้ดู อ้ ยโอกาส ปี 2564 52 46 แสดงสถานการณ์ค้ามนษุ ยร์ ายจังหวัดของกลมุ่ จังหวดั ในเขตพ้นื ทร่ี บั ผิดชอบ สสว.6 ประจำปี 2564 53 47 แสดงจำนวนคดีคา้ มนุษย์ พ.ศ.2560-2564 รายจังหวดั ของกลมุ่ จังหวดั ในเขตพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบของ สสว.6 54 48 แสดงจำนวนเหตกุ ารณค์ วามรุนแรงในครอบครัวจำแนกตามสาเหต/ุ ปจั จยั ของจงั หวดั ในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบของ สสว.6 ประจำปี 2564 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้นื ที่รับผิดชอบสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

สารบัญแผนภาพ ฉ แผนภาพ หน้า ที่ 1 แสดงความหนาแน่นของประชากร 7 จงั หวดั ในเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของ สสว.6 3 2 แสดงพื้นที่ 7 จังหวัดในเขตพ้ืนทร่ี บั ผิดชอบของ สสว. 6 7 3 แสดงจำนวนประชากรในเขตพนื้ ทีร่ ับผดิ ชอบของ สสว.6 9 4 แสดงจำนวนหน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ ในเขตพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบของ สสว.6 14 5 แสดงจำนวนประชากรตอ่ แพทยร์ ายจังหวัด ในเขตพ้ืนทีร่ บั ผดิ ชอบของ สสว.6 14 6 แสดงสาเหตกุ ารตาย 5 อันดับแรก จากโรคตา่ งๆ ในพน้ื ทก่ี ล่มุ จงั หวัด 17 7 แผนภาพที่ 7 แสดงจำนวนนักเรยี น นักศกึ ษา จำแนกตามระดบั ช้นั ปีการศกึ ษา 2563 18 ในเขตพ้ืนที่รับผดิ ชอบของ สสว.6 8 กราฟแสดงจำนวนคนตา่ งด้าวทีไ่ ดร้ ับอนุญาตทำงานคงเหลือ พ.ศ.2559-2563 22 9 แสดงการขยายตัวของผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ปี 2560-2562 24 10 แสดงรายไดโ้ ดยเฉลี่ยตอ่ เดือนตอ่ ครัวเรือนของกลมุ่ จังหวดั พ.ศ.2558-2562 26 11 แสดงหนส้ี ินเฉลี่ยต่อครวั เรอื น จำแนกตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการกู้ยมื พ.ศ. 2562 28 12 แผนภาพท่ี 12 แสดงจำนวนคดีคา้ มนษุ ย์ พ.ศ.2560-2564 รายจังหวัด ของกล่มุ จังหวดั 54 ในเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบของ สสว.6 13 แสดงจำนวนสาเหตุ/ปัจจยั ความรนุ แรงของ 7 จังหวัดในเขตพ้ืนท่รี บั ผิดชอบของ สสว.6 56 14 แสดงสถานการณโ์ ควิด-19 ของการระบาดวนั ท่ี 1 เมษายน 2564 -30 สงิ หาคม 2564 57 15 แสดงสถิตกิ ารให้บรกิ ารศนู ยช์ ่วยเหลอื สังคม 1300 58 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จงั หวัดในเขตพ้ืนทรี่ ับผิดชอบสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

ช บทสรปุ ผ้บู ริหาร รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ในเขตพ้ืนที่รับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน วิชาการ 6 จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมที่สำคัญ โดยการรวบรวมข้อมูลทุตยิ ภูมิจาก แหล่งข้อมูลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมการปกครอง สำนักงานสถิติแหง่ ชาติ สำนัก งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ สสว.6 (จงั หวดั บงึ กาฬ จังหวัดนครพนม จังหวดั มกุ ดาหาร จังหวดั สกลนคร จังหวัดกาฬสินธ์ุ จังหวดั อำนาจเจริญ และจงั หวดั อบุ ลราชธานี) เพอ่ื วเิ คราะห์สถานการณ์ทางสังคมท่เี กิดข้นึ ในพ้ืนท่กี ล่มุ จังหวดั โดยการใช้ข้อมูลสถิติ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ซึง่ รายงานฉบับน้ี ประกอบดว้ ย 6 สว่ น คือ สว่ นที่ 1 บทนำ ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพนื้ ฐานกลมุ่ จังหวัด สว่ นท่ี 3 ข้อมลู สถานการณ์ทางสังคมกลุม่ เป้าหมายทางสังคมในระดับกลุ่มจงั หวัด ส่วนที่ 4 สถานการณ์ความม่ันค งของ มนุษย์ 12 มิติ ของกลมุ่ จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ สสว. 6 ส่วนที่ 5 การจัดและจัดลำดับค วามรุนแรงขอ ง สถานการณท์ างสังคมของกลุ่มจังหวดั ในเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบ สสว.6 ส่วนท่ี 6 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะโดยมีเน้ือหา สรปุ ได้ดงั นี้ 1.ข้อมลู ทว่ั ไป กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 ประกอบด้วย 7 จงั หวดั ได้แก่ จงั หวัดบึงกาฬ จังหวดั นครพนม จงั หวัดสกลนคร จงั หวดั มกุ ดาหาร จังหวดั กาฬสินธ์ุ จังหวัด อำนาจเจริญ และจงั หวดั อบุ ลราชธานี มีพนื้ ทรี่ วมทง้ั สนิ้ 49662.51 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 28,635,748 ไร่ แบง่ เขต การปกครองออกเปน็ 95 อำเภอ 739 ตำบล 8,759 หมบู่ า้ น องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน จำนวน 832 แหง่ ได้แก่ องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั 7 แหง่ เทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมอื ง 10 แหง่ เทศบาลตำบล 278 แห่ง และ องค์การบรหิ ารส่วนตำบล 535 แห่ง ความหนาแนน่ ของประชากร พบว่า จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ มีความหนาแน่น ของประชากร มากท่ีสดุ 141 คน/ตร.กม. รองลงมา คอื จงั หวดั นครพนม 130 คน/ตร.กม. 2.สถานการณท์ วั่ ไปทส่ี ำคัญ ดา้ นสาธารณสขุ แพทย์ในเขตพนื้ ที่รบั ผิดชอบของ สสว.6 มีจำนวน 9,347 คนคิดเปน็ สดั ส่วนจำนวน ประชากร 627 คน ต่อแพทย์ 1 คน ทัง้ น้ี องค์การอนามยั โลก (WHO) แนะนำวา่ ประชากร 1,000 คน ข้ึนไป ควรมีแพทย์และพยาบาลผดงุ ครรภร์ วมกนั ประมาณ 4.5 คน จึงเป็นระดับทีเ่ หมาะสม และสาเหตุการตาย จากโรคต่างๆ ของจงั หวัดในเขตพื้นท่ีรับผดิ ชอบของ สสว.๖ พบวา่ สาเหตกุ ารตายอันดบั 1 ในแต่ละจังหวัด มคี วามแตกตา่ งกนั กลา่ วคอื จงั หวัดนครพนม โรคหวั ใจล้มเหลว ไมร่ ะบุรายละเอียดป็นสาเหตุการตายอนั ดับ 1 มจี ำนวน 11,327 คน จงั หวดั สกลนคร โรคเส่อื มอืน่ ๆ ของระบบประสาท ไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด เป็นสาเหตกุ ารตาย อันดบั 1 มีจำนวน 491 คน จังหวดั กาฬสินธุ์ โรควยั ชรา เป็นสาเหตุการตายอันดบั 1 มจี ำนวน 426 คน จังหวัดบงึ กาฬ โรคปอดบวม เป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 มีจำนวน 417 คน และ จังหวัดกาฬสินธุ์ โรควัยชรา เปน็ สาเหตุการตายอันดับ 1 มีจำนวน 413 คน ตามลำดบั ด้านการศึกษา ค่าเฉลีย่ เชาวป์ ัญญา (IQ) ของเดก็ นักเรยี นไทยช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 (คะแนน) ปี 2562 ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.6 พบว่า ค่าเฉลี่ยเชาว์ปัญญา (IQ) ส่วนใหญม่ ีค่าเฉล่ียต่ำกว่าระดับประเทศ ( 98.23 ) มี 6 จงั หวดั มคี า่ เฉลีย่ อยู่ในเกณฑ์ปกติคอื IQ ชว่ ง 90-109 ไดแ้ ก่ จงั หวัดนครพนม 96.37 จังหวัด สกลนคร 93.75 จงั หวดั มุกดาหาร 91.26 จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ 93.33 จังหวัดอำนาจเจริญ 90.75 มี 1 จังหวดั รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั ในเขตพนื้ ทีร่ ับผดิ ชอบสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

ซ คอื จงั หวัดอุบลราชธานี มคี ่าเฉล่ยี IQ 89.67 ซ่ึงตำ่ กวา่ ปกติเล็กนอ้ ย ดังนั้น บคุ ลากรทางการศึกษาและครอ บครัว ควรให้ความสำคญั และส่งเสรมิ พฒั นา IQ ของเด็กในกลุ่มเป้าหมาย เนือ่ งจากมปี จั จัยส่งเสรมิ หลายปัจจัยในการ พฒั นาเชาวนป์ ัญญา (IQ) ดา้ นแรงงาน ภาวการณ์มีงานทำของประชากรกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.6 พบว่า กำลังแรงงาน มีท้ังสิน้ 2,559,172 คน แบง่ เปน็ ผู้มงี านทำ จำนวน 2,529,970 คน ผู้วา่ งงานจำนวน 29,202 คน กำลังแรงงานท่ีรอฤดูกาลจำนวน 7,296 คน ผไู้ ม่อย่ใู นกำลังแรงงาน (ทำงานบ้าน,เรียนหนังสอื ,อ่ืนๆ) จำนวน 1,760,364 คน จังหวดั ท่ีมีกำลังแรงงานมากที่สดุ ไดแ้ ก่ จังหวัดอบุ ลราชธานี มจี ำนวน 893,625 คน รองลงมาคอื จงั หวดั สกลนครจำนวน 452,467 คน จังหวดั กาฬสินธุจ์ ำนวน 410,645 คน จังหวดั นครพนม จำนวน 296,505 คน จังหวดั มกุ ดาหารจำนวน 193,652คน จงั หวัดบึงกาฬจำนวน 177,833 คน อำนาจเจรญิ จำนวน 134,445 คน ตามลำดับ 3.สถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มเปา้ หมาย จากการวเิ คราะห์และจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสงั คมกล่มุ จังหวดั ในส่วนท่ี 5 พบว่า สถานการณใ์ นกลมุ่ เปา้ หมาย 7 กลุ่ม ซงึ่ มีสถานการณท์ สี่ ำคัญเป็นอันดับแรกดังน้ี ❖ ประชากรเด็ก หรอื บุคคลที่มอี ายตุ ำ่ กวา่ 18 ปีบริบูรณ์ ของกลุ่มจงั หวดั ในปี พ.ศ. 2564 มจี ำนวน รวม 628,159 คน และสถานการณส์ ำคญั ไดแ้ ก่ จำนวนเด็กที่ไดร้ ับเงินอุดหนุนเพอ่ื การเลยี้ งดูเด็กแรกเกดิ จำนวน 228,065 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 14.32 เมือ่ เทยี บกับประชากรเด็กทั้งหมดในกลุม่ จังหวดั ❖ ประชากรที่เป็นเยาวชน หรือบคุ คลทมี่ อี ายุ 18 ปีบริบรู ณ์ ถงึ 25 ปบี ริบูรณ์ ของกลุ่มจังหวัด ใน ปี พ.ศ. 2564 มีจำนวนรวม 651,215 คน และสถานการ์สำคัญ ไดแ้ ก่ เยาวชนที่มีพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม มีจำนวน ทั้งสน้ิ 5,567 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 0.86 เมื่อเทยี บกับจำนวนเยาวชนท้ังหมดในกลุม่ จังหวัด ❖ ประชากรที่เป็นสตรี (เพศหญิงทกุ ช่วงวัย) ของกลุ่มจังหวดั ในปี พ.ศ. 2564 มีจำนวนรวม 3,062,841 คน และสถานการณ์สำคัญ ได้แก่ สตรที ่ถี กู เลิกจา้ ง/ตกงาน จำนวน 12,922 คน คิดเป็นร้อยละ 80.03 ของจำนวนสตรีทั้งหมดของกลุ่มจงั หวัด ❖ สถานการณค์ รอบครวั ของกล่มุ จังหวัด ในปี พ.ศ. 2564 สถานการณท์ ส่ี ำคัญ ไดแ้ ก่ สถานการณ์ ครอบครัวยากจน มีจำนวน 89,891 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.68 ของจำนวนบา้ นท้ังหมดในกลมุ่ จังหวดั ❖ ประชากรสูงอายุของกลุ่มจังหวดั ในปี พ.ศ. 2564 มจี ำนวนรวม 916,844 คน และสถานการณ์ สำคัญไดแ้ ก่ กลุ่มผสู้ งู อายุเข้าถึงสิทธิสวัสดิการท่ีรัฐบาลจัดสรรใหส้ ำหรับผู้ท่ีมีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ซึ่งเป็นการจัด สวัสดิการสังคมแก่ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มผู้สูงอายุได้รับเบี้ยยังชีพ จำนวน 932,716 คน คิดเป็นร้อยละ 90.98 ของจำนวนผสู้ ูงอายทุ ั้งหมดในกล่มุ จังหวัด ❖ ประชากรคนพกิ ารของกลมุ่ จงั หวดั ในปี พ.ศ. 2564 มีจำนวนรวม 233,058 คน และสถานการณ์ สำคัญ ได้แก่ คนพิการท่มี ีความต้องการกายอุปกรณ์ จำนวน 1,785 คน คิดเป็นร้อยละ 0.77 คน ของจำนวนคน พิการท้ังหมดในกลุ่มจังหวัด สาเหตุความพิการมากท่ีสดุ 3 อันดับแรกคือ อันดบั 1 ไมท่ ราบสาเหตุ จำนวน 45,440 คน อันดับ 2 คือ มากกวา่ 1 สาเหตุ อนั ดับ 3 คอื อบุ ัตเิ หตุ จำนวน 20,205 คน ❖ ประชากรกลมุ่ ด้อยโอกาส สถานการณส์ ำคญั ได้แก่ ผตู้ ดิ เชื้อ HIV มีจำนวน 7,220 คน คิดเป็น ร้อยละ 64.83 ของจำนวนผดู้ ้อยโอกาสทงั้ หมดในกลุม่ จังหวัด รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพ้นื ท่รี ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

ฌ 4.สถานการณ์ทางสงั คมเชงิ ประเด็น 4.1 สถานการณก์ ารคา้ มนษุ ยข์ องกล่มุ จงั หวดั ในเขตพน้ื ที่รบั ผิดชอบ สสว.6 จำนวนคดคี า้ มนษุ ยใ์ นระดบั กล่มุ จังหวัดมจี ำนวนลดลง จาก 10 คดี คงเหลอื 1 คดี สำหรบั ปี พ.ศ.2564 ในระบบฐานข้อมูลของประเทศไทยดา้ นการดำเนินคดีและการช่วยเหลือผู้เสียหายจากการคา้ มนุษย์ (E-AHT) ณ วันท่ี 25 สิงหาคม 2564 ยงั ไมป่ รากฏข้อมลู คดคี า้ มนุษย์ และแนวโน้มสถานการณ์การคา้ มนุษย์ของกลมุ่ จังหวัด ในเขตพืน้ ทีร่ บั ผดิ ชอบของ สสว.6 มีจำนวนลดลง ท้งั นสี้ ืบเนอ่ื งจากความร่วมมือของหน่วยงานที่เกย่ี วข้อ งในพ้ืนที่ ในการดำเนนิ งานปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษย์อย่างจริงจังและตอ่ เน่ือง จนทำใหจ้ ำนวนคดคี ้ามนุษย์มีสถิติ ลดลง 4.2 สถานการณค์ วามรุนแรงในครอบครัว พบวา่ สาเหต/ุ ปัจจัยการกระทำความรุนแรงในครอบครัวปี 2564 ของจังหวัดในเขต พื้นท่ีรับผิด ชอบ ของสสว.6 พบว่า มสี าเหตทุ ่ีสำคัญ อนั ดับ 1 คอื เมาสุรา/ยาเสพตดิ จำนวน 70 ราย คดิ เป็นร้อยละ 50 ของสถิติ จำนวนเหตุการณค์ วามรุนแรงท้ังหมด 4.3 สถานการณ์ทางสังคมท่เี กดิ จากสถานการณก์ ารแพร่โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การระบาดระลอก วันท่ี 1 เมษายน 2564 ถึงวนั ท่ี 30 สิงหาคม 2564 พบวา่ มผี ตู้ ิดเชื้อทัว่ โลก จำนวน 217,207,453 คน เสียชวี ติ 4,514,945 คน รกั ษาหาย 194,102,397 คน และในประเทศไทย พบว่ามีผู้ติดเชื้อ จำนวน 1,161,200 คน เสียชีวิต 11,305 คน รักษาหาย 975,101 คน และสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ของ 7 จงั หวดั ในเขตพืน้ ทรี่ ับผดิ ชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 พบวา่ มีผ้ตู ดิ เชอื้ สะสม จำนวน 32,414 ราย รกั ษาหายสะสม 29,409 ราย มผี ้เู สียชวี ิตสะสม 195 คน 4.4 การดำเนนิ งานของศนู ยช์ ่วยเหลือสงั คม 1300 ผลการดำเนนิ งานการให้บริการศนู ย์ชว่ ยเหลอื สงั คมสายด่วน 1300 ของ 7 จงั หวดั ในเขตพ้ืนทรี่ ับผิด ชอบ ของ สสว.6 ระหวา่ งวนั ที่ 1 เม.ย.-30 ม.ิ ย. 2564 พบว่า มีสถติ กิ ารให้บรกิ ารจำนวน 1,572 กรณี เฉลย่ี 17 กรณี/ วนั โดยประเด็นท่นี ่าใจ 5 อันดับแรกได้แก่ อันดับ 1 ปญั หาเร่อื งสทิ ธิ สวัสดิการและกฎหมาย จำนวน 505 กรณี อันดบั 2 ปัญหารายได้และความเป็นอยู่ จำนวน 354 กรณี อันดบั 3 ปัญหาความสัมพนั ธ์ ในครอบครวั 52 กรณี อันดบั 4 ปญั หาทเี่ ป็นปรากฏการณ์ทางสงั คม เหตุการณ์อบุ ัตใิ หม่ จำนวน 49 กรณี อันดับ 5 ปญั หาความรุนแรง 46 กรณี 5. ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย 5.1 ควรพฒั นาระบบ Big Data ใหเ้ ปน็ ระบบเดียวกัน บนแพลตฟอร์มเดยี วกัน เพอื่ ลดปญั หาการจัดเก็บ ข้อมูลซ้ำซ้อน ข้อมูลกระจัดกระจาย และไม่ครอบคลุมทัง้ น้ี เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูลใน ระยะเวลาหลายปี ทำให้สามารถใชห้ รอื คาดการณ์สถานการณ์ด้านต่างๆ ได้อยา่ งชดั เจน มีความน่าเชื่อเถือ อย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติ 5.1 หนว่ ยงานภาครัฐต้องใหค้ วามสำคัญกับการพัฒนากลุ่มประชากรเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในครอบค รัว ยากจน ทงั้ น้ี จากสถานการณ์สำคัญอนั ดบั 1 ดา้ นเด็ก คอื จำนวนเด็กท่ีได้รับเงินอดุ หนุนเพ่ือ การเล้ียงดูเด็ก แรกเกดิ มีจำนวน 228,065 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 14.32 เมอ่ื เทยี บกบั ประชากรเดก็ ท้ังหมดในกลุม่ จงั หวัด ซง่ึ เกณฑ์ การไดร้ ับเงนิ อุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดเู ด็กแรกเกิด กำหนดให้ครอบครวั ซงึ่ มีรายได้นอ้ ย คอื ไม่เกนิ 100,000 บาทต่อปี เป็นการสรา้ งระบบคุ้มครองทางสังคมโดยการจดั สวสั ดิการเงนิ อดุ หนุนให้แก่เด็กแรกเกดิ ในครัวเรอื นยากจนหรือ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จงั หวดั ในเขตพ้นื ทรี่ ับผดิ ชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

ญ ครัวเรอื นท่ีเสี่ยงตอ่ ความยากจน เปน็ มาตรการให้บิดา มารดาหรือผู้ปกครองนำเด็กเขา้ สรู่ ะบบบริการขอ งรัฐ เพ่ือให้เด็กได้รับการดูแลใหม้ คี ุณภาพชีวิตท่ดี ีมพี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย 5.3 ควรมีการเสริมสร้างกลมุ่ เดก็ และเยาวชนให้เปน็ จิตอาสา ท้งั น้ีจากสถานการ์สำคัญอัน 1 ดา้ นเยาวชน ไดแ้ ก่ เยาวชนทม่ี ีพฤติกรรมไม่เหมาะสม มจี ำนวนทั้งส้ิน 5,567 ราย คดิ เป็นร้อยละ 0.86 เมอ่ื เทียบกับจำนวน เยาวชนทง้ั หมดในกลุม่ จังหวดั 5.4 ควรมีการส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพอิสระให้แก่ประชากรกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์แพรร่ ะบาดโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019 และการรวมกลมุ่ ด้านอาชพี เพือ่ สร้างรายไดใ้ ห้คนในชุมชน ทั้งนจ้ี ากสถานการณ์ภาวการณม์ ีงานทำของประชากรในเขตพื้นที่รับผดิ ชอบของสสว.6 (ไตรมาส 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563 ) มผี วู้ ่างงานท้งั หมดจำนวน 29,202 คน และประชากรกลุ่มสตรี ประชากรที่เปน็ สตรี (เพศหญิง ทุกช่วงวัย) ของกลุ่มจังหวัด ในปี พ.ศ. 2564 มีจำนวนรวม 3,062,841 คน และสถานการณ์สำคัญ ได้แก่ สตรีทถ่ี กู เลกิ จ้าง/ตกงาน จำนวน 12,922 คน คดิ เป็นร้อยละ 80.03 ของจำนวนสตรที ้งั หมดของกลุ่มจังหวัด 5.5 ควรให้ความสำคญั กบั การสง่ เสรมิ การพฒั นาครอบครัวให้เข้มแขง็ ทง้ั นจี้ ากสถานการณค์ รอบครัวของ กลุม่ จังหวดั ในปี พ.ศ. 2564 สถานการณ์ท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ สถานการณ์ครอบครัวยากจน มจี ำนวน 89,891 คน คดิ เป็นร้อยละ 4.68 ของจำนวนบา้ นทงั้ หมดในกลุ่มจังหวดั 5.5 ควรมกี ารเตรยี มความพรอ้ มสังคมไทยสสู่ ังคมผู้สูงอายุ โดยการสนับสนุนใหค้ วามรู้ ประสบการณ์ และ ภมู ปิ ัญญาของผู้สูงอายุให้เกดิ ประโยชน์ต่อสังคม ทงั้ น้ี จากสถานการณ์ประชากรสูงอายุ ขอ งกลุ่มจังหวัดในปี พ.ศ. 2564 มีจำนวนรวม 916,844 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 15.65 ของจำนวนประชากรท้งั หมดในกลุม่ จังหวัด และ มีสถานการณ์สำคัญได้แก่ กลุ่มผูส้ งู อายุเขา้ ถึงสิทธิสวัสดิการท่ีรัฐบาลจัดสรรให้สำหรับผู้ท่ีมีอ ายุ 60 ปี ข้ึนไป ซ่ึงเป็นการจัดสวัสดกิ ารสงั คมแก่ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มผู้สูงอายุได้รับเบ้ยี ยังชพี จำนวน 932,716 คน คิดเป็นร้อยละ 90.98 ของจำนวนผูส้ ูงอายทุ งั้ หมดในกล่มุ จังหวัด 5.6 ควรมีการประชาสัมพันธ์ในเชิงรุก ด้านสิทธิสวัสดิการสำหรับคนพิการให้สามารถเข้าถึงสิทธิ ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรมทั้งนี้จากประชากรคนพิการของกลุ่มจังหวัด ในปี พ.ศ. 2564 มีจำนวนรวม 233,058 คน และสถานการณ์สำคัญ ไดแ้ ก่ คนพิการทีม่ ีความต้องการกายอุปกรณ์ จำนวน 1,785 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 0.77 คน ของจำนวนคนพิการทัง้ หมดในกลมุ่ จังหวดั สาเหตคุ วามพกิ ารมากท่ีสุด 3 อันดับแรกคือ อนั ดับ 1 ไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 45,440 คน อันดับ 2 คือ มากกว่า 1 สาเหตุ อันดับ 3 คือ อุบัติเหตุ จำนวน 20,205 คน 5.7 ควรมีการส่งเสริมความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสร้างการรับรู้ และตระหนัก ดา้ นโรคตดิ ตอ่ เช้ือ HIV ของประชากรกลุ่มด้อยโอกาส ท้ังนจ้ี ากสถานการณ์สำคัญ ได้แก่ ผตู้ ิดเช้อื HIV มีจำนวน 7,220 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 64.83 ของจำนวนผู้ดอ้ ยโอกาสทัง้ หมดในกลมุ่ จงั หวัด รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวดั ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

ฎ 6. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติในระดบั กลุ่มจังหวัด 6.1 การสง่ เสรมิ และการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เด็กและเยาวชน 1) มเี วทีให้เด็กและเยาวชนไดแ้ สดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับนโยบาย โครงการ หรือกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในระดับพนื้ ที่ เพอ่ื ให้ทราบถึงปัญหาและความต้องการของเด็กและเยาวชน นำไปสกู่ ารออกแบบนโยบาย หรือ โครงการในระดบั จงั หวดั 2) ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวโดยผ่านการดำเนินกิจกรรมร่ วมกับองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ และสถานศึกษาในพ้ืนท่ี 6.2 การแกไ้ ขปญั หาความยากจน 1) มีการบูรณาการฐานข้อมูลครัวเรือนยากจนระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับพืน้ ท่ี เพื่อการช่วยเหลอื กลมุ่ เป้าหมายท่ีชัดเจน 2) เปิดโอกาสให้ภาคประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการพฒั นาท้องถ่นิ ผา่ นเวทีประชาคม อบรม การทำโครงการต่าง ๆ 3) การสนับสนนุ งบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาระดับพื้นท่ี ควรสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ทางสังคม และความตอ้ งการของพืน้ ที่ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่มีการจดั เก็บของจังหวัดตามประเ ด็นสำคัญของแต่ละ กลุ่มเปา้ หมาย 4) ควรลดระยะเวลาในการพจิ ารณาอนมุ ตั ิเงินชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปญั หาทางสังคม เปล่ยี นระบบ เอกสารเป็นระบบดิจิทัลเชือ่ มโยงฐานขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการกับหนว่ ยงานท่ีเป็นเจา้ ของฐานขอ้ มลู ต้ังแต่ เกดิ แก่ เจ็บป่วย และเสียชวี ิต 5) ควรมีการส่งเสรมิ เครอื ข่ายใหม้ คี วามเขม้ แข็ง เพื่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถ่ิน 6.3 การสง่ เสรมิ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1) สนับสนนุ ให้เกดิ การจ้างงานผูส้ ูงอายุ ท่ยี งั มีสุขภาพแข็งแรงเพอ่ื ใหผ้ ู้สูงอายุสามารถมีรายได้ ลดการพึ่งพงิ 2) การอบรมเตรยี มความพร้อมกลมุ่ ประชากรทีจ่ ะเข้าส่กู ารเป็นผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดการตระหนัก ด้านการออมและการดูแลสุขภาพ 3) สนบั สนุนให้ผู้สูงอายุเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาท้องถิ่นโดยการถ่ายทอดภูมิปัญญา 6.4 การส่งเสรมิ และการพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร 1) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างกลุ่มอาชีพของคนพิการ ให้มีความเข้มแข็ง สามารถสรา้ งรายได้ให้แก่คนพกิ ารและผดู้ ูแลคนพกิ ารอยา่ งเปน็ รูปธรรม 2) การส่งเสริมให้มีการออกแบบสถานที่ให้เหมาะสมสำหรับคนพิการตามอารยสถาปัตย์ เพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ าร รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพืน้ ที่รับผิดชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

ฏ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวดั ในเขตพน้ื ที่รับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

1 สว่ นที่ 1 บทนำ 1.1 หลกั การและเหตผุ ล ตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีสาระสำคัญ เกี่ยวข้องกบั การบรู ณาการ โดยกำหนดว่า “ในกรณที ี่ภารกิจใดมคี วามเกีย่ วขอ้ งกับหลายส่วนราชการหรือ เป็น ภารกิจที่ใกล้เคียงหรอื ตอ่ เนือ่ งกัน ให้ส่วนราชการที่เก่ี ยวข้องน้ันกำหนดแนวทางปฏิบัติราชการเพ่ือให้เกดิ การบรหิ ารราชการแบบบูรณาการรว่ มกัน โดยมุ่งใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ติ อ่ ภารกิจของรัฐ”(มาตรา 10 วรรค 1) ในทาง ปฏิบตั ิแมว้ า่ จะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจท่ีมีความสำคัญหลายเรือ่ ง แตย่ ังเกิดปัญหา ความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆ ภารกิจ เปน็ ผลให้เป็นการส้ินเปลอื งทรัพยากรเป็นอย่างมาก การปฏิรูป งบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณเชงิ ยุทธศาสตร์” สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพ้ืนท”่ี (Arae-Based Budgeting : ABB) ซงึ่ เปน็ แนวคิดของการทำงบประมาณแบบมีส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมีการ ฟงั เสยี งประชาชนในพื้นท่ี มีกระบวนการทำแผนพฒั นาจากลา่ งข้ึนบนต้ังแต่แผนชมุ ชนจนถึงแผนจังหวัด และ ใหห้ นว่ ยงานท้ังภมู ิภาคและท้องถ่ินร่วมกนั กล่นั กรองทำให้งบประมาณสามารถใช้ใหต้ รงกับปัญหาความต้องการ ของคนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นซึง่ เป็นทั้งกระบวนการเพ่ิมประสิทธิภาพประสทิ ธิผลการใช้ งบประมาณแผ่นดิน การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปร่งใสและ ธรรมาภิบาล การควบคมุ พฤติกรรมนักการเมอื งโดยประชาชนในพื้นทแ่ี ละการบรู ณาการการทำงานของหน่วย Function และหน่วย Area ทอ่ี ยใู่ นพนื้ ที่ร่วมกนั ซงึ่ ตามแผนปฏิรูปกำหนดใหเ้ ร่ิมต้ังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๘ สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 1-11 (สสว.) เป็นสว่ นราชการสว่ นกลางทีต่ ้ังอยู่ในส่วนภูมิภาค โดยมีอำนาจหน้าที่ คอื ขอ้ 1 พฒั นางานดา้ นวิชาการเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นค งขอ งมนุษ ย์ให้ สอดคล้องกับพืน้ ที่และเป้าหมาย ข้อ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการองค์ความรูข้ ้อมูลสารสนเทศ ให้คำปรึกษาแนะนำแก่หนว่ ยงานบริการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้บริการ ในความรบั ผิดชอบของกระทรวง รวมทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เก่ียวข้อง องค์กรภาคเอกชนและประชาชน ข้อ 3 ศึกษาวิเคราะห์ สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ ร วมท้ัง ใหข้ ้อเสนอแนะการพฒั นาสงั คมและการจดั ยทุ ธศาสตร์ในพื้นที่กลมุ่ จังหวดั ขอ้ 4 สนับสนนุ การนิเทศงาน ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของกระทรวงในพ้นื ท่ีกลมุ่ จังหวัด มหี นา้ ทเี่ ป็นกลไก ขบั เคลื่อนภารกจิ ของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ นอกจากนกี้ ระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่นั คงของมนุษย์ ได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการทำหน้าท่ีเชื่อมโยงประสาน นโยบายระหว่างหน่วยงานสว่ นกลางกับส่วนภมู ิภาคในการแปลงนโยบาย ข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ และแผน ต่างๆ ของกระทรวงฯ ให้เกิดการบูรณาการการปฏิบัติงานของหน่วยงานสังกัดกระทรวงฯ ในส่วนภูมิภาค ให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ และมกี ารปฏิบตั งิ านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จงึ ตระหนกั ถึงความจำเป็นท่ีจะต้อง ขบั เคลอ่ื นให้เกิดการบูรณาการโครงการด้านสังคมเชิงพน้ื ท่ีในระดับพ้นื ทจี่ ังหวัดและกลมุ่ จังหวัด ทั้งในส่วนของ แผนปฏิบัติงานและแผนคำของบประมาณเชิงพ้ืนท่ี เพ่อื ตอบสนองความต้องการของจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ในการบรู ณาการการดำเนินงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมที่สอดคลอ้ งกับพ้ืนท่ีและยุทธศาสต ร์อ ย่างมี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล รายงานสถานการณท์ างสังคมกล่มุ จังหวัดในเขตพื้นทีร่ ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

2 ดว้ ยเหตุนี้ จงึ เป็นท่ีมาของการจดั ทำรายงานสถานการณท์ างสังคมและคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์ทาง สังคมในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 จังหวัดกาฬสินธ์ ที่ครอบคลุม 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดบึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจรญิ อุบลราชธานี 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพือ่ รวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมที่เกดิ ข้ึนในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ของสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 1.2.2 เพ่ือคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสงั คมและผลกระทบในเขตพืน้ ที่รับผดิ ชอบของสำนักงาน ส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 1.2.3 เพอ่ื เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสังคมในพื้นที่กลุม่ จังหวดั ในเขตพนื้ ทร่ี ับผิดชอบของ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 6 1.3 วธิ ีการดำเนนิ งาน ในปงี บประมาณ 2564 สำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 มกี ารดำเนนิ การเพื่อขับเคล่ือ นงาน ดงั นี้ 1) เข้าร่วมประชุมช้ีแจงแนวทางและกำหนดรูปแบบการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคม ในระดับ กลุ่มจังหวัด ประจำปี 2564 2) จดั ทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั ในเขตพื้นท่รี ับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและ สนบั สนุนวิชาการ 6 3) ประชุมถอดบทเรียนการจดั ทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั ประจำปี 2564 4) เผยแพร่และประชาสมั พนั ธก์ ารนำไปใช้ประโยชน์ผา่ นช่องทางตา่ งๆ 1.4 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั 1) มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับพื้นที่ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถใช้ประโยชน์ ในการปอ้ งกัน และแกไ้ ขปญั หาสงั คม 2) หน่วยงานระดับท้องถิ่นและระดับจงั หวัด สามารถนำข้อมลู ในพ้ืนที่ไปใช้ในการกำหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ ในการคมุ้ ครอง ป้องกัน และแกไ้ ขปัญหาทางสงั คมในระดับพื้นท่ี และหน่วยงานระดับกระทรวง สามารถนำขอ้ มูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาทางสังคมที่สำคัญและกำหนด นโยบาย แผนงานในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาสังคมภาพรวมตอ่ ไป รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวัดในเขตพื้นท่รี ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

3 ส่วนที่ 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานในพืน้ ทีก่ ลุม่ จังหวดั ในเขตรบั ผดิ ชอบของ สสว.6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญและอบุ ลราชธานี) 2.1 ทตี่ ง้ั และอาณาเขต ตารางที่ 1 แสดงที่ตั้งและอาณาเขตพนื้ ท่ีกลุ่มจังหวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.6 พน้ื ที่ จำนวนประชากร ความหนาแน่น (คน) ของประชากร จงั หวัด ไร่ (ตร.กม./คน) ตารางกโิ ลเมตร บึงกาฬ 4,306 269,062 422,042 98:1 นครพนม 5,528.88 3,474,437 717,200 130:1 สกลนคร 9,605.76 6,003,603 1,146,936 119:1 มกุ ดาหาร 4,339.83 2,712,400 350,911 81:1 กาฬสนิ ธ์ุ 6,947 4,341,716 977,175 141:1 อำนาจเจรญิ 3,161.29 1,975,780 376,195 119:1 อุบลราชธานี 15,774 9,858,750 1,866,697 118:1 รวม 49,662.51 28,635,748 5,857,156 118:1 ทมี่ า: ระบบสถิติทางทะเบยี น กรมการปกครอง https://stat.bora.dopa.go.th ณ 31 ธันวาคม 2563 แผนภาพท่ี 1 แสดงความหนาแน่นของประชากร 7 จังหวดั ในเขตพน้ื ที่รบั ผดิ ชอบของ สสว.6 จากตารางท่ี 1 และแผนภาพที่ 1 พบวา่ 7 จังหวดั ในเขตพื้นท่ีรับผดิ ชอบของสำนักงานส่งเสริมและ สนบั สนุนวชิ าการ 6 มพี ้ืนทีท่ ้ังหมด 49662.51 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 28,635,748 ไร่ และมปี ระชากร ท้งั หมด 5,857,156 คน โดยจงั หวัดทมี่ ีพ้นื ทีม่ ากเป็นอนั ดบั 1 คือ จังหวัดอบุ ลราชธานี มีพน้ื ท่ี 15,774 ตาราง กโิ ลเมตร หรือ 9,858,750 ไร่ รองลงมา คือ จังหวดั สกลนคร มพี ้นื ที่ 9,605.76 ตารางกิโลเมตร 6,003,603 ไร่ และจงั หวดั ท่มี พี ืน้ ท่ีน้อยทีส่ ดุ คือ จงั หวดั อำนาจเจริญ มพี ืน้ ท่ี 3,161.29 ตารางกโิ ลเมตร 1,975,780 ไร่ และ ความหนาแนน่ ของประชากร พบวา่ จังหวัดกาฬสินธ์ุ มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สดุ 141 ตร.กม./คน รองลงมา คือ จงั หวัดมกุ ดาหาร 130 ตร.กม./คน รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพ้นื ทร่ี ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

4 ❖ ทต่ี ้ัง แผนภาพที่ 2 แสดงพื้นที่ 7 จังหวดั ในเขตพื้นทีร่ ับผดิ ชอบของ สสว. 6 จากแผนภาพท่ี 2 จังหวดั ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 6 (สสว.6) ประกอบดว้ ย 7 จังหวัด ไดแ้ ก่ จังหวดั บึงกาฬ จงั หวัดนครพนม จงั หวัดมุกดาหาร จงั หวัดสกลนคร จังหวัดกาฬสินธ์ุ จังหวดั อำนาจเจริญ และจงั หวดั อบุ ลราชธานี โดยมีท่ีตัง้ และอาณาเขต ดังน้ี จ ังห วัดบึงก าฬ น ครพ น ม มุก ดาห าร สก ลน คร แ ละก าฬสิน ธ์ุ ตั้งอ ยู่ในกลุ่มจังหวั ด ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน โดยจังหวดั บึงกาฬ มีทีต่ ั้งอยูห่ ่างจากกรุงเทพมหานคร 741 กิโลเมตร จังหวัด นครพนม มีทต่ี งั้ อยหู่ า่ งจากกรงุ เทพมหานคร 740 กิโลเมตร เป็นจงั หวดั ชายแดนของประเทศไทย มลี ักษณะเป็น แนวยาวตามฝัง่ แมน่ ้ำโขงประมาณ 153 กโิ ลเมตร ตั้งอยรู่ ะหว่างละตจิ ดู ท่ี 16-18 องศาเหนือ และลองตจิ ูดที่ 104- 105 องศาตะวันออก จงั หวดั มกุ ดาหาร เป็นจังหวดั ชายแดนมอี าณาเขตติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยมแี มน่ ำ้ โขงเป็นเส้นก้ันพรมแดน ตั้งอยูเ่ ส้นรงุ้ ที่ 16-17 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 104 -105 องศาตะวันออก อยูห่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 642 กโิ ลเมตร จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ตงั้ อย่รู ะหว่างเสน้ รงุ้ ท่ี 16 - 17 องศาเหนอื และเสน้ แวงท่ี 103 -104 องศาตะวันออก อยู่ห่างจาก กรงุ เทพมหานคร ประมาณ 520 กโิ ลเมตร จงั หวัดอำนาจเจริญและจังหวัดอุบลราชธานี ตงั้ อยใู่ นกล่มุ จังหวดั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง โดยจงั หวัดอำนาจเจริญ ตัง้ อย่รู ะหว่างเส้นร้งุ ท่ี 15 - 16 องศาเหนอื และเสน้ แวงที่ 104 - 105 องศาตะวันออก อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 568 กิโลเมตร และจังหวัดอบุ ลราชธานี ตั้งอยู่ที่เสน้ แวง 105 องศา ตะวันออก โดยเป็นจงั หวัดแรกท่ีได้เห็นดวงอาทติ ยก์ อ่ นพ้ืนทอี่ ่ืน ๆ ท่ัวประเทศ ❖ อาณาเขตของกลุม่ จงั หวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบของ สสว.6 มดี ังน้ี ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ แขวงบอลคิ าไซ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมี แมน่ ำ้ โขงเปน็ เส้นกัน้ พรมแดน ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อ กับแขวงคำมว่ น และแขวงบลคิ ำไช แขวงสะหวนั นะเขต สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว สปป.ลาว โดยมแี มน่ ้ำโขงเป็นเส้นกัน้ พรมแดน ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ จงั หวดั ศรสี ะเกษ จงั หวัดยโสธร จังหวดั สารคาม จงั หวดั ขอนแก่น ทศิ ใต้ ตดิ ต่อ จังหวดั ศรสี ะเกษ และราชอาณาจักรกัมพชู า รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพ้ืนท่รี ับผดิ ชอบสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

5 2.2 ลักษณะภูมิประเทศ จงั หวดั บึงกาฬ มลี กั ษณะภูมปิ ระเทศของจังหวดั โดยท่วั ไปเปน็ ท่ีราบสูง แยกไดเ้ ปน็ 3 บริเวณคือ (1) พื้นที่เป็นคลื่นลอนลาด กระจายอยู่ทุกอำเภอเป็นหย่อมๆ ซึ่งเป็นพื้นท่ีทำนาส่วนใหญ่ ปลูกพืชไร่ พชื สวน และป่าธรรมชาติ (2) พนื้ ท่เี ปน็ คล่ืนลอนชนั และเปน็ เขาเป็นปา่ ธรรมชาติ เช่น ป่าไมเ้ ต็งรัง เบญจพรรณ (3) สภาพพน้ื ท่ีเปน็ ภเู ขาทมี่ คี วามสงู ชนั จากระดบั นำ้ ทะเลตงั้ แต่ 200 เมตร เป็นบริเวณเทือกเขา ต่างๆ ในเขตอำเภอเมืองบงึ กาฬ อำเภอบงุ่ คลา้ อำเภอเซกา และอำเภอบงึ โขงหลง จังหวัดนครพนม เป็นทรี่ าบลุ่มมีท่ีราบสูงและภูเขาอยู่บา้ งมแี มน่ ้ำสายส้ัน ๆ เป็นสาขาย่อยแยกจาก แมน่ ้ำโขงมาหลอ่ เลี้ยงความอุดมสมบูรณภ์ ายในพื้นที่ พ้ืนท่ีส่วนใหญม่ ีแม่นำ้ โขงไหลผ่าน นครพนม จึงนับว่าเป็น จังหวดั ทม่ี แี หล่งน้ำทสี่ มบรู ณม์ าก ดา้ นตะวันออกมแี ม่น้ำโขงทอดยาวกนั้ พรมแดนระหว่างประเทศไทยกบั ลาว และ จังหวดั นครพนมมจี ุดผ่านแดนไปประเทศลาว รวม 6 จดุ เปน็ จุดผ่านแดนถาวร 2 จดุ และจดุ ผ่อนปรน 4 จุด จุดผา่ นแดนท่ีสำคัญและเป็นสากล คอื ด่านสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 3 ซง่ึ เปน็ ประตูไปสู่อนิ โดจีน จังหวัดมกุ ดาหาร ทางทศิ เหนือและทิศใต้ของจังหวัดเป็นที่ราบสูง ทางทิศตะวนั ตกมีเทือ กเขาภูพาน มีลักษณะเป็นป่าไม้ บางแห่งเป็นป่าทึบ ส่วนทิศตะวันออกเป็นท่ีราบสลับป่าไม้ และมีแมน่ ้ำโขงเป็นเส้นกั้น พรมแดนระหวา่ งประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีความยาวประมาณ 72 กม.มีพน้ื ที่ราบ รอ้ ยละ 20 ของพ้ืนที่ทัง้ จังหวัด ทรพั ยากรธรรมชาตมิ คี วามอดุ มสมบรู ณ์มีพ้ืนทป่ี ่าไม้ประมาณ 953,300 ไรค่ ดิ เป็น รอ้ ยละ 35.15 ของพื้นที่จงั หวัด จังหวัดสกลนคร โดยทั่วไปเปน็ ทร่ี าบสูง สงู กวา่ ระดบั น้ำทะเลโดยเฉล่ียประมาณ 172 เมตรดา้ นทิศเหนือ ของจังหวัด (บริเวณอำเภอบ้านม่วง อำเภอคำตากล้า อำเภอสว่างแดนดิน อำเภออากาศอำนวยและ อำเภอเจริญศลิ ป์) มลี กั ษณะภูมปิ ระเทศเป็นทร่ี าบลุม่ ลอนคลืน่ ไม่สมำ่ เสมอกัน ใชน้ ำ้ จากลำห้วยสาขาในการทำนา ทศิ เหนือของอำเภออากาศอำนวยเป็นท่ีราบน้ำท่วมถึง เน่ืองจากตดิ กบั แม่นำ้ สงคราม ทำใหเ้ หมาะแก่การทำนา กวา่ พนื้ ทีโ่ ดยรอบ แต่พน้ื ท่ีสว่ นใหญ่เป็นปา่ ทาม ทีข่ น้ึ รมิ น้ำและปล่อยรกร้างว่างเปล่า ส่วนทางตอนใต้มีลักษณะ เปน็ แอง่ กระทะขนาดใหญ่ เรียกว่าแอง่ สกลนคร จุดตำ่ สดุ ของแอง่ คอื ทะเลสาบ หนองหาน อำเภอเมอื งสกลนคร และหนองญาติ อำเภอเมืองนครพนม นอกจากนี้ยังมีทิวเขาภูพานทางด้านทิศตะวันตกและทิศใต้บริ เวณ อำเภอภพู านและอำเภอกุดบากมลี ักษณะภมู ิประเทศแบบภูเขาสูงสลับกับทรี่ าบลูกคล่ืนท่อี ยู่ช่วงกลางระหว่าง ทวิ เขาภพู านในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดสกลนคร จงั หวัดกาฬสินธุ์ มลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ (1) ลักษณะพ้ืนที่ตอนบน ไดแ้ ก่ บริเวณอำเภอทา่ คันโท อำเภอคำมว่ ง อำเภอสามชยั อำเภอนาคู และอำเภอเขาวง ซ่ึงเป็นบริเวณแนวเทือกเขาภพู าน มภี เู ขาสลับซบั ซอ้ น และมที ี่ราบในบริเวณระหว่างหุบเขา สลับกับปา่ ทบึ ไดแ้ ก่ ปา่ ดงมลู และป่าดงแม่เผด บริเวณดงั กลา่ วเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารหล่อเลี้ยงจังหวัดกาฬสินธ์ุ ท่ีสำคัญไดแ้ ก่ ลำน้ำปาว และลำน้ำพาน มเี ขือ่ นลำปาวเพ่ือเกบ็ กกั นำ้ ไวใ้ ช้ในการเพาะปลูกท้ังในฤดูฝนและฤดแู ล้ง (2) ลกั ษณะพื้นที่ตอนกลาง ได้แก่ บรเิ วณอำเภอหนองกุงศรี อำเภอสหสั ขันธ์ อำเภอสมเด็จ อำเภอห้วยผ้ึง อำเภอนามน อำเภอกฉุ นิ ารายณ์ และอำเภอห้วยเม็ก ลักษณะภมู ิประเทศเป็นเนินเขาสลับกับ ป่าโปร่งและทุง่ ราบ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพน้ื ท่ีรับผดิ ชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

6 3) ลกั ษณะพนื้ ท่ตี อนล่าง ไดแ้ ก่ บริเวณอำเภอยางตลาด อำเภอเมืองกาฬสินธ์ุ อำเภอร่องคำ อำเภอกมลาไสย อำเภอดอนจาน และอำเภอฆ้องชัยลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบต่ำเป็นแหล่งเพาะปลกู ที่สำคัญของจังหวดั กาฬสินธุ์ เป็นบริเวณที่รับน้ำชลประทาน จากโครงการชลประทานลำปาว และมีลำนำ้ ชี ลำนำ้ พาน ลำหว้ ย บึง และ หนองน้ำทั่วไป จงั หวัดอำนาจเจริญ โดยท่ัวไปเป็นที่ลุม่ มีเนินเขาเตี้ยๆ ทอดยาวไปจรดจังหวัดอุบลราชธานี ท่ีอำเภอ ชานมุ าน ตง้ั อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางเฉล่ียประมาณ 68 เมตร (227 ฟตุ ) สภาพดนิ โดยทั่วไป เปน็ ดินร่วน ปนทรายและดนิ ลกู รังบางส่วน มลี ำนำ้ สายใหญไ่ หลผ่าน ได้แก่ ลำเซบก และลำเซบาย จังหวดั อบุ ลราชธานี ตงั้ อยบู่ ริเวณทีเ่ รยี กวา่ แอง่ โคราช (Korat basin) สงู จากระดับนำ้ ทะเลปานกลาง เฉลีย่ ๖๘ เมตร (๒๒๗ ฟุต) ลกั ษณะโดยทั่วไป เป็นทีร่ าบสูงต่ำสลับกนั ลาดเอยี งไปทางตะวนั ออก มีแมน่ ำ้ มูลไหล ผ่านกลางจังหวัด จากทศิ ตะวนั ตกมายังทิศตะวนั ออก ไหลลงสู่แม่น้ำโขงทีอ่ ำเภอโขงเจียม มลี ำน้ำสำคัญ ได้แก่ ลำเซบก ลำเซบาย ลำโดมใหญ่ ลำโดมน้อย และมภี ูเขาซับซอ้ นหลายแห่งบริเวณชายแดนทางตอนใตม้ ีเทือ กเขา ทส่ี ำคัญ คอื เทือกเขาบรรทัด และเทอื กเขาพนมดงรกั ซ่ึงกนั้ อาณาเขตระหว่างจงั หวดั อบุ ลราชธานี กบั สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกมั พูชา 2.3 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬอยู่ในแถบร้อนและแห้งแล้ว (ธันวาคม -มกราคม) ในฤดูมรสุ ม ตะวนั ออกเฉยี งเหนืออุณหภมู ิจะเรม่ิ ลดในเดอื นพฤศจิกายนและต่ำสดุ ในช่วงเดือนธนั วาคมถงึ มกราคม ในชว่ งเดือน มีนาคมถงึ พฤษภาคมเป็นฤดูเปล่ียนมรสมุ เหนอื อุณหภมู จิ ะสูงข้นึ อย่างรวดเร็วในเดือนมีนาคมและร้อนจดั ในเดือน เมษายน ในฤดมู รสุมตะวันตกเฉยี งใต้ (มิถุนายน-กรกฎาคม) อุณหภูมโิ ดยทั่วไปจะลดลง ในเดือนตุลาคมเป็นฤดู เปลี่ยนมรสมุ ใต้ อณุ หภมู จิ ะเรมิ่ ลดลงจนอากาศหนาวเย็น จังหวดั นครพนม เป็นจงั หวดั ทม่ี ีฝนตกชุกในฤดฝู นเนือ่ งจากไดร้ ับอทิ ธิพลจากลมมรสมุ ตะวันต กเฉียงใต้ ที่พดั ปกคลมุ และอทิ ธพิ ลจากปา่ ไม้และเทือกเขาจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รวมท้ังพายุจาก ทะเลจีนใต้ที่เคลื่อ นผ่านหรือ เคลื่อ นเข้าใกล้ฝนตกชุกตั้งแต่กลางเดือ นพฤษภาคมถึงกลางเดือ นตุล า ค ม แบ่งออกเปน็ 3 ฤดู ฤดรู ้อน เร่ิมตั้งแต่กลางเดอื นกุมภาพันธ์ - กลางเดอื นพฤษภาคม ของทกุ ปี ฤดูร้อนจะมีอากาศ ร้อนอบอา้ ว อณุ หภมู ิเฉลีย่ 25 - 35 องศาเซลเซียส และมอี ณุ หภมู ิสูงสุดอยู่ระหวา่ ง 37 - 41 องศาเซลเซยี ส ฤดฝู น เรม่ิ ตง้ั แต่กลางเดอื นพฤษภาคม - กลางเดือนตุลาคมของทุกปี ในบางส่วนของจงั หวดั มีฝนตกชกุ โดยเฉพาะพื้นท่ี อำเภอทอี่ ยรู่ มิ ฝงั่ แม่น้ำโขงจะประสบอทุ กภัยได้รับความเสียหายเปน็ ประจำทุกปี เชน่ อำเภอเมือง อำเภอทา่ อุเทน และอำเภอบา้ นแพง เป็นตน้ ฤดูหนาว เรม่ิ ตั้งแต่กลางเดือนตุลาคม - กลางเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี โดยท่ัวไป อากาศ จะหนาวเยน็ อณุ หภมู ิเฉลี่ย 16 - 25 องศาเซลเซยี ส และอุณหภูมติ ำ่ สดุ อยู่ในช่วง 8 - 15 องศาเซลเซียส แตก่ ม็ ีบางปีท่ีอุณหภมู ติ ำ่ สุดอาจจะต่ำกว่าน้ันได้ จังหวัดมุกดาหาร ภูมิอากาศโดยท่ัวไปค่อนข้างรอ้ นในฤดูรอ้ น ระหวา่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ถึงกลางเดือน พฤษภาคม ส่วนในฤดูฝนจะมีฝนตกชุก ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดอื นตลุ าคม และค่อนข้างหนาวในฤดูหนาว ระหว่างกลางเดอื นตลุ าคมถงึ เดือนกุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ.2563 มอี ณุ หภูมิเฉลย่ี 27.9 องศาเซลเซยี ส อุณหภูมติ ำ่ สุด 12.2 องศาเซลเซียส ในเดือนธันวาคม และสงู สดุ 41.6 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน ความชนื้ สัมพัทธ์เฉลี่ย รอ้ ยละ 70.5 มปี รมิ าณนำ้ ฝนทงั้ ปี วดั ได้ 1,586.9 มิลลิเมตร รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

7 จงั หวดั สกลนคร จงั หวัดสกลนคร มี 3 ฤดูกาล ไดแ้ ก่ ฤดูฝน ประมาณเดอื นพฤษภาคม ถงึ กลางเดือ น ตุลาคม ฝนทตี่ กสว่ นมากเป็นฝนท่ีเกิดจากพายดุ เี ปรสช่ันที่เคลือ่ นตัวมาจากทะเลจีนใต้ ฤดูหนาว เริม่ เดือนตุลาคม ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มีลักษณะอากาศหนาวอย่างชัดเจน ฤดูร้อน เริ่มประมาณกลางเดือนกุมภาพนั ธ์ ถงึ กลางเดอื นพฤษภาคม สถิติอากาศสงู ท่ีสดุ ของสกลนคร คอื 41.9 องศาเซลเซียส เมื่อวนั ที่ 24 เมษายน 2500 สถติ ิภมู ิอากาศของจงั หวัดสกลนคร ปี 2559-2562 ปี พ.ศ. 2559 2560 2561 2562 ปริมาณนำ้ ฝน (มิลลิเมตร) 1,349.30 2,422.90 1,575.6 1,191.8 จำนวนวันฝนตก (วนั ) 123 139 127 100 อุณหภูมิอากาศเฉล่ีย (องศา C) 26.9 26.1 26.2 26.5 จงั หวดั กาฬสินธุ์ ภมู อิ ากาศโดยท่ัวไปมีอากาศรอ้ นและค่อนข้างหนาวในฤดูหนาว ฤดฝู น เริ่มประมาณ เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน ปริมาณน้ำฝนเฉล่ียประมาณ 1463.2 มิลิลเมตรตอ่ ปี เดือนกันยายน เป็นเดือนที่ฝนตกมากที่สุด ประมาณ 430.6 มิลิเมตร อุณหภูมสิ ุงสดุ ในเดอื นเมษายน 41.9 องศาเซลเซียส ตำ่ สดุ ในเดอื นมกราคม 16.0 องศาเซลเซยี ส จังหวัดอำนาจเจรญิ จังหวัดอำนาจเจริญ อยูใ่ นเขตท่ีมปี รมิ าณน้ำฝนคอ่ นข้างสูง เมอ่ื เปรียบเทียบกับ ปรมิ าณนำ้ ฝนเฉลี่ยของจังหวัดอ่ืน ๆ ฤดฝู น จะเร่ิมตง้ั แต่เดอื นมิถุนายนเรือ่ ยไปจนถึงปลายเดือนตุลาค ม และ มกั ปรากฏเสมอว่าฝนทิ้งช่วงในเดอื นมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม แตร่ ะยะเวลาการทิ้งช่วงมักจะไม่เหมือ นกัน ในแต่ละปี และในช่วงปลายฤดูฝน มักจะมีพายุดีเปรสชัน่ ฝนตกชุกบางปีอาจมีภาวะ น้ ำท่วมแตภ่ าวการณ์ ไมร่ ุนแรงนกั ฤดูหนาว เน่ืองจากเปน็ จังหวัดทีต่ ง้ั อยทู่ างทิศตะวันออกสุดของประเทศ ทำใหไ้ ด้รบั อทิ ธพิ ลลมมรสุม ตะวันออกเฉยี งเหนือก่อนภมู ิภาคอ่นื อณุ หภมู จิ ะเร่ิมลดต่ำลงต้ังแต่เดือนพฤศจิกายนและจะสิ้นสุด ปลายเดือ น กมุ ภาพันธ์ ฤดูร้อน ถึงแม้ว่าเคยปรากฏบอ่ ยครั้งวา่ อากาศยังคงหนาวเยน็ ยืดเยอ้ื มาจนถึงปลายเดือ นกุมภาพันธ์ โดยสว่ นใหญ่แล้วอากาศจะ เร่มิ อบอา้ ว ในเดือนมีนาคมไปจนถึงประมาณต้นเดอื นพฤษภาค มซ่ึงอาจจะมีฝน เริ่มตกอยูบ่ า้ งในปลายเดอื นเมษายน แตป่ ริมาณนำ้ ฝนมักจะไม่เพียงพอสำหรบั การเพาะปลูก นอกจากนั้นลักษณะ ภูมิอากาศทั่วไปคล้ายคลึงกับจังหวัดอื่น ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จะมีอากาศร้อน ในฤดูหนาว ค่อนขา้ งหนาว จังหวดั อบุ ลราชธานี แบ่งเปน็ 3 ฤดู ไดแ้ ก่ ฤดฝู น จะเรมิ่ ตง้ั แต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยไปจนถงึ ปลายเดือน ตลุ าคม ฤดหู นาวเนื่องจากเป็นจังหวดั ที่ต้ังอยู่ทางทิศตะวนั ออกสุดของประเทศ ทำใหไ้ ด้รับอิทธิพลลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือก่อนภมู ภิ าคอ่ืน อณุ หภมู ิจะเร่ิมลดตำ่ ลงตงั้ แตเ่ ดอื นตลุ าคมและจะสิ้นสดุ ปลายเดือนมกราคม ฤดรู อ้ น สว่ นใหญ่อากาศจะเรม่ิ อบอา้ ว ในเดอื นกมุ ภาพันธไ์ ปจนถงึ เดอื นพฤษภาคม รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จงั หวดั ในเขตพน้ื ท่ีรับผดิ ชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

8 2.4 ขอ้ มูลการปกครอง ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพ้ืนท่ีกล่มุ จังหวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.6 (หนว่ ย:แหง่ ) จงั หวดั อำเภอ ตำบล หมบู่ ้าน อบจ. เทศบาลนคร เทศบาล เทศบาล อบต. เมือง ตำบล บงึ กาฬ 8 53 617 1 0 1 17 39 นครพนม 12 99 1,153 1 0 1 21 81 สกลนคร 18 125 1,521 1 1 0 65 74 มุกดาหาร 7 52 0 1 24 29 กาฬสินธ์ุ 18 135 526 1 0 2 77 71 อำนาจเจริญ 7 56 1,585 1 0 1 20 42 อบุ ลราชธานี 25 219 1 4 54 199 95 739 653 1 2 10 278 535 รวม 2,704 1 8,759 7 ท่ีมา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563 จากตารางที่ 2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพื้นท่ีกลมุ่ จังหวัดในเขตรับผิดชอบสำนักงานส่งเสริมและ สนับสนนุ วิชาการ 6 มพี ื้นท่รี บั ผิดชอบ จำนวน 7 จงั หวัด ประกอบด้วย 95 อำเภอ 739 ตำบล 8,759 หมู่บ้าน มอี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน จำนวน 832 แห่ง ไดแ้ ก่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด 7 แห่ง เทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมอื ง 10 แหง่ เทศบาลตำบล 278 แห่ง และองค์การบรหิ ารส่วนตำบล 535 แหง่ จงั หวดั ท่มี พี ืน้ ท่ีทางการ ปกครองมากที่สดุ ไดแ้ ก่ จังหวัดอบุ ลราชธานี มจี ำนวนทัง้ สน้ิ 25 อำเภอ 219 ตำบล 2,704 หมบู่ า้ น และจังหวัดท่ี มพี น้ื ทที่ างการปกครองนอ้ ยทส่ี ดุ ได้แก่ จงั หวัดมุกดาหาร ประกอบดว้ ย 7 อำเภอ 52 ตำบล 526 หมบู่ า้ น 2.5 ขอ้ มลู ประชากร ตารางท่ี 3 แสดงจำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำแนกตามเพศ และจงั หวัด (หน่วย : คน) อายุ 0-17 ปี อายุ 18-25 ปี อายุ 26-59 ปี อายุ 60 ปีขึ้นไป จังหวัด ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม บงึ กาฬ 48,976 46,292 95,268 22,934 22,991 45,925 110,610 108,500 219,110 28,317 32,072 60,389 นครพนม 77.799 73,869 151,668 41,624 40,678 82,302 188,856 184,107 372,963 49,315 60,952 110,267 สกลนคร 124,051 118,418 242,469 64,228 63,404 127,632 303,978 300,025 604,003 78,028 94,804 172,832 มกุ ดาหาร 38,053 36,489 74,542 19,243 19,056 38,299 93,346 91,315 184,661 24,725 28,684 53,409 กาฬสนิ ธ์ุ 96,601 91,733 188,334 49,763 48,599 98,362 262,864 262,553 525,417 74,219 90,843 165,062 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

อายุ 0-17 ปี อายุ 18-25 ปี อายุ 26-59 ปี 9 อายุ 60 ปขี น้ึ ไป จงั หวดั ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม อำนาจเจริญ 38,501 36,433 74,934 20,570 20,461 41,031 99,464 97,945 197,409 28,774 34,047 62,821 อบุ ลราชธานี 204,178 193,434 397,612 110,609 107,055 217,664 482,961 476,396 959,357 134,652 157,412 292,064 628,159 596,668 628,159 328,971 322,244 651,215 1,542,079 1,520,841 3,062,920 418,030 498,814 916,844 รวม ทมี่ า : ระบบสถิติทางทะเบยี น กรมการปกครอง https://stat.bora.dopa.go.th ณ 31 ธันวาคม 2563 แผนภาพท่ี 3 แสดงจำนวนประชากรในเขตพืน้ ท่รี ับผิดชอบของ สสว.6 ทมี่ า : ระบบสถิติทางทะเบียน กรมการปกครอง https://stat.bora.dopa.go.th ณ 31 ธนั วาคม 2563 จากตารางที่ 3 และแผนภาพที่ 3 แสดงจำนวนประชากรในเขตพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบของ สสว.6 พบว่า ในเขต พ้นื ทรี่ บั ผิดชอบของ สสว.6 มีจำนวนประชากรทั้งส้ิน 5,857,156 คน แบง่ เป็นประชากรเพศชาย 2,918,075 คน ประชากรเพศหญิง 2,939,081 คน จงั หวดั ท่มี ีประชากรอาศัยอยู่มากท่ีสุด คือ จังหวดั อุบลราชธานี มีจำนวน 1,866,697 คน รองลงมาคอื จังหวัดสกลนคร มจี ำนวน 1,146,936 ตามลำดบั ประชากรส่วนใหญ่มีอ ายุอ ยู่ใน ระหว่าง 26-59 ปี จำนวน 3,062,920 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.3 ของประชากรในกลมุ่ จังหวัด ทงั้ นีเ้ มอ่ื พจิ ารณาถึง จำนวนประชากรผู้สูงอายุ (60 ปีขน้ึ ไป) พบวา่ กลุ่มจงั หวัดในเขตพนื้ ท่รี ับผดิ ชอบ สสว.6 เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว โดยมีประชากรผูส้ ูงอายุ จำนวน 916,844 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.7 ของประชากรในกลุ่มจังหวัด (สังคมผู้สูงอายุ หมายถงึ สงั คมที่ประชากรอายุ 60 ปี ขนึ้ ไป ในพ้นื ที่น้นั มจี ำนวนต้งั แต่ร้อยละ 10 ขนึ้ ไป ) รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัดในเขตพืน้ ท่ีรับผดิ ชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

10 2.6 ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม และขอ้ มูลชาติพนั ธ์ ❖จังหวดั บึงกาฬ เปน็ จงั หวัดท่องเทย่ี วเมอื งรองท่สี ำคัญของจังหวัดแถบลุม่ แม่นำ้ โขง มีสภาพแวดล้อม ที่สมบูรณ์ แวดล้อม ไปดว้ ยภเู ขาและน้ำตกท่ีสวยงาม โดยมปี ระเพณที สี่ ำคญั คอื เทศกาลบุญบั้งไฟ เทศกาลสงกรานต์ ประเพณีแข่งขัน เรอื ยาว วันยางพาราบึงกาฬ ดังคำขวัญของจังหวัด “ภูทอกแหลง่ พระธรรม ค่าล้ำยางพารา งามตาแก่งอาฮง บึงโขงหลงเพลินใจ น้ำตกใสเจ็ดสี ประเพณแี ข่งเรอื เหนอื สดุ แดนอสี าน นมัสการองคพ์ ระใหญ่ ” ❖ จงั หวัดนครพนม เป็นเมอื งชายแดนท่มี คี วามอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทวิ ทศั น์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรม และชาติพันธ์ุ รวมทั้งประวัติศาสตรท์ ีย่ าวนานมีองค์พระธาตพุ นม ซ่งึ เปน็ พระธาตเุ จดีย์ อนั ศกั ดสิ์ ิทธิ์ ภายในบรรจุ พระอุรงั คธาตุ เป็นทส่ี กั การะ ศนู ย์รวมจิตใจ ความศรทั ธาของชาวจังหวัดนครพนม ถอื เปน็ สิ่งศักด์ิสิทธ์ิคู่เมือ ง นครพนมมาแต่โบราณกาลกว่า 2500 ปี นอกจากน้ี ยงั มพี ระธาตุอื่น ๆ ที่ชาวจังหวดั นครพนมเคารพนับถอื ได้แก่ พระธาตปุ ระสิทธิ์ พระธาตุทา่ อเุ ทน พระธาตุเรณู พระธาตศุ รีคณุ พระธาตุนคร และพระธาตุมหาชัย เป็นต้น ซง่ึ ถอื เป็นเมอื งพระธาตโุ ดยแท้ และเปน็ จงั หวัดชายแดนรมิ โขง ตรงข้ามกบั เมืองทา่ แขกของลาว เปน็ เมืองเก่าแก่ เคียงคู่กับอาณาจักรศรีโคตรบรู ณ์ โดยมีคำขวญั ของจังหวัด “ พระธาตุพนมค่าลำ้ วัฒนธรรมหลากหลาย เรณผู ู้ไท เรอื ไฟโสภา งามตาฝง่ั โขง ” ❖ จังหวัดมกุ ดาหาร เป็นจงั หวดั ชายแดน อย่ใู นแอง่ สกลนคร เป็นจังหวดั ทอ่ งเท่ียวสำคัญของภาคอีสาน ภูมิประเทศติดกับ แม่นำ้ โขง มหี อแก้วมกุ ดาหารและมสี ถานทีท่ อ่ งเท่ียวทางธรรมชาติมากมาย เช่นอุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ ภูสระ ดอกบวั วดั ภมู โนรมย์ เปน็ ตน้ ประชาชนจังหวัดมุกดาหาร มีถึง 8 ชนเผา่ อันไดแ้ ก่ ชาวผู้ไท ชาวไทยญ้อ ชาวไทย ข่าชาวไทยโซ่ ชาวไทยกะเลิง ชาวไทยแสก ชาวไทยกุลา และชาวไทยอสี าน ดงั คำขวญั ของจังหวัด “หอแก้วสูง เสยี ดฟ้า ภูผาเทิบแกง่ กะเบา แปดชนเผา่ พนื้ เมอื ง ลือเล่ืองมะขามหวาน กองโบราณล้ำเลศิ ถ่นิ กำเนิดลำผญา ตระการตาชายโขง เช่ือมโยงอินโดจนี ”ชาวมุกดาหารส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ สำคัญ และยังคงถือปฏบิ ตั สิ ืบต่อกันมา คือ “ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่” และยงั คงมวี ัฒนธรรม ประเพณขี องชนเผ่าที่ รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดในเขตพน้ื ทีร่ ับผิดชอบสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

11 ควรอนรุ ักษ์ ฟื้นฟแู ละยังคงมอี ยู่ คือ ถัง่ บ้งั พิธีเหยา พิธีบายศรีสู่ขวัญ การรำเต้ยหัวดอ นต าล การรำวงผู้ไท การลำผญา เปน็ ตน้ งานประเพณีที่สำคัญ ไดแ้ ก่ งานประเพณีแข่งเรือออกพรรษาระหว่างจังหวัดมุกดาหารกับ แขวงสะหวนั นะเขต จดั ข้นึ ในวันข้นึ 13-15 ค่ำ เดอื น 11 ของทกุ ปี งานกาชาดและงานประจำปจี ังหวัดมุกดาหาร จดั ขึ้นเป็นประจำทกุ ปใี นช่วงเดอื นมกราคม ❖ จงั หวดั สกลนคร มปี ระวัติศาสตรม์ ายาวนาน ตงั้ แต่สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ โดยมีการขดุ พบฟอสซลิ ไดโนเสารบ์ ริเวณแนว ทวิ เขาภพู าน อำเภอวาริชภูมิ ภาพเขยี นสีก่อนประวัตศิ าสตร์ ชุมชนโบราณในพื้นท่จี ังหวดั สกลนค รอยู่ร่วมสมัย เดียวกบั อารยธรรมบา้ นเชียงในจังหวดั อุดรธานี จากการสำรวจแหล่งชมุ ชนโบราณในพน้ื ที่ แอ่งสกลนคร บรเิ วณลุ่ม แม่นำ้ สงครามครอบคลมุ พนื้ ทบ่ี างส่วนของอำเภอบา้ นดุง อำเภอหนองหาน จงั หวดั อุดรธานี อำเภอสวา่ งแดนดิน อำเภอวารชิ ภูมิ อำเภอพังโคน อำเภอวานรนิวาส อำเภอพรรณานคิ ม และรอบ ๆ หนองหาน อำเภอเมืองสกลนคร พบแหล่งโบราณคดีกอ่ นประวัติศาสตร์จำนวน 83 แห่ง ชมุ ชนโบราณของ แอ่งสกลนครนมี้ อี ายปุ ระมาณ 600 ปี กอ่ นพทุ ธกาลจนถึงพทุ ธศตวรรษที่ 8 (ระหว่าง 3,000-1,800 ปมี าแลว้ ) จากหลกั ฐานการค้นพบตา่ ง ๆ ของท่ีนี่ พบวา่ ชมุ ชนโบราณในแอ่งสกลนครไดม้ ีการรวมตัวกนั เป็นสังคมขนาดใหญ่และอาจจะพัฒนาเปน็ สังคมเมือ งใน สมัยตอ่ มา สกลนครเป็นแหล่งธรรมะ(ดินแดนแห่งธรรม)มีปูชนียสถานท่ีสำคัญทางพระพุทธศาสนาหลายแห่ง เช่น พระธาตเุ ชงิ ชมุ พระธาตดุ มู พระธาตุนารายณเ์ จงเวง พระธาตุศรมี งคล พระธาตภุ เู พ็ก และมพี ระเกจิอาจารย์ดัง ท่ีเปน็ ท่ีรูจ้ ักของคนท้งั ประเทศ อาทิ พระอาจารย์ม่นั ภูริทตั โต, พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร, หลวงปูห่ ลยุ จันทสาโร, พระอาจารย์วัน อุตตโม และหลวงปู่เทสก์เทสก์รงั สี เป็นต้น ดังคำขวญั ของจงั หวัด “พระธาตุเชิงชุมค่บู ้าน พระตำหนักภูพานค่เู มือง งามลือเล่อื ง หนองหาน แลตระการปราสาทผงึ้ สวยสดุ ซึ้งสาวภูไท ถิ่นมน่ั ในพุทธ ธรรม”ประเพณีท่ีสำคัญ ได้แก่ เทศกาลนมัสการองค์พระธาตเุ ชิงชุมและหลวงพอ่ องค์แสนเทศกาลตรุษ ไทสกล คนจีน เวียดนาม งานรวมน้ำใจไทสกลและงานกาชาดจงั หวัดสกลนคร เทศกาลโสร้ ำลึก บุญข้าวจ่ี เซิ้งผโี ขน วนั วสิ าขบูชา ประเพณแี ห่ปราสาทผง้ึ ลอยพระประทีปพระราชทาน สบิ สองเพ็งไทสกล ประเพณีแหด่ าว เทศกาล ครสิ ต์มาส จังหวัดสกลนคร รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

12 ❖จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ จังหวดั กาฬสินธม์ุ ีการสืบสานประเพณีท้องถ่ินอีสาน “ฮตี สิบสอง คองสิบสี่” เช่น งานมหกรรม โปงลาง แพรวา และงานกาชาด งานมหกรรมวิจิตรแพรวาราชินีแห่งไหม งานบญุ บง้ั ไฟตะไลล้าน บ้านกุดหวา้ งานสรงน้ำ พระธาตุยาคู งานประเพณตี กั บาตรเทโวโรหณะ งานบุญคูณลาน และมหกรรม เสง็ กลองกง่ิ ประเพณที อ้ งถน่ิ อีสาน “ฮีตสิบสอง คองสิบส่ี” คำว่า “ฮีต” คือ “จารีต และ “สิบสอง” หมายถึงสิบสองเดอื น ดังน้ัน “ฮีตสิบสอง” จงึ หมายถึงประเพณีทช่ี าวลาวในภาคอีสานปฏิบตั ิกันมาในโอกาสตา่ ง ๆ ทัง้ สบิ สองเดอื นขอ งแต่ละปีเป็นการ ผสมผสานพิธีกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องผีและพิธีกรรมทางการเกษตรเข้ากับพิธีกรรมทางพุทธศาสนา ขณะท่ี “คองสิบสี่” เปน็ คำและข้อปฏิบัติคู่กับ “ฮีตสบิ สอง”คำว่า “คอง” แปลว่า แนวทาง หรือ ครรลอง ธรรมเนียม ประเพณี และ “สบิ สี่” หมายถึง ข้อวัตรหรือแนวทางปฏิบตั ิสิบสี่ข้อ ดังนน้ั “คองสบิ สี่” จงึ หมายถึง ขอ้ วัตรหรือ แนวทางท่ปี ระชาชนทุกระดับ นบั ตง้ั แตพ่ ระมหากษตั ริย์ ผมู้ ีหน้าที่ปกครองบา้ นเมอื ง พระสงฆ์ และ คนธรรมดา สามัญพึงปฏบิ ัติสบิ ส่ขี ้อ นอกนยี้ ังมีวัฒนธรรมทีโ่ ดดเดน่ และเปน็ เอกลักษณ์ อย่าง “วัฒนธรรมภไู ท” หรือ“วัฒนธรรมผู้ไท”ชาวผู้ไท เป็น ชนกลุ่มน้อยที่อพยพมาจากเมืองวัง และเมืองตะโปน ซึ่งอยู่ทาง ทิศตะวันออกของเมืองสะหวันนะเขต ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน และแยกย้ายกันต้ังหลักแหล่งอยูบ่ ริเวณเทอื กเขาภูพาน ในเขต 3 จังหวัด คือ จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม โดยชาว ผู้ไทจังหวัดกาฬสินธุ์ อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเขาวง อำเภอ กุฉนิ ารายณ์ อำเภอสหสั ขันธอ์ ำเภอคำมว่ ง ชาวผู้ไท จะมอี ัตลกั ษณ์เฉพาะตัว เชน่ วัฒนธรรมการแตง่ กาย การฟ้อน ลกั ษณะ การสรา้ งบา้ นเรือน ลักษณะทางสงั คม และวถิ ชี ีวติ เปน็ ต้น ❖จังหวดั อำนาจเจรญิ อำนาจเจริญ เป็นจังหวัด มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานจากการค้นพบแหล่งชุมชน โบราณ โบราณสถาน และโบราณวัตถตุ ามท่กี รมศลิ ปากรคน้ พบและสันนิษฐานไวต้ ามหลกั ฐานทางโบราณคดี (ใบเสมาอายุ ราว 1,000 ปี) และไดต้ ั้งเป็นเมืองมานานหลายร้อยปี คำว่าอำนาจเจรญิ เป็นคำยมื จากภาษาเขมร มีความหมาย ตามตวั คอื อำนาจเจรญิ เมอื งทมี่ ีสมญานามวา่ เมอื งขา้ วหอมโอชา ถน่ิ เสมาพันปี โดยชาวอำนาจเจริญ ปฏิบัติ สืบเน่ืองตอ่ มาจนปจั จบุ ัน คอื ฮีตสิบสอง ซง่ึ เปน็ จารีตประเพณีท่ีประชาชนนำมาปฏบิ ตั ิประจำเดือน ท้งั ๑๒ เดือน ในรอบปี เปน็ ประเพณีการทำบญุ ประจำเดอื นที่เก่ียวเนอ่ื งกับพุทธศาสนาโดยจดั งานฮีตสิบสองและงานกาชาด ให้ เป็นงานประจำปี ในวนั ที่ ๑-๑๐ ธนั วาคม ของทกุ ปี และมงี านประเพณีประจำปีที่สำคัญ ได้แก่ งานนมัสการ พระมงคลมงิ่ เมอื ง (พระใหญ่) งานนมัสการพระเหลาเทพนิมติ งานบุญคนู ลาน งานบญุ บ้ังไฟ งานแข่งเรือยาว ลอ่ งนำ้ โขง งานครสู ลามายามบา้ น(งานมหรสรรพ)งานบุญขา้ วจ่ี และมพี ิธีกรรมทอ้ งถิ่น ได้แก่ การละเล่นพนื้ บา้ น รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวดั ในเขตพ้ืนที่รับผดิ ชอบสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

13 การเส็งกลองกิ่ง วิถีชีวิตชนเผ่าภูไท พิธีกรรม รำผีไท้ ดังคำขวัญจังหวัด “พระมงคลมิ่งเมือง แหล่งรุ่งเรอื ง เจด็ ลุ่มนำ้ งามลำ้ ถ้ำศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ เทพนิมิตพระเหลา เกาะแก่งเขาแสนสวย เลอคา่ ด้วยผ้าไหม ราษฏร์เลื่อมใส ใฝธ่ รรม ” ❖ จังหวัดอบุ ลราชธานี มีภาษาถน่ิ วัฒนธรรมและประเพณีที่โดดเด่น คอื ประเพณีแห่เทยี นพรรษาทุ่งศรีเมืองอุบลราชธานีและ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางธรรมชาตอิ กี มากมายไม่ว่าจะเป็นผาแต้ม ผาชนะได สามพันโบก เสาเฉลยี ง น้ำตกแสงจันทร์ และ ความงามตามธรรมชาติของแม่น้ำโขง ดังคำขวัญของจังหวัด “เมืองดอกบัวงาม แม่น้ำสองสี มปี ลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถน่ิ ไทยนกั ปราชญ์ ทวยราษฎรไ์ ฝ่ธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ผาแตม้ ก่อน ประวตั ิศาสตร์ ” ความพิเศษอกี อย่างหนึ่งคือเป็นจังหวดั ที่แม่น้ำสายสำคญั ท้ังหมดของภาคอีสานทั้งโขงชีมูล ไหลมาบรรจบกัน โดยแม่น้ำชีและแม่น้ำมูลไหลมารวมกันทีอ่ ำเภอวารินชำราบซึ่งเป็นสถานทต่ี ั้งขอ ง สถานีรถไฟ หลกั ท่ไี ม่ได้ตั้งอยู่ในอำเภอเมอื งเชน่ จงั หวัดอนื่ ๆ ท่วั ไป สว่ นสถานทร่ี าชการศาลากลางประจำจงั หวัด สนามบิน อุบลราชธานีอยู่ฝั่งอำเภอเมืองซึ่งเชื่อมกับอำเภอวารินด้วยสะพานรัตนโกสินทร์ 200 ปี และสะพานเสรี ประชาธปิ ไตย โดยมีแม่นำ้ มลู ไหลกั้นทุ่งศรีเมอื งและอำเภอวารินชำราบ กอ่ นจะไหลไปรวมกับแม่น้ำโขงบริเวณ จุดชมววิ ทางธรรมชาติ โขงสีปูน มูลสีคราม อำเภอโขงเจียมตอ่ ไป และจังหวดั อุบลราชธานีเป็นเมือ งใหญ่ริมฝ่ัง แมน่ ำ้ มลู ท่มี ปี ระวัติศาสตร์ทย่ี าวนานมากว่า 200 ปี และ แหลง่ โบราณคดบี า้ นกา้ นเหลอื งยคุ ก่อนประวัติศาสต ร์ ตง้ั อยูใ่ นบริเวณวัดบ้านก้านเหลอื ง ตำบลขามใหญ่ในตัวอำเภอเมือง กรมศิลปากรได้ทำการขดุ ค้นเม่ือ ปี 2539 พบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย เช่น ลูกปดั เครอ่ื งปน้ั ดินเผา การทำโลหะผสม กระพรวนสำรดิ ขวานเหล็ก และ แกลบข้าวจำนวนมาก แต่ไมพ่ บโครงกระดูกมนษุ ย์ สนั นิษฐานวา่ ชุมชนโบราณแห่งน้ีเป็นแหล่งโบราณคดีที่มีอายุ ระหว่าง 2,500-2,800 ปมี าแลว้ อยใู่ นยคุ โลหะตอนปลาย รายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จังหวดั ในเขตพ้ืนทร่ี ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

14 2.7 ดา้ นสาธารณสขุ ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนหน่วยบริการสาธารณสขุ ภาครัฐและภาคเอกชน จำแนกตามจงั หวัดในเขตพ้นื ที่ รับผิดชอบของ สสว.6 จังหวดั โรงพยาบาลสงั กดั ภาครัฐ (แห่ง) (หนว่ ย:แหง่ ) โรงพยาบาล รวม สังกดั เอกชน (แห่ง) รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อ่ืน ๆ บึงกาฬ 0 1 7 61 118 0 187 166 นครพนม 0 1 11 152 2 0 188 90 สกลนคร 1 2 15 168 1 1 180 88 มกุ ดาหาร 0 1 6 78 4 1 385 1,284 กาฬสินธ์ุ 0 1 17 156 4 2 อำนาจเจรญิ 0 1 6 77 4 0 อุบลราชธานี 1 3 22 317 38 4 รวม 2 10 84 1,009 171 8 ที่มา : HDC Report กระทรวงสาธารณสขุ ณ วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2564 หมายเหต.ุ รพศ.=โรงพยาบาลศนู ย์ รพท. = โรงพยาบาลทว่ั ไป รพ.สต. = โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล รพช. = โรงพยาบาลชมุ ชน อืน่ ๆ = ศูนยส์ ุขภาพชมุ ชน แผนภาพที่ 4 แสดงจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุข ในเขตพื้นท่รี ับผดิ ชอบของ สสว.6 ท่ีมา : HDC Report กระทรวงสาธารณสขุ ณ วนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน 2564 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

15 จากตารางท่ี 4 แผนภูมิที่ 4 ขอ้ มูลแสดงจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐและเอกชนในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.6 พบว่า มีจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขในเขตพ้ืนทรี่ ับผิดชอบของ สสว.6 ทง้ั ส้นิ 1,284 แหง่ แบ่งออกเป็นโรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) จำนวน 2 แห่งโรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.) จำนวน 10 แห่ง โรงพยาบาล ชมุ ชน (รพช.) จำนวน 84 แหง่ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) จำนวน 1,009 แห่ง และโรงพยาบาล เอกชน จำนวน 8 แหง่ จังหวัดที่มีหน่วยบริการสาธารณสุขมากที่สุด คือ จงั หวดั อุบลราชธานี มจี ำนวน 385 แห่ง รองลงมา คือ จังหวดั สกลนคร จังหวดั บงึ กาฬ จงั หวดั กาฬสินธ์ุ จังหวดั นครพนม จงั หวดั มุกดาหารและจังหวัด อำนาจเจริญ ตามลำดบั ทั้งนจ้ี ากการเปรียบจำนวน รพ.สต. กับจำนวนตำบลท้งั หมดในพื้นทที่ ้ัง 7 จังหวดั พบว่า ทุกจังหวัดมี รพ.สต. ประจำตำบลมากกว่า 1 แห่ง ดังนั้นแสดงให้เห็นว่าประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ สาธารสุขเบ้อื งตน้ ในพ้ืนท่ีไดอ้ ยา่ งทัว่ ถึง ตารางที่ 5 แสดงจำนวนประชากรตอ่ แพทย์รายจงั หวดั (หนว่ ย : คน) จงั หวัด แพทย์ ประชากร ประชากรตอ่ แพทย์ บึงกาฬ 364 422,042 1,159:1 นครพนม 668 717,200 1,074 :1 สกลนคร 1,079 1,146,936 1,063:1 มกุ ดาหาร 85 350,911 4,128:1 กาฬสินธุ์ 969 977,175 1,008 :1 อำนาจเจรญิ 433 376,195 869:1 อุบลราชธานี 5,749 1,866,697 325:1 รวม 9,347 5,857,156 627:1 ทม่ี า : ฐานข้อมูลสารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข https://hdcservice.moph.go.th/ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน 2564 แผนภาพที่ 5 แสดงจำนวนประชากรตอ่ แพทยร์ ายจงั หวดั ในเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบของ สสว.6 ท่ีมา : ฐานข้อมลู สารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข https://hdcservice.moph.go.th/ ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 จากตารางท่ี 5 แผนภาพที่ 5 แสดงจำนวนประชากรต่อแพทย์ในเขตพื้นทร่ี ับผดิ ชอบของ สสว.6 มีจำนวน 9,347 คน คดิ เป็นสดั ส่วนจำนวนประชากร 627 คน ตอ่ แพทย์ 1 คน จังหวดั ที่มีจำนวนประชากรต่อแพทย์มาก รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดในเขตพ้นื ท่รี ับผิดชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

16 ทส่ี ุด คอื จังหวัดมกุ ดาหาร มี 4,128 : 1 คน รองลงมา คือ จังหวดั บึงกาฬ จังหวัดร้นครพนม จังหวัดสกลนคร จังหวัดกาฬสินธุ์ จงั หวดั อำนาจเจริญ และจงั หวัดอุบลราชธานี ตามลำดับ ทั้งน้ี องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำวา่ ประชากร 1,000 คน ขนึ้ ไป ควรมแี พทย์และพยาบาลผดุงครรภร์ วมกนั ประมาณ 4.5 คน จึงเป็นระดับที่ เหมาะสม ตารางที่ 6 แสดงสาเหตกุ ารตาย 5 อนั ดับแรกจากโรคตา่ งๆ จังหวดั ในเขตพื้นทีร่ บั ผิดชอบของ สสว.6 (หนว่ ย:คน) จงั หวดั สาเหตกุ ารตาย (แยกกลุ่มโรค) จำนวน(คน) บงึ กาฬ โรคปอดบวม 147 นครพนม โรคไตวาย 139 สกลนคร โรคเบาหวาน 133 มกุ ดาหาร โรคตดิ เช้ือในกระแสเลือด 132 กาฬสินธ์ุ โรคเนือ้ งอกรา้ ยของตบั 108 โรคหวั ใจล้มเหลว ไมร่ ะบรุ ายละเอียด 11327 โรคความดันโลหติ สูง 5812 โรคหวั ใจลม้ เหลว 5409 โรคเบาหวาน 3430 โรคไตวายเร้ือรัง 2539 โรคเสอื่ มอ่นื ๆของระบบประสาท ไม่ระบุรายละเอียด 491 โรคเน้อื งอกรา้ ยของตบั ไมร่ ะบุรายละเอยี ด 479 โรคตดิ เช้ือในกระแสเลอื ด ไม่ระบชุ นิด 425 โรคชรา 422 โรคปอดบวม 356 โรคมะเรง็ และเนอ้ื งอกทุกชนดิ 413 โรคไตอกั เสบ กลุ่มอาการของไตพกิ าร 190 โรคเบาหวาน 102 โรคหัวใจ 94 โรคอุบัตเิ หตุทกุ ชนดิ 83 วยั ชรา 426 หัวใจล้มเหลว ไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด 213 เบาหวานชนดิ ทไี่ ม่ต้องพ่งึ อนิ ซูลิน ไมม่ ีภาวะแทรกซ้อน 198 มะเร็งเซลลต์ ับ 180 การติดเชื้อในกระแสเลือด ไมร่ ะบุชนิด 158 อำนาจเจรญิ โรคเส่ือมอ่นื ๆของระบบประสาท ไม่ระบุรายละเอยี ด 127 โรคเบาหวาน 53 โรคหวั ใจลม้ เหลว 51 โรคเส่อื มของสมองในวัยชรา 45 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดในเขตพื้นทีร่ ับผิดชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

17 จงั หวัด สาเหตุการตาย (แยกกลมุ่ โรค) จำนวน(คน) โรคติดเชือ้ ในกระแสเลอื ด 44 อุบลราชธานี โรคชรา 730 โรคหัวใจล้มเหลว 642 โรคติดเชือ้ ในกระแสเลือด 263 โรคไตวายเร้อื รงั 244 โรคมะเร็งตับ 120 ท่มี า : HDC Report กระทรวงสาธารณสุข/แหล่งอ่ืน ๆ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 แผนภาพที่ 6 แสดงสาเหตกุ ารตาย 5 อันดับแรก จากโรคตา่ งๆ ในพน้ื ท่ีกลุม่ จังหวดั แผนภูมแิ สดงสาเหตกุ ารตาย 5 อนั ดับแรกจากโรคต่าง ๆ ของจังหวดั ในเขตพน้ื ท่ีรบั ผดิ ชอบ สสว.6 12000 10000 8000 6000 4000 2000 0 โรคปอดบวม โรคไตวาย โรคเบาหวาน โรคต ิดเช ้ือในกระแสเล ือด โรคเน้ืองอกร ้ายของตับ โรคหัวใจล ้มเหลว ไม่ระ ุบ… โรคความ ัดนโลหิตสูง โรคหัวใจล ้มเหลว โรคเบาหวาน โรคไตวายเรื้อ ัรง โรคเส ่ือมอ ่ืนๆของระบบประสาท… โรคเน้ืองอกร ้ายของตับ ไม่ระ ุบ… โรคติดเช้ือในกระแสเลือด ไม่ระ ุบ… โรคชรา โรคปอดบวม โรคมะเ ็รง และเนื้องอก ุทกชนิด โรคไตอักเสบ ก ุล่มอาการของไต… โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคอุ ับติเหตุ ุทกชนิด ัวยชรา หัวใจล ้มเหลว ไม่ระ ุบรายละเอียด เบาหวานชนิดท่ีไม่ต ้องพึ่ง… มะเ ็รงเซลล์ตับ การติดเช้ือในกระแสเลือด ไม่ระ ุบ… โรคเส ื่อมอ ่ืนๆของระบบประสาท… โรคเบาหวาน โรคหัวใจล ้มเหลว โรคเส่ือมของสมองใน ัวยชรา โรคต ิดเช ื้อในกระแสเล ือด โรคชรา โรคหัวใจล ้มเหลว โรคต ิดเช ้ือในกระแสเล ือด โรคไตวายเรื้อ ัรง โรคมะเ ็รงตับ บงึ กาฬ นครพนม สกลนคร มุกดาหาร กาฬสนิ ธุ์ อานาจเจริญ อบุ ลราชธานี ที่มา : HDC Report กระทรวงสาธารณสุข/แหล่งอื่น ๆ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 มิถุนายน 2564 จากตารางท่ี 6 และแผนภาพที่ 6 แสดงสาเหตุการตาย จากโรคตา่ งๆ ของจงั หวัดในเขตพื้นท่ีรับผิด ชอบ ของ สสว.๖ พบว่า สาเหตุการตายอันดับ 1 ในแต่ละจังหวัดมีความแตกตา่ งกัน กล่าวคือ จังหวัดนครพนม โรคหัวใจลม้ เหลว ไม่ระบุรายละเอียดปน็ สาเหตุการตายอนั ดบั ท่ี 1 มจี ำนวน 11,327 คน จงั หวัดสกลนคร โรคเส่ือม อื่นๆ ของระบบประสาท ไม่ระบรุ ายละเอียด เป็นสาเหตุการตายอนั ดับที่ 1 มีจำนวน 491 คน จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ โรควัยชรา เป็นสาเหตุการตายอนั ดับท่ี 1 มีจำนวน 426 คน จงั หวดั บึงกาฬ โรคปอดบวม เป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 1 มีจำนวน 417 คน และ จังหวดั กาฬสินธ์ุ โรควัยชรา เป็นสาเหตกุ ารตายอนั ดับที่ 1 มจี ำนวน 413 คน ตามลำดบั รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพนื้ ทีร่ ับผดิ ชอบสำนักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

18 2.8 ดา้ นการศกึ ษา (หน่วย:คน) ตารางที่ 7 จำนวนนักเรยี นนกั ศึกษาในระบบ จำแนกตามระดับชนั้ ปี พ.ศ.2563 จงั หวดั ระดับการศึกษา (คน) อนบุ าล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ปวช. ปวส. ป.ตรี รวม บึงกาฬ 10,161 32,473 15,321 7,384 5,523 2,312 126 73,300 นครพนม 6,457 24,117 2,654 44,734 7,605 3,340 10,090 98,997 สกลนคร 26,663 82,517 49,453 30,973 16,079 8,549 17,062 231,296 มุกดาหาร 14,367 25,425 14,946 7,817 2,910 1,722 12 67,199 กาฬสนิ ธุ์ 19,413 62,353 29,925 17,413 8,965 3,843 3,908 145,820 อำนาจเจริญ 7,693 25,041 15,965 11,132 4,240 1,968 605 66,644 อุบลราชธานี 42,232 133,963 65,578 32,626 17,788 11,143 31,802 335,132 รวม 126,986 385,889 193,842 152,079 63,110 32,877 63,605 1,018,388 ทีม่ า : ระบบข้อมลู กลางด้านการศกึ ษา สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ สบื คน้ www.eduwh.moe.go.th ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 แผนภาพที่ 7 แสดงจำนวนนกั เรยี น นกั ศึกษา จำแนกตามระดับช้นั ปีการศกึ ษา 2563 ในเขตพ้นื ท่รี ับผิดชอบของ สสว.6 จากตารางท่ี 7 และแผนภาพท่ี 7 แสดงจำนวนนักเรียน นักศกึ ษา จำแนกตามระดบั ชน้ั ปกี ารศกึ ษา 2563 พบว่า จำนวน นักเรียน นักศึกษาจำแนกตามระดบั ชัน้ ในพื้นท่ีในเขตพนื้ ทีร่ ับผดิ ชอบของ สสว.6 มจี ำนวนทงั้ สิน้ 1,018,388 คน ส่วนใหญ่อย่ใู นชว่ งระดบั ประถมศึกษา จำนวน 385,889 คน รองลงมา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นจำนวน 193,842 คน, ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 152,079 คน ระดบั อนบุ าล จำนวน 126,986 คน, และระดบั ปริญญาตรี. จำนวน 63,605 คน ระดบั ปวช. จำนวน 63,110 คน ระดบั ปวส. จำนวน 32,877 คน ตามลำดบั รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวัดในเขตพนื้ ท่ีรับผิดชอบสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

19 ตารางท่ี 8 สถานศกึ ษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกดั รายจงั หวดั ปกี ารศกึ ษา 2563 (หนว่ ย:จำนวน:แห่ง) ทม่ี า : ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ณ วันที่ 30 มถิ ุนายน 2564 จากตารางที่ 8 แสดงสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกดั รายจังหวดั ปกี ารศึกษา 2563 ในพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.6 พบว่ามีสถานศึกษา รวมทั้งสิ้น 7,147 แห่ง มีสถานศึกษาในระบบจำนวน 5,398 แห่ง แบ่งออกเป็นสถานศกึ ษาในสังกัดสพฐ.จำนวน 3,657 แหง่ สถาบนั เอกชน จำนวน 248 แหง่ สถาบัน อาชวี ศกึ ษา จำนวน 95 แห่ง สถาบนั อุดมศึกษา จำนวน 19 แหง่ สถาบันสังกดั อปท มีจำนวน 992 แหง่ สังกัด สำนกั พทุ ธศาสนาแห่งชาติจำนวน 134 แหง่ สถาบันตำรวจตะเวนชายแดน(ตชด.) จำนวน 251 แห่ง ศึกษานอก ระบบ ได้แก่ กศน.มจี ำนวน 1,749 แห่ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี มจี ำนวนสถานศึกษามากท่สี ุด มจี ำนวน 3,134 แห่ง รองลงมา จงั หวดั สกลนคร จำนวน 1,344 แห่ง และจงั หวดั มุกดาหาร มจี ำนวนสถานศึกษา นอ้ ยท่สี ดุ มจี ำนวน 314 แห่ง ตารางที่ 9 คะแนนเฉล่ียการทดสอบ O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2561 – 2563 จงั หวดั ปีการศึกษา 2561 2562 2563 ระดับประเทศ 34.8 33.23 35.02 บึงกาฬ 30.60 28.51 30.10 นครพนม 30.68 28.73 29.07 สกลนคร 32.41 30.35 31.73 มุกดาหาร 35.02 32.34 32.99 กาฬสนิ ธุ์ 30.34 29.08 30.32 อำนาจเจรญิ 30.91 28.77 30.50 อบุ ลราชธานี 31.64 29.46 30.95 ทมี่ า : สถาบันทดสอบการศกึ ษาแห่งชาติ https://www.niets.or.th/th/catalog/view/3121 ข้อมลู ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2564 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จังหวัดในเขตพ้นื ที่รับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

20 จากตารางท่ี 9 แสดงคะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ.2561- 2563 ในพื้นที่ 7 จังหวัดของกลุ่มจังหวัดในเขตพน้ื ที่รับผดิ ชอบของ สสว.6 พบวา่ ในปี 2561-2563 ส่วนใหญ่ มคี า่ เฉลย่ี คะแนนต่ำกวา่ ระดบั ประเทศเพียงเล็กน้อย และเม่อื เปรียบเทียบปี พ.ศ.2562-2563 ทุกจงั หวดั มแี นวโน้ม คะแนนเฉลย่ี การทดสอบ O-Net ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายเพมิ่ ข้ึน ตารางที่ 10 ค่าเฉลี่ยเชาวน์ปญั ญา (IQ) ของเดก็ นักเรยี นไทยชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 (คะแนน) ปี พ.ศ. 2562 จังหวัด ค่าเฉลยี่ เชาวน์ปัญญา (IQ) ระดบั ประเทศ 98.23 บึงกาฬ 94.09 นครพนม 96.37 สกลนคร 93.75 มกุ ดาหาร 91.26 กาฬสินธ์ุ 93.33 อำนาจเจริญ 90.75 อบุ ลราชธานี 89.67 ทีม่ า : กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ พ.ศ.2559 ดัชนคี วามก้าวหน้าของคนประจำปี 2562 สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สคช.) ข้อมลู ณ กันยายน 2562 จากตารางที่ 10 แสดงคา่ เฉลี่ยเชาว์ปัญญา (IQ) ของเดก็ นักเรยี นไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 (คะแนน) ปี 2562 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว. 6 พบว่า ค่าเฉลี่ยเชาว์ปัญญา (IQ) ส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่า ระดบั ประเทศ ( 98.23 ) มี 6 จงั หวัดมีค่าเฉล่ียอยู่ในเกณฑ์ปกตคิ อื IQ ช่วง 90-109 ได้แก่ จงั หวดั นครพนม 96.37 จงั หวดั สกลนคร 93.75 จังหวดั มกุ ดาหาร 91.26 จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ 93.33 จงั หวัดอำนาจเจรญิ 90.75 มี 1 จงั หวัด คอื จงั หวัดอบุ ลราชธานี มคี ่าเฉลยี่ IQ 89.67 ซ่ึงตำ่ กวา่ ปกตเิ ล็กน้อย ดังนน้ั บคุ ลากรทางการศกึ ษาและครอบครัว ควรใหค้ วามสำคญั และส่งเสริมพฒั นา IQ ของเดก็ ในกล่มุ เปา้ หมาย เนื่องจากมปี ัจจัยสง่ เสริมหลายปัจจัยในการ พัฒนาเชาวน์ปัญญา (IQ) รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จงั หวัดในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

21 2.9 ด้านแรงงาน ตารางที่ 11 ภาวการณม์ ีงานทำของประชากรในกลมุ่ จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.6 ไตรมาส 4 (ตลุ าคม – ธันวาคม ๒๕๖๓) (หนว่ ย:คน) จังหวดั กำลงั แรงงานในปจั จบุ ัน กำลงั แรงงานท่ีรอ ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน ผ้มู ีงานทำ ผู้วา่ งงาน ฤดูกาล ทำงาน เรยี น อื่นๆ บา้ น หนงั สือ บึงกาฬ 175,247 2,586 1,463 22,227 20,237 47,595 นครพนม 289,005 7,500 1,979 28,950 41,587 72,927 สกลนคร 441,195 11,272 1,162 74,401 57,405 144,438 มุกดาหาร 191,983 1,669 - 16,047 22,132 43,335 กาฬสินธ์ุ 406,992 3,653 519 93,930 53,215 94,226 อำนาจเจรญิ 132,754 1,691 2,173 23,039 17,783 42,256 อบุ ลราชธานี 892,794 831 - 468,701 121,613 254,320 รวม 2,529,970 29,202 7,296 727,295 333,972 699,097 หมายเหตุ อน่ื ๆ หมายถึง ยังเดก็ หรอื ชรา ปว่ ย พิการฯลฯ จนไมส่ ามารถทำงานได้ พักผ่อน และเกษียณการทำงาน ทมี่ า : สำนักงานสถติ แิ ห่งชาติ ข้อมูล ณ ไตรมาส 4 (ตลุ าคม -ธันวาคม 2563) จากตารางที่ 11 แสดงภาวการณ์มีงานทำของประชากรกล่มุ จังหวดั ในเขตพื้นทร่ี ับผิดชอบขอ ง สสว.6 พบวา่ กำลงั แรงงาน มที ง้ั สนิ้ 2,559,172 คน แบง่ เป็น ผ้มู งี านทำจำนวน 2,529,970 คน ผูว้ ่างงานจำนวน 29,202 คน กำลังแรงงานทีร่ อฤดกู าลจำนวน 7,296 คน ผ้ไู มอ่ ยใู่ นกำลงั แรงงาน (ทำงานบ้าน,เรยี นหนังสอื ,อนื่ ๆ) จำนวน 1,760,364 คน จังหวัดทม่ี กี ำลังแรงงานมากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ จงั หวดั อุบลราชธานี มจี ำนวน 893,625 คน รองลงมาคอื จังหวัดสกลนครจำนวน 452,467 คน จังหวดั กาฬสินธ์ุจำนวน 410,645 คน จังหวัดนครพนม จำนวน 296,505 คน จังหวดั มุกดาหาร จำนวน 193,652คน จังหวดั บึงกาฬจำนวน 177,833 คน อำนาจเจรญิ จำนวน 134,445 คน ตามลำดบั รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพน้ื ท่รี ับผิดชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

22 ตารางท่ี 12 จำนวนคนตา่ งด้าวท่ีได้รบั อนญุ าตทำงานคงเหลือ พ.ศ.255๙-256๓ ของกล่มุ จงั หวดั ในเขตพ้นื ท่ี รับผดิ ชอบ สสว.6 (หนว่ ย: คน) จงั หวดั 2559 2560 2561 2562 2563 บึงกาฬ 396 614 810 1,369 1,255 นครพนม 323 908 1,522 2,530 1,832 สกลนคร 457 712 1,210 2,037 1,848 มุกดาหาร 499 889 633 1,326 1,204 กาฬสินธ์ุ 418 513 555 1,248 656 อำนาจเจริญ 94 187 287 436 420 อุบลราชธานี 2,206 3,150 3,145 3,688 2,835 รวม 6,952 9,533 10,723 15,196 12,613 ท่มี า : สำนักงานสถติ ิแห่งชาติ ข้อมลู ณ ธนั วาคม 2563 แผนภาพที่ 8 กราฟแสดงจำนวนคนต่างดา้ วทไี่ ดร้ บั อนญุ าตทำงานคงเหลือ พ.ศ.2559-2563 จากตารางท่ี 12 แผนภาพท่ี 8 กราฟแสดงจำนวนคนต่างดา้ วทไ่ี ด้รับอนุญาตทำงานคงเหลือพ.ศ. 2559- 2563 กล่มุ จังหวดั ในเขตพ้ืนที่รับผดิ ชอบของ สสว.6 พบวา่ จำนวนคนต่างดา้ วท่ีได้รับอนุญาตทำงานค งเหลือมี จำนวนมากที่สุด ในปีพ.ศ.2562 มีจำนวน 15,196 คน รองลงมาในปี พ.ศ.2563 มีจำนวน 12,613 คน , ปี พ.ศ.2561 มีจำนวน 10,723 คน ,ปพี .ศ.2560 มีจำนวน 9,533 คน และปีพ.ศ.2559 มจี ำนวน 6,952 คน ตามลำดบั จะเหน็ ได้วา่ จำนวนคนตา่ งดา้ วทีไ่ ดร้ ับอนุญาตทำงานคงเหลอื 5 ปี ทผี่ ่านมามจี ำนวนเพิ่มข้นึ และคาดว่า มแี นวโน้มเพ่ิมขึน้ ในทุกๆปี รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จังหวัดในเขตพ้นื ท่รี ับผดิ ชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

23 2.10 ดา้ นทอี่ ยอู่ าศัย ตารางท่ี 13 แสดงจำนวนชุมชนผู้มีรายได้น้อยของกลมุ่ จังหวัด พ.ศ 2562 (หน่วย:แห่ง:คน) จงั หวัด จานวน ชุมชนแออัด ชุมชนเมอื ง ชุมชนชานเมือง จานวนบ้าน จานวน จานวน ครัวเรอื น ประชากร ชุมชน ชุมชน ครวั เรือน ชมุ ชน ครวั เรอื น ชุมชน ครวั เรือน 0 23 00 บึงกาฬ 0 0 0 0 0 0 0 19 23 92 22 19 76 นครพนม 1 0 0 0 0 1 23 30 22 88 0 30 120 สกลนคร 1 0 0 0 0 1 19 3729 00 3823 3318 9490 มกุ ดาหาร 1 1 22 0 0 0 0 3412 9866 กาฬสินธุ์ 1 1 30 0 0 0 0 อานาจเจริญ 0 0 0 0 0 0 0 อุบลราชธานี 8 8 420 0 0 7 2898 รวม 12 10 472 0 0 9 2940 ที่มา : รายงานสรุปและวิเคราะห์ฐานข้อมูลชมุ ชนผุ้มีรายไดน้ ้อยทัว่ ประเทศ ปี 2562 กองยุทธศาสตร์และ สารสนเทศท่อี ยูอ่ าศยั ฝา่ ยวชิ าการพัฒนาทีอ่ ยอู่ าศัย การเคหะแห่งชาติ ข้อมูล ณ ปี 2562 หมายเหตุ นิยาม 1. ชุมชนแออัด หมายถึง บริเวณพืน้ ทีท่ ี่ส่วนใหญ่มที ี่อยู่อาศัยอยา่ งหนาแน่น ไร้ระเบียบ และชำรดุ ทรดุ โทรม ประชาชนอย่กู นั อย่างแออัด หรือท่อี าศยั อยูร่ วมกัน โดยมีความสมั พันธ์ทางสังคม ซงึ่ มสี ภาพแวดล้อม ทไี่ ม่เหมาะสม อันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามยั และความปลอดภัยของผู้อย่อู าศัย 2.ชุมชนชานเมอื ง หมายถงึ ชุมชนทม่ี กี ารอยูอ่ าศัยคอ่ นข้างหนาแน่น ลกั ษณะการอ ยู่อาศัยส่วนใหญ่ มักเป็นบ้านและที่ดินของตนเอง หรือบ้านของตนเองที่ดินเช่า สภาพทางกายภาพและระบบสาธารณูปโภค คอ่ นข้างดี ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี ท่ีเป็นทางการ 3. ชุมชนชานเมือง หมายถึง ชุมชนที่มีการตั้งบ้านเรือนกระจายตามทีท่ ำกินเป็นกลุ่ม ๆ ประชากร ส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม หรืออาชีพต่อเนื่องท่สี ัมพันธ์กับเกษตรกรรม สภาพบา้ นเรือนค่อนข้างทรุด โทรมแต่ยงั ไม่หนาแนน่ ขาดระบบสาธารณปู โภคท่ดี ี จากตารางท่ี 13 แสดงจำนวนชมุ ชนผู้มีรายไดน้ อ้ ยของกลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนที่รับผิดชอ บขอ ง สสว. 6 พบว่า มจี ำนวนชมุ ชนผมู้ รี ายไดน้ ้อย ทง้ั สนิ้ 12 ชุมชน ประกอบดว้ ยชมุ ชนแออดั จำนวน 10 แหง่ และชุมชนชาน เมืองจำนวน 9 แหง่ มบี ้านจำนวน 3,823 หลัง มคี รวั เรือน 3,412 ครัวเรอื น และมีประชากร จำนวน 9,866 คน จังหวดั ทีม่ ีชุมชนผู้มรี ายไดน้ อ้ ยมากที่สดุ ไดแ้ ก่จังหวัดอุบลราชธานี มจี ำนวน 8 แห่ง รองลงมาคอื จังหวัดนครพนม จังหวดั สกลนคร จังหวัดมุกดาหาร จังหวดั กาฬสินธุ์ จำนวนจังหวดั ละ 1 แหง่ สว่ นจังหวัดบึงกาฬและจังหวัด อำนาจเจรญิ ไม่มจี ำนวนชมุ ชนผู้มรี ายได้น้อย รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวดั ในเขตพนื้ ทีร่ ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

24 2.11 ดา้ นเศรษฐกิจและรายได้ ผลิตภัณฑ์มวลรวม ตารางที่ 14 แสดงการขยายตัวของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผดิ ชอบสสว.6 ปีพ.ศ.2560-2562 จังหวัด อตั ราการขยายตัว GPP รอ้ ยละ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 0.2 บงึ กาฬ 8.2 -1.3 1.7 0.7 นครพนม 0.5 -0.4 5.8 -3.0 สกลนคร 1.1 2.6 5.4 0.2 มกุ ดาหาร 7.4 1.5 กาฬสนิ ธ์ุ 1.4 11.1 อำนาจเจรญิ 4.1 6.4 อบุ ลราชธานี 5.3 -1.3 ทีม่ า: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ข้อมูล ณ 11 พฤษภาคม 2564 แผนภาพท่ี 9 แสดงการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ปี 2560-2562 จากตารางที่ 14 และแผนภาพที่ 9 แสดงการขยายตวั ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ในเขตพน้ื ท่ีรับผิดชอบ ของ สสว.6 พบว่า ทศิ ทางการขยายตัวของผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั มีท้ังเพม่ิ ขนึ้ และลดลงในบางปี เม่อื พจิ ารณา เปรียบเทียบรายจังหวดั ในปี พ.ศ.2562 พบวา่ จังหวัดมุกดาหารมีการขยายตวั ของผลติ ภัณฑ์มวลรวม สูงท่ีสุด ในกลมุ่ จงั หวัด อยทู่ ี่ ร้อยละ 5.8 รองลงมาคือจังหวดั อำนาจเจริญ ร้อยละ5.4 และจงั หวัดกาฬสินธุ์มกี ารขยายตัว ของผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ต่ำทสี่ ุดในกลุ่มจงั หวดั อยู่ทรี่ ้อยละ -3 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวัดในเขตพน้ื ท่ีรับผิดชอบสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

25 ตารางท่ี 15 แสดงผลติ ภณั ฑจ์ งั หวดั ตอ่ หัว (GPP per capita) ปี 2562 จังหวัด บาทต่อปี บงึ กาฬ 68,727 นครพนม 80,956 สกลนคร 65,900 มุกดาหาร 66,599 กาฬสินธ์ุ 73,587 อำนาจเจริญ 71,815 อบุ ลราชธานี 72,607 ทม่ี า: ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลกู โซ่ ฉบับ พ.ศ. 2562 สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ขอ้ มลู ณ 11 พฤษภาคม 2564 จากตารางที่ 15 แสดงผลติ ภณั ฑจ์ ังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ในเขตพ้นื ที่รับผดิ ชอ บขอ ง สสว.6 ในปี พ.ศ. 2562 เมือ่ พิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวดั นครพนมมผี ลติ ภัณฑ์จงั หวัดตอ่ หัวสูงที่สุด ใน กลุ่มจังหวัด อยู่ที่ 80,956 บาทต่อปี และจังหวัดสกลนครมีผลิตภัณฑ์จงั หวัดต่อหัวต่ำที่สุดในกลุม่ จังหวัด อยทู่ ่ี 65,900 บาทตอ่ ปี ตารางที่ 16 แสดงรายได้โดยเฉลยี่ ต่อเดือนต่อครัวเรอื นของกลมุ่ จังหวดั พ.ศ.2558-2562 (หน่วย:บาท) จังหวัด 2558 2560 2562 บงึ กาฬ 23,767 22,668 22,787 นครพนม 15,804 15,834 23,431 สกลนคร 19,281 17,820 18,452 มุกดาหาร 22,870 20,440 18,843 กาฬสินธ์ุ 15,452 14,264 19,089 อำนาจเจริญ 21,173 18,231 20,320 อบุ ลราชธานี 20,453 24,380 18,398 ทีม่ า: การสำรวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคมของครัวเรอื น สำนักงานสถติ แิ หง่ ชาติ สบื ค้นข้อมูล ณ 30 มถิ นุ ายน 2564 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพืน้ ทร่ี ับผิดชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

26 แผนภาพท่ี 10 แสดงรายได้โดยเฉลย่ี ต่อเดือนตอ่ ครัวเรอื นของกลมุ่ จังหวัด พ.ศ.2558-2562 ท่มี า: การสำรวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคมของครวั เรอื น สำนักงานสถิติแหง่ ชาติ สบื คน้ ข้อมูล ณ 30 มถิ ุนายน 2564 จากตารางที่ 16 และแผนภาพท่ี 10 แสดงรายได้โดยเฉล่ียตอ่ เดอื นต่อครัวเรือนของกลมุ่ จงั หวัด ในเขต พน้ื ทีร่ บั ผดิ ชอบของสสว.6 ปี พ.ศ. 2558-2560 เมือ่ พิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวดั ในปี พ.ศ.2560 และปี พ.ศ. 2562 พบว่า มี 5 จงั หวดั ที่มีรายไดโ้ ดยเฉลี่ยตอ่ เดอื นต่อครัวเรอื นเพ่มิ ข้ึน ได้แก่ จงั หวดั บึงกาฬ จงั หวัดนครพนม จงั หวดั สกลนคร จังหวัดกาฬสินธ์ุและจังหวัดอำนาจเจริญ และมี 2 จังหวดั ทม่ี รี ายไดโ้ ดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน ลดลงไดแ้ ก่ จงั หวัดมกุ ดาหารและจังหวัดอุบลราชธานี และเม่ือพจิ ารณาในปี 2562 จงั หวดั นครพนมมีรายได้ โดยเฉล่ยี ตอ่ เดอื นตอ่ ครัวเรอื นสูงทส่ี ุดในกลมุ่ จงั หวัด จังหวัดสกลนครมีรายไดโ้ ดยเฉลี่ยตอ่ เดือนตอ่ ครวั เรือนต่ำท่ีสุด ในกลมุ่ จงั หวดั ตารางที่ 17 แสดงหนีส้ นิ เฉลี่ยต่อครวั เรือน จำแนกตามวตั ถุประสงคข์ องการก้ยู ืม พ.ศ. 2558-2562 (หนว่ ย:บาท) จังหวดั วตั ถปุ ระสงคข์ องการกยู้ มื 2558 2560 2562 หนสี้ นิ ท้งั สิ้น 257,989 212,781 220,843 เพื่อใชจ้ ่ายในครวั เรือน 108,967 133,947 114,096 เพ่ือใชท้ ำธุรกจิ ทไี่ ม่ใชก่ ารเกษตร 75,485 14,493 22,906 บึงกาฬ เพือ่ ใชท้ ำการเกษตร 31,695 40,337 68,206 เพือ่ ใชใ้ นการศึกษา 5,054 8,369 2,059 เพอื่ ใชซ้ ้อื /เช่าซ้อื บ้านและที่ดิน 36,362 15,635 13,576 อ่ืนๆ 426 - - รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุม่ จงั หวัดในเขตพน้ื ทร่ี ับผิดชอบสำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

จังหวดั วัตถปุ ระสงค์ของการกยู้ มื 2558 2560 27 นครพนม หนี้สินทง้ั สนิ้ 102,816 192,868 สกลนคร 58,182 96,150 2562 มกุ ดาหาร เพอ่ื ใช้จา่ ยในครัวเรอื น 7,966 10,586 234,936 เพื่อใชท้ ำธุรกิจทไ่ี ม่ใช่การเกษตร 11,419 21,888 104,660 กาฬสนิ ธุ์ 1,379 13,733 70,314 เพ่อื ใชท้ ำการเกษตร 21,554 44,151 20,387 เพื่อใชใ้ นการศกึ ษา 2,315 6,360 เพ่อื ใช้ซื้อ/เช่าซอ้ื บ้านและที่ดิน 164,190 199,078 5,246 71,377 84,899 33,039 อ่นื ๆ 25,120 19,273 1,291 หน้ีสนิ ทง้ั สิน้ 27,829 51,186 174,896 เพอื่ ใช้จา่ ยในครัวเรอื น 1,216 1,855 90,597 เพือ่ ใช้ทำธุรกิจทไ่ี มใ่ ช่การเกษตร 37,537 39,866 9,783 เพื่อใชท้ ำการเกษตร 1,111 - 38,420 เพอ่ื ใช้ในการศึกษา 184,067 171,992 1,211 เพื่อใชซ้ ้อื /เช่าซอ้ื บ้านและทด่ี นิ 87,682 83,662 34,731 42,348 8,758 อื่นๆ 19,345 28,988 16 5,739 5,268 130,206 หนส้ี ินทัง้ ส้นิ 28,800 45,086 51,733 เพ่อื ใช้จา่ ยในครวั เรอื น 152 229 22,206 เพอ่ื ใช้ทำธุรกจิ ทไี่ ม่ใชก่ ารเกษตร 131,577 134,002 15,615 เพื่อใช้ทำการเกษตร 56,519 47,550 เพ่อื ใช้ในการศึกษา 16,586 18,575 4,387 เพอ่ื ใช้ซื้อ/เช่าซื้อบา้ นและที่ดนิ 33,068 40,676 36,266 413 5,514 - อืน่ ๆ 24,991 21,687 190,144 หนส้ี ินทง้ั สิ้น 60,185 เพ่อื ใชจ้ า่ ยในครัวเรือน - 57,498 เพื่อใชท้ ำธุรกจิ ทีไ่ มใ่ ช่การเกษตร 41,495 เพอ่ื ใชท้ ำการเกษตร 1,316 เพ่อื ใช้ในการศกึ ษา 28,906 เพอ่ื ใชซ้ ื้อ/เช่าซอ้ื บ้านและทดี่ ิน - 745 อืน่ ๆ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุม่ จังหวดั ในเขตพน้ื ที่รับผดิ ชอบสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

จงั หวดั วัตถปุ ระสงค์ของการกยู้ มื 2558 2560 28 หนี้สนิ ทงั้ สิน้ 173,276 226,033 2562 216,777 เพอื่ ใช้จ่ายในครวั เรือน 63,775 89,496 49,321 30,629 เพ่อื ใชท้ ำธุรกิจทีไ่ ม่ใชก่ ารเกษตร 19,005 24,344 45,067 11,957 อำนาจเจรญิ เพ่ือใช้ทำการเกษตร 49,761 57,249 79,426 เพอ่ื ใช้ในการศึกษา 4,496 6,419 377 138,854 เพื่อใชซ้ ้ือ/เช่าซ้อื บา้ นและท่ดี ิน 36,208 46,790 69,289 12,826 อืน่ ๆ 31 1,736 44,203 หนส้ี ินทั้งสน้ิ 136,208 195,122 2,868 9,522 เพ่ือใชจ้ า่ ยในครัวเรือน 77,425 116,714 145 เพอื่ ใช้ทำธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร 22,412 8,058 อบุ ลราชธานี เพื่อใช้ทำการเกษตร 16,589 38,157 เพ่ือใช้ในการศกึ ษา 1,563 2,156 เพื่อใชซ้ ้ือ/เชา่ ซื้อบา้ นและท่ดี นิ 18,219 30,038 อ่นื ๆ - - ทีม่ า: การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมของครัวเรือน สำนักงานสถติ ิแห่งชาติ สืบคน้ ขอ้ มูล ณ 30 มิถนุ ายน 2564 หมายเหตุ: หนอี้ ่ืนๆ ได้แก่ หนจี้ ากการค้ำประกนั บุคคลอืน่ หนี้คา่ ปรับหรือจา่ ยชดเชยค่าเสียหายเป็นต้น แผนภูมิท่ี 11 แสดงหน้ีสินเฉลยี่ ต่อครัวเรอื น จำแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการกยู้ ืม พ.ศ. 2562 จากตารางท่ี 17 แสดงหนี้สินเฉล่ยี ตอ่ ครัวเรอื นจำแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการกู้ยมื ของกลุ่มจงั หวัด พ.ศ. 2558-2562 จากการเปรยี บเทยี บขอ้ มูล 5 ปยี ้อนหลังหน้ีสินเฉล่ยี ตอ่ ครัวเรือนในพื้นท่ี 7 ในเขตพ้ืนที่รับผิด ชอบ ของ สสว.6 มแี นวโน้มที่จะสงู ขึ้นในทุกๆปี เม่อื พจิ ารณาปี พ.ศ.2562 เปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัด นครพนม มหี นีส้ นิ เฉลี่ยต่อครัวเรือนสูงท่ีสดุ จำนวน 234,936 บาท รองลงมาจงั หวัดบึงกาฬ จำนวน 220,843 บาท และเมื่อพิจารณากลุ่มจังหวัดจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม 3 อันดับแรก คือ 1.เพื่อใช้จา่ ย ในครัวเรือน 2.เพอื่ ใช้ทำการเกษตร 3.เพือ่ ใช้ซอ้ื /เชา่ ซ้อื บ้านและที่ดนิ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพ้นื ท่รี ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอบุ ลราชธานี)

29 2.12 ข้อมูลภาคีเครอื ข่าย จงั หวดั รวม ตารางท่ี 18 แสดงจำนวนองค์กรภาคีเครอื ข่าย องค์กร หน่วยนบั บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธ์ุ อำนาจเจรญิ อบุ ลราชธานี องค์กร แห่ง 14 55 57 45 105 111 114 501 สาธารณประโยชน์ แห่ง 17 26 395 ตาม พ.ร.บ. สง่ เสริม แห่ง 17 61 35 63 113 54 87 407 การจดั สวสั ดกิ ารสงั คม 47 1 129 1 151 องค์กรสวัสดกิ ารชมุ ชน ตาม พ.ร.บ. สง่ เสริม การจัดสวัสดิการสงั คม กองทุนสวสั ดกิ ารสังคม สภาเด็กและเยาวชน แหง่ 68 116 52 19 18 71 264 608 สภาองคก์ รคนพกิ าร แห่ง 1 7 9 76 6 71 107 ศนู ย์บรกิ ารคนพกิ าร แหง่ 15 49 21 51 39 10 40 225 ท่ัวไป ศนู ยพ์ ัฒนาคุณภาพ แหง่ 12 32 11 29 24 10 46 164 ชวี ติ และส่งเสริม อาชีพของผู้สงู อายุ (ศพอส.) ศูนยพ์ ัฒนาครอบครวั แห่ง 48 103 53 181 167 63 177 792 ในชมุ ชน (ศพค.) อาสาสมคั รพฒั นา คน 2,568 2,547 1,260 4,420 5,389 3941 14947 35,072 สังคมและความมัน่ คง ของมนษุ ย์ (อพม.) โครงการบา้ นมั่นคง แห่ง 0 0 0 2 98 0 41 141 (พอช.) โครงการบา้ นพอเพียง ครัวเรือน 150 180 0 0 0 0 0 330 (พอช.) ข้อมลู คลังปัญญา แห่ง 94 326 1 750 520 90 680 2,461 ผูส้ งู อายุ ท่มี า สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์จงั หวัด ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2564 จากต ารางที่ 18 แสด งจำนวนอ งค ์กรภาค ีเค รือ ข่าย ในเขต พื้นที่รับผิด ชอ บของ สสว. 6 ประกอบดว้ ย องคก์ รสาธารณะประโยชน์ มีจำนวน 501 องค์กร องคก์ รสวสั ดิการชุมชน มีจำนวน 395 องค์กร กองทนุ สวัสดิการชุมชน มจี ำนวน 407 กองทุน สภาเดก็ และเยาวชน มจี ำนวน 608 แห่ง สภาองค์กรคนพิการ มีจำนวน 107 แหง่ ศนู ยบ์ ริการคนพิการทั่วไป 225 แหง่ ศนู ยพ์ ฒั นาคณุ ภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส) มีจำนวน 164 แห่ง ศูนยพ์ ัฒนาครอบครัว (ศพค.) จำนวน 792 แหง่ และอาสาสมัครพฒั นาสังคมและ ความมนั่ คงของมนษุ ย์ (อพม) จำนวนทั้งสิ้น 35,072 คน รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวัดในเขตพน้ื ทร่ี ับผิดชอบสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

30 ส่วนที่ 3 สถานการณ์ทางสังคมของกลุ่มจงั หวัด 3.1 ขอ้ มูลสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัด 3.1.1 กลมุ่ เด็ก ตารางที่ 19 แสดงสถานการณ์เดก็ จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 (1) (2) (3) (4) (หน่วย:คน) เดก็ ทอ่ี ยู่ เด็กท่ีไดร้ บั **เด็กที่มี เด็กที่ถกู ทารุณ ในครอบ (5) ครวั เลย้ี ง เดก็ ท่ี จงั หวดั รวม เงินอดุ หนุน พฤตกิ รรมไม่ กรรมทาง เดี่ยว ตั้งครรภ์กอ่ น วยั อนั ควร เพ่ือการเลย้ี ง เหมาะสม รา่ งกายจิตใจ N/A และไมพ่ รอ้ ม ในการเล้ยี งดู ดเู ด็กแรกเกิด และทางเพศทม่ี ี 260 การดำเนินคดี บงึ กาฬ 17,033 16,741 25 7 นครพนม 30748 30,410 80 11 48 199 สกลนคร 51,378 48,992 315 43 805 1,223 มกุ ดาหาร 778 360 72 1 33 312 กาฬสินธ์ุ 35,655 34,778 539 126 204 8 อำนาจเจริญ 22767 17,149 122 8 5,320 168 อบุ ลราชธานี 84,009 80,764 1055 N/A 1,565 625 รวม 241239 228,065 2208 196 7975 2795 ทม่ี า รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัด สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ 7 จังหวดั ในเขตพืน้ ท่ี รบั ผดิ ชอบ สสว.6 ณ วันท่ี 25 สิงหาคม 2564 กลุ่มเด็ก หมายถงึ บุคคลที่มอี ายุต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์ ซงึ่ จากตารางที่ 19 แสดงสถานการณเ์ ด็กจำแนก ตามจังหวัดประจำปี 2564 พบว่า ในระดบั กลุม่ จังหวดั สถานการณ์อันดบั 1 ไดแ้ ก่ จำนวนเด็กท่ไี ดร้ ับเงินอุดหนุน เพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด จำนวน 228,065 ราย รองลงมาได้แก่ เด็กที่ตง้ั ครรภ์กอ่ นวัยอันค วรและไม่พร้อม ในการเลี้ยงดู มีจำนวนท้ังสิ้น 2795 ราย ซึ่งผลกระทบจาการตั้งครรภใ์ นวัยรนุ่ มีทัง้ ด้านเศรษฐ กิจและสังคม เนือ่ งจากพอ่ แม่ตอ้ งรับภาระเลย้ี งดูบตุ รในขณะที่ยังไม่มึความพรอ้ ม ทำให้ประสบปัญหาดา้ นการเงินค่าใช้จ่าย เปน็ อุปสรรคตอ่ การเรียน เด็กที่มพี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม จำนวน 2,208 ราย โดยพฤตกิ รรมท่ีไม่เหมาะสม เช่น เดก็ ทตี่ ดิ ยาเสพติด ,การด่มื สรุ าและ การทะเลาะววิ าท รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพืน้ ท่รี ับผิดชอบสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

31 3.1.2 กลมุ่ เยาวชน ตารางที่ 20 แสดงสถานการณเ์ ยาวชน จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 (หนว่ ย:คน) จังหวัด จำนวน (1) (2) บงึ กาฬ เยาวชน **เยาวชนทม่ี ีพฤตกิ รรม เยาวชนที่ถูกทารณุ กรรม ทงั้ หมด ทางร่างกายจติ ใจและทางเพศ 45,925 ไมเ่ หมาะสม 891 N/A นครพนม 82,302 40 7 สกลนคร 127,632 314 N/A มกุ ดาหาร 38,299 0 15 กาฬสนิ ธ์ุ 98,362 539 73 อำนาจเจริญ 40,893 8 2 อุบลราชธานี 217,664 3,775 73 รวม 651,077 5,567 170 รายงานสถานการณท์ างสงั คมจังหวัด สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ 7 จังหวัดในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบ สสว.6 ณ วันที่ 25 สงิ หาคม 2564 กลมุ่ เยาวชน ไดแ้ ก่ บคุ คลทม่ี ีอายุ 18 ปบี ริบูรณ์ ถึง 25 ปีบริบรู ณ์ จากตารางท่ี 20 แสดงสถานการณ์ กลมุ่ เยาวชน จำแนกตามจงั หวัดในปี 2564 ของจงั หวัดในเขตพน้ื ท่ีรับผิดชอบ สสว. 6 พบว่า สถานการท์ น่ี า่ ห่วงใย ดา้ นเยาวชนอันดับ 1 ได้แก่ เยาชนทมี่ พี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม มจี ำนวนทงั้ สิ้น 5,567 ราย รองลงมา ได้แก่ เยาวชน ที่ถูกทารุณกรรมทางร่างกาย จิตใจและทางเพศ มีจำนวนทั้งสิ้น 170 ราย โดยพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น เยาวชนที่ติดยาเสพตดิ ,การด่ืมสรุ า 3.1.3 กลมุ่ สตรี ตารางท่ี 21 แสดงสถานการณก์ ลมุ่ สตรี จำแนกตามจังหวัด ปี 2564 (หน่วย:คน) จังหวดั จำนวนสตรี (1) (2) (3) (4) ทั้งหมด สตรีทีถ่ ูกละเมดิ สตรีทถี่ กู แม่เล้ยี งเด่ยี ว สตรที ถี่ กู ทางเพศ ทํารายรางกาย ฐานะยากจนที่ เลิกจ้าง/ จิตใจ ตองเลย้ี งดบู ตุ ร เพียงลําพัง ตกงาน บงึ กาฬ 210,369 N/A 11 N/A 1,772 นครพนม 359,606 2 10 N/A N/A สกลนคร 576,651 37 37 108 9,011 มุกดาหาร 175,544 1 12 507 47 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดในเขตพน้ื ที่รับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

32 จงั หวดั จำนวนสตรี (1) (2) (3) (4) ทัง้ หมด สตรที ีถ่ กู ละเมดิ สตรีที่ถูกทาํ แม่เลีย้ งเดย่ี ว สตรีทถี่ ูกเลิก กาฬสนิ ธุ์ รายรางกายจติ ใจ ฐานะยากจนท่ี จ้าง/ตกงาน อำนาจเจริญ 493,728 ทางเพศ ตองเลี้ยงดบู ตุ ร อุบลราชธานี 188,886 15 เพียงลําพงั 1,395 934,297 14 10 79 รวม 2,939,081 0 293 204 2,013 53 388 0 107 12,922 1910 2,729 ทม่ี า : รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัด สำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ 7 จงั หวดั ในเขต พื้นทีร่ ับผิดชอบ สสว.6 ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2564 กลุ่มสตรี (เพศหญงิ ทุกช่วงวัย) ของกล่มุ จงั หวัดในปีงบประมาณ 2564 มีจำนวนทงั้ ส้ิน 2,939,081 คน จากตารางท่ี 21 แสดงสถานการณ์กล่มุ สตรีแยกรายจังหวัด ประจำปี 2564 พบว่า สถานการณ์สำคัญอนั ดับ 1 ได้แก่ สตที ี่ถูกเลิกจ้าง/ตกงาน มีจำนวนท้ังส้ิน 12,922 คน ท้ังนีส้ าเหตุของการถูกเลิกจ้าง/ต กงานเนื่อ งจาก มสี ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019 รองลงมา ได้แก่ แม่เลี้ยงเด่ยี วฐานะยากจนท่ีต้อง เลย้ี งดบู ุตรเพียงลำพัง มจี ำนวนทง้ั สิ้น 2,729 คน โดยลักษณะครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวท่มี ีความเสีย่ งสูงที่จะมีปัญหา ได้แก่ ครอบครัวเลยี้ งเด่ียวท่ีตั้งครรภโ์ ดยไมต่ งั้ ใจคครอบครัวเลี้ยงเดยี่ วที่เป็นครอบครวั เดีย่ ว (ไม่มเี ครอื ญาติอา ศัย อยดู่ ้วย) และแมเ่ ล้ยี งเดย่ี วท่ีมีลักษณะไมเ่ หมาะสมจะทำหนา้ ทแ่ี ม่ (ทมี่ า:มูลนิธิเครอื ขา่ ยครอบครวั ) 3.1.4 กลมุ่ ครอบครัว ตารางที่ 22 แสดงสถานการณ์กลมุ่ ครอบครวั จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 (หนว่ ย:คน) จงั หวัด จำนวนบ้าน (1) (2) (3) (4) ท้ังหมด ครอบครัว ครอบครวั ทม่ี คี นใน ครอบครวั ครอบครวั บึงกาฬ หยา่ รา้ ง ครอบครัวกระทํา แหว่งกลาง ยากจน นครพนม 137871 ความรนุ แรงต่อกัน 231315 558 N/A 34,828 407 43 N/A 621 1 สกลนคร 387,699 506 21 18 2,538 มุกดาหาร 117,741 1,520 21 2,040 2,713 กาฬสนิ ธุ์ 311,145 1617 15 N/A 3,685 อำนาจเจรญิ 120,188 502 11 22 29,817 อบุ ลราชธานี 616,810 2,607 109 1,893 15,689 รวม 1,922,769 7,717 221 3,973 89,891 ท่ีมา : รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ 7 จังหวัดในเขต พ้นื ท่รี ับผดิ ชอบ สสว.6 ณ วนั ท่ี 25 สิงหาคม 2564 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดในเขตพนื้ ทีร่ ับผดิ ชอบสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

33 กรมสตรแี ละสถาบันครอบครวั ได้นยิ าม ความหมายและประเภทของครอบครวั กล่าวคือ ครอบครัว หมายถงึ บคุ คลตั้งแตส่ องคนขน้ึ ไปทีใ่ ช้ชีวิตรว่ มกันฉันสามีภริยา หรือมคี วามผูกพันทางสายโลหิต หรอื ทางกฎหมาย หรอื เก่ยี วดองเปน็ เครือญาต ซ่งึ สมาชิกในครอบครัวต่างมีบทบาทหน้าทตี่ อ่ กนั และมคี วามสัมพันธ์ที่เกื้อ กูลกัน ประเภทครอบครัวตามโครงสรา้ ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ครอบครวั เล้ยี งเดี่ยว ประกอบดว้ บคุ คลท่ีใช้ชีวิต รว่ มกันฉนั สามี ภรยิ า อาจมหี รอื ไม่มีบุตร พ่อหรือแม่อยูก่ ับบุตร หรอื พี่นอ้ งหรือญาติไมเ่ กินสองคน สองรุ่นใช้ชีวิต ร่วมกัน ครอบครวั ขยาย คือ ครอบครัวที่ประกอบดว้ ยบุคคลต้งั แตส่ ามรนุ่ ขน้ึ ไป หรือครอบครวั เดยี่ วสองครอบครัว ขนึ้ ไป ท่มี คี วามผูกพนั ทางสายโลหติ หรือเกีย่ วดองเป็นเครือญาติ ซึ่งมคี วามสมั พันธ์ท่เี กื้อกลู กัน และอาศัยอยู่ใน บา้ นหรือบริเวณเดียวกัน หากจำแนกตามลักษณะเฉพาะมี 6 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ครอบครวั พ่อหรือแม่เล้ียงเดี่ยว, ครอบครัวข้ามรุ่น,ครอบครัวที่มีผู้สงู อายุอยู่ด้วยกันตามลำพัง ,ครอบครัวคู่รักเพศเดียวกัน ,ครอบครวั ผสม, ครอบครัววยั รนุ่ ซึง่ จากตารางท่ี 22 แสดงสถานการณ์กลมุ่ ครอบครัวรายจังหวัดในเขตพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบ สสว.6 พบวา่ จำนวนบ้านทั้งหมดของจงั หวดั ในเขตพ้ืนท่รี ับผิดชอบของ สสว. 6 มที ั้งส้ิน 1,922,769 หลัง และสถานการณ์ สำคัญ อันดับ 1 ได้แก่ ครอบครัวยากจน มีจำนวนทัง้ สิน้ 89,891 ครอบครัว (จากระบบฐานข้อมูล TPMAP) รองลงมา คอื ครอบครัวหย่างร้าง มีจำนวนท้งั สิ้น 7,717 ครอบครวั ครอบแหวง่ กลาง มจี ำนวนทง้ั ส้ืน 3,973 ครอบครัว และครอบครัวท่มี คี นในครอบครวั กระทำความรนุ แรงต่อกัน มีจำนวนท้ังสิ้น 221 ครอบครวั 3.1.5 กลุ่มผสู้ งู อายุ ตารางที่ 23 แสดงสถานการณผ์ สู้ ูงอายุ จำแนกตามจงั หวดั ปี 2564 (หน่วย:คน) จงั หวดั จำนวน (1) (2) (3) (4) (5) (6) ผ้สู งู อายุ ผสู งู อายุที่ ผสู ูงอายุ ผสู งู อายุ ผสู งู อายุที่ ผสู งู อายุ ผ้สู ูงอายทุ ี่ ท้งั หมด ไดรบั เบ้ยี ท่ียงั ไมไ่ ด้ ชว่ ยเหลอื ต้องดำรง ที่ถกู รับภาระ (รวม) ยังชพี รับเบย้ี ตัวเองไมได้/ ชีพดว้ ย กระทํา ดแู ลบคุ คล ยงั ชพี ไมมีคนดูแล/ การเรร่ อ่ น ความ ในครอบครวั ไมมรี ายได/ ขอทาน รุนแรง เชน่ ผู้ป่วยเรอื้ รัง ทาง คนพิการ ติดบ้าน รางกาย ผู้ปว่ ยเรือ้ รัง ติตเตยี ง หรือ บตุ รหลาน จติ ใจ และจิตเวช บงึ กาฬ 60,389 60,389 N/A 5,521 2 N/A N/A นครพนม 110,267 96,232 16,080 4,054 9 4 N/A สกลนคร 172,832 155,920 643 1,698 3 N/A 2040 มุกดาหาร 53,409 48,235 88 78 2 6 18 กาฬสินธ์ุ 165,062 148,716 7,559 2,605 3 N/A 8,881 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพ้นื ทรี่ ับผิดชอบสำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

34 จังหวัด จำนวน (1) (2) (3) (4) (5) (6) ผู้สูงอายุ ผสู งู อายทุ ่ี ผสู ูงอายุ ผสู งู อายุ ผสู งู อายทุ ี่ ผสู งู อายุ ผู้สูงอายทุ ่ี อำนาจเจริญ ทั้งหมด ไดรับเบ้ยี ทยี่ ังไมไ่ ด้ ชว่ ยเหลอื ตอ้ งดำรง ทถ่ี ูก รบั ภาระ (รวม) รับเบยี้ ตวั เองไมได้/ ชพี ด้วย กระทาํ ดูแลบุคคล ยงั ชพี ยงั ชพี ไมมคี นดแู ล/ การเรร่ ่อน ความ ในครอบครวั 62,790 ไมมรี ายได/ ขอทาน รนุ แรง 56,010 6,780 ผปู้ ่วยเร้อื รัง ทางราง เช่น ติดบ้าน N/A กายหรือ คนพิการ ตติ เตยี ง จติ ใจ ผู้ป่วยเรือ้ รงั บุตรหลาน N/A N/A และจิตเวช 5,230 อุบลราชธานี 292,064 259,529 0 1,205 5 41 2,178 รวม 916,813 932,716 31,705 16,781 25 45 20,369 ท่ีมา : รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัด สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ 7 จงั หวดั ในเขตพืน้ ที่รับผิดชอบ สสว.6 ณ วนั ที่ 25 สงิ หาคม 2564 จากตารางที่ 23 แสดงสถานการณ์ผูส้ งู อายุ จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 ของจังหวัดในเขตพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบ สสว.6 พบว่า จำนวนผูส้ ูงอายุในกล่มุ จังหวัด มจี ำนวนทัง้ ส้ิน 916,813 คน ได้รับเบี้ยยังชีพจำนวน 932,716 คน ไม่ได้รับเบี้ยยังชีพ จำนวน 31,705 คน ปี 2564 ไมม่ ีผสู ูงอายชุ ว่ ยเหลือตัวเองไมได/้ ไมมีคนดแู ล/ไมมรี ายได/ผู้ป่วย เรอื้ รงั ตดิ บ้านติตเตยี ง 16,781 คน ผสู งู อายุทีต่ ้องดำรงชีพด้วยการเร่รอ่ นขอทาน จำนวน 25 คน ผูสูงอายุท่ีถูก กระทาํ ความรุนแรงทางรา่ งกายหรอื จิตใจ จำนวน 45 คน และมผี สู้ งู อายทุ ตี่ ้องรับภาระเล้ียงดูบคุ คลในครอบค รัว เชน่ คนพิการ ผู้ป่วย หลานและจิตเวช จำนวน 20,369 คน 3.1.6 กลุม่ ผู้พิการ ตารางที่ 24 แสดงสถานการณ์คนพกิ าร จำแนกตามจงั หวัด ปี 2564 (หนว่ ย:คน) จำนวนคนพกิ าร (1) (2) (3) (4) ที่มบี ัตร คนพิการที่ คนพกิ ารที่ คนพิการมี คนพิการทอ่ี ยู่ จงั หวดั ประจำตัว ไดรบั เบี้ย ไม่ไดรบั เบยี้ ความตอง คนเดยี วตาม คนพิการ ยงั ชพี ยงั ชพี การ ลำพงั /ไมม่ ี กายอุปกรณ์ ผ้ดู แู ล/ ถูกทอดท้งิ บงึ กาฬ 12,636 12,636 N/A 36 N/A นครพนม 23,606 23,606 N/A 11 N/A สกลนคร 38,881 38,881 0 90 220 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จังหวดั ในเขตพนื้ ที่รับผิดชอบสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี)

35 จังหวดั จำนวนคนพิการ (1) (2) (3) (4) ท่มี บี ัตร คนพิการท่ี คนพิการท่ี คนพิการมี คนพิการทอี่ ยู่ มุกดาหาร ประจำตัว ไดรับเบี้ย ไมไ่ ดรับ กาฬสินธ์ุ คนพิการ เบ้ียยังชพี ความ คนเดยี วตาม อำนาจเจริญ ยงั ชีพ ตองการ ลำพัง/ไมม่ ี อบุ ลราชธานี 22,924 387 กายอุปกรณ์ ผูด้ แู ล/ 53,685 11,062 0 รวม 16,000 53,685 N/A ถกู ทอดทิ้ง 65,326 16,000 0 10 6 233,058 67,222 387 810 158 221,694 18 N/A 810 158 1,785 536 ทมี่ า : รายงานสถานการณท์ างสังคมจงั หวัด สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ 7 จงั หวัดในเขต พ้นื ท่ีรบั ผิดชอบ สสว.6 ณ วนั ท่ี 25 สงิ หาคม 2564 จากตารางท่ี 24 แสดงสถานการณ์คนพิการ จำแนกตามจงั หวดั ปี 2564 พบว่า กลุ่มจงั หวัดในเขตพื้นท่ี รบั ผดิ ชอบสสว.6 มีจำนวนคนพกิ ารท่มี บี ตั รประจำตัวคนพิการ ณ วนั ที่ 25 สิงหาคม 2564 จำนวน 233,058 คน และคนพิการที่ไดร้ บั เบี้ยยังชพี จำนวน 221,694 คน คนพิการทีย่ ังไม่ได้รับเบ้ียยงั ชีพ จำนวน 387 คน คนพิการท่ี ตอ้ งการกายอุปกรณ์ จำนวน 1,785 คน คนพิการที่อยู่คนเดยี วตามลำพงั /ไมม่ ผี ู้ดูแล/ถกู ทอดทิ้ง จำนวน 536 คน ตารางที่ 25 แสดงสาเหตุความพกิ าร จำแนกตามจงั หวดั ปี 2564 จงั หวดั สาเหตคุ วามพิการ พนั ธุกรรม โรคติดเชอ้ื อบุ ัตเิ หตุ โรคอ่นื ๆ ไมท่ ราบ มากกว่า 1 สาเหตุ สาเหตุ บงึ กาฬ 102 27 4,532 1978 5873 5,873 นครพนม 4,920 4220 6174 3330 2580 2382 สกลนคร 344 2,003 1,620 699 29,847 2,148 มกุ ดาหาร 2,133 973 2,394 1,963 3,219 767 กาฬสนิ ธ์ุ 133 445 1870 6990 10 1707 อำนาจเจรญิ 66 309 1480 4 9765 4341 อุบลราชธานี 119 628 2,135 4,442 18 2,161 7,726 8,605 20,205 17,551 45,440 19,379 รวม ทมี่ า : รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ 7 จงั หวดั ในเขต พ้นื ทร่ี ับผดิ ชอบ สสว.6 ณ วันท่ี 25 สิงหาคม 2564 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุม่ จงั หวดั ในเขตพน้ื ทีร่ ับผิดชอบสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6 (บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธุ์ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี)

36 จากข้อมลู ตารางที่ 25 แสดงสาเหตุความพิการ จำแนกตามจังหวัด ปี 2564 ของจงั หวัดในเขต รับผดิ ชอบของ สสว.6 พบว่า สาเหตคุ วามพิการมากท่ีสดุ 3 อันดบั แรกคอื อันดบั 1 ไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 45,440 คน อันดับ 2 คือ มากกว่า 1 สาเหตุ อันดบั 3 คือ อุบัตเิ หตุ จำนวน 20,205 คน และเมื่อพิจารณา รายจังหวัดในด้านสาเหตุความพกิ าร พบว่า สาเหตุความพิการด้านพนั ธกุ รรมมากท่ีสดุ คือจงั หวดั นครพนม จำนวน 4,920 คน รองลงมาคือจังหวดั มกุ ดาหาร จำนวน 2,133 คน ดา้ นโรคติดเชือ้ มากทสี่ ุดคือ จงั หวดั นครพนม จำนวน 4,220 คน รองลงมาคือจังหวดั สกลนครจำนวน 2,003 คน ดา้ นอุบัตเิ หตุมากทสี่ ดุ คอื จงั หวัดนครพนม จำนวน 6,174 คน รองลงมาคอื จังหวัดบึงกาฬ จำนวน 4,532 คน ไมท่ ราบสาเหตุ มากท่สี ุดคือจงั หวดั สกลนคร จำนวน 29,847 คน รองลงมา คือจงั หวดั อำนาจเจรญิ จำนวน 9,765 คน มากกวา่ 1 สาเหตุ มากที่สดุ คือจงั หวัดบึงกาฬ จำนวน 5,873 รองลงมา คอื จังหวัดอำนาจเจรญิ จำนวน 4,341 คน 3.1.7 กลมุ่ ผู้ด้อยโอกาส ตารางที่ 26 แสดงสถานการณ์ผ้ดู อ้ ยโอกาส จำแนกตามจงั หวัด ปี 2564 (หนว่ ย:คน) จังหวัด คนไรท้ ี่พึง่ ผทู้ ำการ ผแู้ สดง กลุ่ม ผตู้ ิดยา ผูต้ ิดเช้ือ ขอทาน ความสามารถ ชาตพิ ันธ์ุ/ เสพตดิ HIV บงึ กาฬ 11 ชนกลุม่ นอ้ ย นครพนม 49 0 76 868 22 สกลนคร 86 6 มกุ ดาหาร 9 0 107 214 3396 กาฬสินธ์ุ 42 40 63 N/A 379 2,025 อำนาจเจริญ 3 2 2 7 423 87 อบุ ลราชธานี 215 1 91 0 1064 112 415 1 58 0 374 1578 รวม 18 87 N/A N/A N/A 62 484 N/A 2,943 7,220 13 ทม่ี า : รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัด สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ 7 จงั หวัดในเขต พนื้ ทร่ี บั ผิดชอบ สสว.6 ณ วันท่ี 25 สงิ หาคม 2564 จากตารางท่ี 26 แสดงสถานการณผ์ ดู้ ้อยโอกาส จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 พบวา่ กลมุ่ จังหวัด ในเขตพ้นื ท่รี ับผิดชอบของสสว.6 สถานการณ์ผู้ตดิ เชือ้ HIV จำนวน 7,220 คน มากเปน็ อนั ดบั 1 รองลงมาคือ ผูต้ ดิ ยาเสพตดิ มีจำนวน จำนวน 2,943 คน ผแู้ สดงความสามารถ จำนวน 484 คน คนไรท้ ่พึ ึ่ง จำนวน 415 คน ผูท้ ำการขอทาน จำนวน 62 คน กลมุ่ ชาติพันธ/ุ์ ชนกลุ่มนอ้ ย จำนวน 13 คน ตามลำดับ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ในเขตพน้ื ทร่ี ับผิดชอบสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)

37 สว่ นท่ี 4 สถานการณ์ความมน่ั คงของมนุษย์ 12 มิติ ระดับกลุม่ จงั หวดั 4.1 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์มติ ิท่อี ยู่อาศัย หมายถึง การมที ี่อยู่อาศยั และสิทธิในการถอื ครองที่ถูกต้องตามกฎหมาย มกี ารจดั ระบบสาธารณูปโภค ใหแ้ กส่ มาชิกใช้ร่วมกันไดอ้ ยา่ งพอเพียง มีความคงทนถาวร สภาพแวดลอ้ ม เป็นสดั ส่วน ถกู สุขลักษณะ และ ปลอดภัย ตารางที่ 27 แสดงขอ้ มลู สถานการณ์ความมนั่ คงของมนุษย์ มิตทิ ีอ่ ยู่อาศยั จำแนกรายจงั หวัด ปี 2562 จงั หวดั ตวั ช้วี ดั ค่า CHSI ความหนาแนน่ อัตราการถอื ครอง รอ้ ยละของท่ีอยู่อาศยั ทีม่ ี ของประชากรต่อ ที่อย่อู าศัย สภาพคงทนถาวร พืน้ ที่ 1 ตร.กม ระดับประเทศ 243.33 82.52 99.22 70.27 บึงกาฬ 98.48 98.69 99.55 76.62 นครพนม 130.39 94.26 99.95 76.56 มกุ ดาหาร 81.17 89.99 99.27 73.83 สกลนคร 119.66 93.4 100 76.35 กาฬสินธุ์ 141.84 98.11 99.68 76.58 อำนาจเจริญ 119.61 96.4 99.9 76.7 อุบลราชธานี 118.84 89.64 99.51 74.23 ทม่ี า : ดชั นีความมัน่ คงของมนษุ ย์ประเทศไทย ปี 2562 สำนักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ข้อมูล ณ ตุลาคม 2563 จากตารางท่ี 27 สถานการณค์ วามมน่ั คงของมนษุ ย์ มิตทิ อี่ ยู่อาศัยปี 2562 ของ 7 จงั หวัดในเขตพื้นท่ี รบั ผิดชอบของสสว.6 พบว่า 7 จังหวัดมีค่าดชั นคี วามม่ันคงของมนษุ ย(์ CHSI) สูงกว่าคา่ เฉลี่ยของประเทศ 70.27 เรยี งจากมากไปน้อย ไดแ้ ก่ จงั หวดั อำนาจเจรญิ จงั หวัดบึงกาฬ จังหวดั กาฬสินธุ์ จงั หวดั นครพนม จงั หวดั สกลนคร จงั หวดั อุบลราชธานี จงั หวัดมุกดาหาร ตามลำดับ สำหรับจงั หวดั ทีม่ คี ่าดัชนีความม่ันคงของมนุษย์ (CHSI) ต่ำสุด ในกลุม่ จังหวัดไดแ้ ก่ จังหวดั มกุ ดาหาร รายงานสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จังหวัดในเขตพ้นื ทรี่ ับผดิ ชอบสำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 (บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี)