Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการฝายชะลอน้ำ.pdf

โครงการฝายชะลอน้ำ.pdf

Published by korakodkorns60, 2017-11-19 10:25:09

Description: โครงการฝายชะลอน้ำ.pdf

Keywords: ฝายชะลอน้ำ

Search

Read the Text Version

โครงการ ฝายชะลอนา้ จดั ทาโดย1.นางสาว กชนุช ธนะขวา้ ง รหสั นิสิต 604600192.นางสาว กชวรรณ มีนวล รหสั นิสิต 604600263.นางสาว กรกฎกร เสือโต รหสั นิสิต 604600334.นาย ภคสิษฐ์ พรมสุจา รหสั นิสิต 604600405.นาย กฤตวฒั น์ ธาราวชั รศาสตร์ รหสั นิสิต 604600576.นาย กชวตั ร คาแปง รหสั นิสิต 604600647.นาย กษิดิศ กา้ วสมบตั ิ รหสั นิสิต 604600718.นาย กษิดิศเดช สวนปลิก รหสั นิสิต 604600889.นาย กอบโชค พงษอ์ ริยะทรัพย์ รหสั นิสิต 6046009510.นาย กนั ตภณ โชติเจริญรัตน์ รหสั นิสิต 60460101 เสนอ อาจารย์ สุชาติ แยม้ แม่น คณะแพทยศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2560รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ าสารสนเทศเพื่อการศึกษาคน้ ควา้ (001221) sec 2 มหาวิทยาลยั นเรศวร

บทคดั ย่อ โครงการน้ีเป็ นการศึกษาโครงการฝายชะลอน้า โครงการพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซ่ึงในโครงงานน้ีไดศ้ ึกษาเก่ียวกบั โครงการฝายชะลอน้าท่ีถูกสร้างข้ึนจากแนวคิดการอนุรักษน์ ้า และการป้องกนั อนั ตรายจากภยั ธรรมชาติซ่ึงเป็ นไปตามแนงพระราชดาริ เพื่อช่วยลดความรุนแรงของปัญหาท่ีเกิดจากน้ า รวมไปถึงเป็ นประโยชน์ต่อสิ่งแวดลอ้ มในธรรมชาติ และมนุษยเ์ องดว้ ย ท้งั ในดา้ นอุปโภคบริโภค เกษตรกรรม และการจดั การน้าใหเ้ ป็นระบบเพื่อประโยชน์การใชส้ อยในระยะยาว โดยการสร้างฝายชะลอน้าหน่ึงๆข้ึนน้นั ตอ้ งคานึงถึงสภาพภูมิประเทศ ความเหมาะสมของพ้ืนท่ี และเป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องการสร้างฝายน้ันๆ กล่าวคือ ฝายชะลอน้ามีอยู่หลายประเภท/รูปแบบแตกต่างกนั ออกไปตามขอ้ จากดั ดงั ท่ีได้กล่าวมาแลว้ อีกท้งั ยงั ตอ้ งมีขอ้ จากดั ในการกาหนดรูปแบบ และดาเนินการก่อสร้างฝาย โดยคานึงถึงขอ้ ดีขอ้ เสียของฝายชะลอน้าประเภทหน่ึงๆในพ้ืนท่ีท่ีจะสร้าง และการจดั การพ้ืนที่บริเวณท่ีสร้างฝาย และการบารุงรักษา เพื่อประโยชน์การใชง้ านในระยะยาว ส่งผลใหใ้ นปัจจุบนั มีฝายชะลอน้าในพ้นื ท่ีต่างๆมากถึง 25,391 แห่ง ทว่ั ประเทศไทย ก

กติ ติกรรมประกาศ ในการทาโครงงาน ISSR เรื่องฝายชะลอน้าท่ีสาเร็จลุล่วงมาได้ ขา้ พเจา้ ขอขอบคุณอาจารย์ประจารายวิชา ขอบคุณเพ่อื นทุกคนท่ีใหค้ วามช่วยเหลือ ต้งั ใจทาโครงงานน้ี และมอบคาแนะนาท่ีเป็นประโยชนใ์ นการทาโครงงาน ขอกราบขอบพระคุณคุณพอ่ และคุณแม่ท่ีเป็นผใู้ หก้ าลงั ใจและมอบโอกาสในการศึกษาเล่าเรียน ทา้ ยที่สุดทางคณะผจู้ ดั ทาโครงงาน ขอขอบพระคุณทุกท่านอยา่ งสูงท่ีใหก้ ารสนบั สนุนและใหช้ ่วยเหลือ จนกระทงั่ โครงงานน้ีสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี คณะผจู้ ดั ทา 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ข

สารบัญเรื่อง หนา้บทคดั ยอ่ ………………………………………………………………………………….กกิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………..ขสารบญั ……………………………………………………………………………………คสารบญั รูปภาพ……………………………………………………………………………งบทที่ 1 หลกั การและทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ ง……………………………………………………1-3บทที่ 2 วธิ ีการดาเนินโครงการ………………………………………………………........4-13บทท่ี 3 ผลการทดลองหรือการวเิ คราะห์ขอ้ มูล……………………………………………14-15บทท่ี 4 การวจิ ารณ์หรืออภิปรายผล………………………………………………………..16-17เอกสารอา้ งอิง………………………………………………………………………………จ ค

สารบญั รูปภาพเรื่อง หนา้รูปท่ี 1 แบบร่างแสดงฝายชะลอน้าตามแนวพระราชดาริฝายประเภทต่างๆ………………..5รูปท่ี 2 ฝายไมแ้ นวเดี่ยว…………………………………………………………………….6รูปที่ 3 ฝายไมแ้ กนดิน………………………………………………………………………6รูปท่ี 4 ฝายคอกหมู…………………………………………………………………………7รูปท่ี 5 ฝายหินเรียง…………………………………………………………………………8รูปที่ 6 ฝายหินเรียงแกนดินหรือดินเหนียว…………………………………………………9รูปที่ 7 ฝายหินก่อ……………………………………………………………………………9รูปที่ 8 ฝายคอนกรีตเสริมเหลก็ ……………………………………………………………..10 ง

1บทที่ 1 หลกั การและทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ ง1. แนวคดิ และหลกั การของฝายต้นนา้ ลาธาร 1.1. แนวคิดในการอนุรักษน์ ้าตามวฏั จกั รน้าตามธรรมชาติ (Hydrological cycle) น้าตามธรรมชาติมาจากน้าฝน ซ่ึงการเกิดข้ึนของฝนเกิดจากปัจจยั สาคญั คือ ไอน้าในบรรยากาศ ปริมาณไอน้าในบรรยากาศมีแหล่งกาเนิดใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ การระเหยของน้าในทะเลปริมาณ 875 ลูกบาศก์กิโลเมตรต่อวนั ,ไอน้าจากในทะเลจานวน 775 ลูกบาศกก์ ิโลเมตร กลายเป็นฝนตกในทะเล,ไอน้าอีกจานวน 100 ลูกบาศก์กิโลเมตร จะถูกพดั พาเขา้ สู่แผน่ ดิน,การคายระเหยของน้าบนผืนแผ่นดิน จะเกิดข้ึนในปริมาณ 165 ลูกบาศกก์ ิโลเมตรต่อวนั ในจานวนท้งั หมดน้ีจะเป็นไอน้าท่ีไดจ้ ากการระเหยจากตน้ ไมถ้ ึง 90 % และไอน้าบนแผน่ ดินผสมรวมกบั ไอน้าจากพ้นื ทะเลกลายเป็นไอน้าท้งั หมด 265ลูกบาศกก์ ิโลเมตรต่อวนั และกลายเป็นฝนตกลงบนแผน่ ดิน จากการสังเกตพบว่าปริมาณน้าฝนบนแผ่นดินในปัจจุบนั มีปริมาณลดลงจนทาให้เกิดสภาวะการขาดแคลนน้าใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคของมวลมนุษย์ เมื่อสภาวะเป็ นดงั น้ี ถา้ เราสามารถชะลอให้น้าฝนตามธรรมชาติท่ีตกลงมาอยู่บนแผ่นดินยาวนานมากข้ึน ก่อนท่ีปริมาณน้าไหลบ่าเหล่าน้นั จะไหลสูญเสียออกไปจากระบบ โดยท่ีไม่สามารถคายระเหยกลบั สู่ช้นั บรรยากาศได้ การทาฝายจะชะลอการไหลของน้าเป็นส่วนช่วยสร้างความชุ่มช้ืนในดินไดม้ ากข้ึน และทดแทนไอน้าในส่วนของการคายระเหยจากตน้ ไม้ ดงั น้นั การคืนไอน้าเขา้ สู่ระบบน้าธรรมชาติก็จะดีข้ึนช่วยใหป้ ริมาณน้าธรรมชาติมากข้ึน 1.2. แนวคิดในการป้องกนั อนั ตราย มนุษยไ์ ดเ้ ผชิญกบั ภยั ธรรมชาติอนั เกิดข้ึนจากความรุนแรงของการไหลบ่าของน้า ส่งผลใหเ้ กิดความเสียหายแก่ทรัพยส์ ิน และพ้ืนท่ีประกอบการเพาะปลูก เช่นความรุนแรงในการไหลของน้าทาใหบ้ า้ นเรือนส่ิงปลูกสร้างไดร้ ับความเสียหายพงั ทลาย การจดั ทาฝายตน้ น้า เพื่อการชะลอการไหลน้าไวเ้ ป็นระยะๆ จะช่วยทาใหน้ ้าไหลชา้ ลง ทาใหล้ ดความเร็วและความรุนแรงในการไหลของน้าได้ เป็ นการลดและป้องกนั การสูญเสียทรัพยส์ ินจากความแรงของการไหลของน้า นอกจากน้ีทาให้โอกาสการกดั เซาะดินลดน้อยลง เป็ นการลดการสูญเสียดินให้ไหลไปทบั ถมแหล่งน้าใหต้ ้ืนเขินไดอ้ ีกดว้ ย

2 1.3. แนวคิดในการใชป้ ระโยชน์จากน้า เนื่องจากน้ามีความสาคญั ต่อวิถีการดารงชีวิตของมนุษยท์ ้งั การบริโภค อุปโภค การใชน้ ้าเพ่ือการเพาะปลูก และนบั วนั มนุษยย์ ่ิงมีความตอ้ งการน้ามากข้ึน มนุษยจ์ ึงมีวิวฒั นาการในการเรียนรู้เพื่อจดั การทรัพยากรน้าเพ่ือการใชป้ ระโยชน์มาต้งั แต่อดีต แนวความคิดในการใชฝ้ ายเป็ นที่กกั เก็บน้าขนาดเลก็ ในลกั ษณะตุ่มน้าเลก็ ๆ กระจายทวั่ พ้ืนที่เพื่อกกั เก็บน้าและเพื่อประโยชน์ท้งั การสร้างความชุ่มช้ืน การอนุรักษ์และพฒั นาระบบนิเวศน์การเกษตร การใชส้ อยอุปโภค บริโภค2. แนวพระราชดาริฝายต้นนา้ ลาธาร ฝายตน้ น้าลาธาร หรือ Check Dam คือ สิ่งก่อสร้างขวางหรือก้นั ทางน้า ซ่ึงปกติมกั จะก้นั ลาหว้ ยหรือลาธารขนาดเลก็ ในบริเวณที่เป็นตน้ น้าหรือพ้ืนท่ีที่มีความลาดชนั สูงใหส้ ามารถกกั ตะกอนอยไู่ ด้ และหากช่วงท่ีน้าไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของน้าใหช้ า้ ลง และกกั เก็บตะกอนไม่ให้ไหลลงไปทบั ถมลาน้าตอนล่าง ซ่ึงเป็นวิธีการอนุรักษด์ ินและน้าไดม้ ากวิธีการหน่ึง รูปแบบและลกั ษณะฝายตน้ น้าลาธารน้ัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไดพ้ ระราชทานพระราชดารัสว่า “ให้พิจารณาดาเนินการสร้างฝายราคาประหยดั โดยใชว้ สั ดุราคาถูกและหาง่ายในทอ้ งถิ่น เช่น แบบหินทิ้งคลุมดว้ ยตาข่ายปิ ดก้นั ร่องน้ากบั ลาธารขนาดเลก็ เป็นระยะๆ เพื่อใชเ้ ก็บกกั น้าและตะกอนดินไวบ้ างส่วน โดยน้าท่ีกกั เก็บไวจ้ ะซึมเขา้ ไปในดินทาให้ความชุ่มช้ืนแผข่ ยายออกไปท้งั สองขา้ งต่อไปจะสามารถปลูกพนั ธุ์ไมป้ ้องกนั ไฟ พนั ธุ์ไมโ้ ตเร็วและพนั ธุ์ไมไ้ ม่ทิ้งใบเพอื่ ฟ้ื นฟูท่ีตน้ น้าลาธารใหม้ ีสภาพเขียวชอุ่มข้ึนเป็นลาดบั ” การก่อสร้างฝายตน้ น้าลาธารน้นั ไดพ้ ระราชทานพระราชดาริเพมิ่ เติมในรายละเอียดวา่สาหรับฝายตน้ น้าลาธารชนิดป้องกนั ตอ้ งไม่ใหท้ รายไหลลงไปในอ่างใหญ่จะตอ้ งทาใหด้ ีและลึกเพราะถา้ ลงทรายมากจะกกั เกบ็ น้าไวไ้ ดด้ ี แต่ถา้ น้าต้ืนทรายจะขา้ มไปลงอ่างใหญ่ได้ ถา้ เป็นฝายตน้น้าลาธารสาหรับรักษาความชุ่มช้ืนไม่จาเป็นตอ้ งขดุ ลึก เพียงแต่กกั น้าใหล้ งไปในดิน แต่กกั แบบทรายน้ีจะตอ้ งทาใหล้ ึกและออกแบบอยา่ งไรไม่ใหน้ ้าลงมาแลว้ ไล่ทรายออกไป การพจิ ารณาสร้างฝายชะลอความชุ่มช้ืน เพื่อสร้างระบบวงจรน้าแก่ป่ าใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดน้นั ไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดาริวา่ “ใหด้ าเนินการสารวจหาทาเลสร้างฝายตน้ น้าลาธารในระดบั ที่สูงใกลบ้ ริเวณยอดเขามากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ลกั ษณะของฝายดงั กล่าวจาเป็นตอ้ งออกแบบใหม่ เพอ่ื ใหส้ ามารถกกั

3เกบ็ น้าไวไ้ ดป้ ริมาณน้าหล่อเล้ียงและประคบั ประคองกลา้ ไมพ้ นั ธุ์ที่แขง็ แรงและโตเร็วท่ีใชป้ ลูกแซมในป่ าแหง้ แลง้ อยา่ งสม่าเสมอและต่อเนื่อง โดยการจ่ายน้าออกไปรอบๆ ตวั ฝายจนสามารถต้งั ตวั ได”้3. วตั ถุประสงค์ของฝายต้นนา้ ลาธาร 3.1. เพ่อื ชะลอการไหลของน้าจากแหล่งตน้ น้าลาธาร มิใหไ้ หลหลากอยา่ งรวดเร็ว 3.2. เพือ่ ทาหนา้ ท่ีในการดกั ตะกอนหนา้ ดิน มิใหไ้ หลปนไปกบั กระแสน้าจนทาใหน้ ้ามีความข่นุขน้ และไปทาใหแ้ หล่งน้าธรรมชาติท่ีอยดู่ า้ นล่างตอ้ งต้ืนเขิน 3.3. เพ่ือกักเก็บน้าไวเ้ ป็ นแหล่งน้าสาหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคของมนุษย์ และสัตวป์ ่ าตลอดจนการเกษตรกรรม อีกท้งั ยงั เป็นแหล่งท่ีอยอู่ าศยั ของสตั วน์ ้า 3.4. ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป้า เนื่องจากการกระจายความชุ่มช้ืนมากข้ึน สร้างระบบการควบคุมไฟป่ าดว้ ยแนวป้องกนั ไฟป่ าเปี ยก (Wet Fire Break)

4บทที่ 2 วธิ ีการดาเนินโครงการ1. รูปแบบของฝายต้นนา้ ลาธารฝายตน้ น้าอาจจาแนกรูปแบบไดใ้ น 2 ลกั ษณะ คือ 1.1 รูปแบบฝายตน้ น้าตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ ซ่ึงประกอบดว้ ย 1.1.1. ฝายเพ่ือการอนุรักษด์ ินและน้า ฝายเพ่ือการชะลอการไหลของน้า ฝายเพ่ือดกั ตะกอนดิน ลดการชะลา้ งดิน ฝายเพื่อการซบั น้าสร้างความชุ่มช้ืน 1.1.2. ฝายเก็บกักน้าเพื่อการผนั น้าเขา้ สู่พ้ืนที่ไร่นาหรือเพ่ือการกักเก็บน้า เพ่ือการใช้ประโยชน์ ซ่ึงจะมีโครงสร้างท่ีแขง็ แรงสามารถเก็บกกั น้าไวไ้ ด้ สร้างโดยวสั ดุปูนซีเมนต์ มีขนาดเลก็ -กลาง และใหญ่เป็นฝายที่ตอ้ งใชเ้ งินทุนและมีการออกแบบตามหลกั วชิ าการอยา่ งดี 1.2. รูปแบบฝายตน้ น้าตามลกั ษณะวสั ดุท่ีใชใ้ นการก่อสร้าง ในการก่อสร้างฝายตน้ น้าลาธารแต่ละชนิดจึงมีวตั ถุประสงคแ์ ละความเหมาะสมของพ้นื ที่ที่ใชใ้ นการก่อสร้างแตกต่างกนั ออกไปดว้ ย จึงไดแ้ บ่งฝายตน้ น้าตามคุณลกั ษณะทางวิศวกรรมโดยแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบดงั น้ี แบบที่ 1 ฝายตน้ น้าแบบผสมผสาน เป็ นโครงสร้างวิศวกรรมท่ีสร้างข้ึนเป็ นชว่ั คราว เพื่อขวางทางเดินของน้าในลาธารหรือร่องน้า อายุของโครงสร้างประเภทน้ีข้ึนอยู่กบั วสั ดุท่ีใชเ้ ป็ นสาคญั โดยทว่ั ไปควรมีอายุการใช้งานประมาณ 3-5 ปี และเป็ นโครงสร้างท่ีสามารถทาไดอ้ ย่างรวดเร็วดว้ ยวสั ดุที่หาง่ายและราคาถูก โดยใชว้ สั ดุท่ีมีอยใู่ นทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ ก่ิงไม้ ใบไม้ เสาไม้ กอ้ นหิน หรือวสั ดุท่ีคลา้ ยคลึงกนั ท่ีสามารถสร้างโครงสร้างชว่ั คราวน้ีได้ ความสูงท้งั หมดของโครงสร้างน้ีประมาณ 1 เมตร โดยฝายชนิดน้ีอาจมีช่ือเรียกตามวสั ดุที่ใช้หรือลักษณะท่ีสร้าง อาทิ ฝายผสมผสานแบบไม้ไผ่ ฝายผสมผสานแบบคอกหมู ฝายผสมผสานแบบหินทิ้ง ตาแหน่งของโครงสร้างฝายควรจะเป็ นบริเวณตอนบนของลาห้วยหรือร่องน้าและสร้างห่างกนั โดยให้สันของฝายท่ีต่ากว่าอยู่สูงเท่ากบั ฐานของฝายที่อยู่ถดั ข้ึนไป แต่อย่างไรก็ตามก็ข้ึนอยู่กบั การตดั สินใจในพ้ืนท่ีเป็นสาคญั โดยจะสามารถดกั ตะกอน ชะลอการไหลของน้า เพมิ่ ความชุ่มช้ืนบริเวณรอบฝาย

5 แบบที่ 2 ฝายตน้ น้าแบบก่ึงถาวร ขนาด 3 เมตร มีลกั ษณะฝายที่สร้างดว้ ยคอนกรีตเสริมเหลก็ คอนกรีตอดั แรง หรือก่ออิฐถือปูน สร้างท่ีลาธารกวา้ งไม่เกิน 3 เมตร ตาแหน่งโครงสร้างควรสร้างบริเวณตอนกลางและตอนล่างของลาธารหรือร่องน้า โดยจะสามารถดกั ตะกอนและกกั เกบ็ น้าไดบ้ างส่วนในช่วงฤดูแลง้ ซ่ึงมีแบบโครงสร้างมาตรฐานในการก่อสร้าง แบบท่ี 3 ฝายตน้ น้าแบบถาวร ขนาด 5 เมตร มีลกั ษณะฝายท่ีสร้างดว้ ยคอนกรีตเสริมเหลก็คอนกรีตอดั แรง หรือก่ออิฐถือปูน สร้างที่ลาธารกวา้ งไม่เกิน 5 เมตร รูปท่ี 1 แบบร่างแสดงฝายชะลอน้าตามแนวพระราชดาริฝายประเภทต่างๆ ท่ีมา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

62. ประเภทของฝายต้นนา้ ลาธาร 2.1. การสร้างฝายตน้ น้ารูปแบบผสมผสาน มีลกั ษณะต่างๆตามวสั ดุและความเหมาะสมกบั การทาหนา้ ท่ี ไดแ้ ก่ รูปที่ 2 ฝายไมแ้ นวเดี่ยว ท่ีมา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -ฝายไมแ้ นวเด่ียว เป็ นฝายขนาดเลก็ ก้นั ร่องหว้ ยที่มีขนาดเลก็ ไม่ลึกมากนกั สัณฐานลาหว้ ยคอ่ นขา้ งราบไม่ชนั มาก น้าไหลไม่แรงมากนกั สร้างโดยวสั ดุที่หาไดใ้ นทอ้ งถิ่น เช่น ไมไ้ ผ่ ไมล้ ูกล่าก่ิงไม้ รูปท่ี 3 ฝายไมแ้ กนดิน ที่มา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

7 -ฝายไมแ้ กนดิน เป็นฝายกลางก้นั ร่องหว้ ยท่ีมีขนาดปานกลาง กวา้ ง ความลึกไม่มากนกั เป็นฝายท่ีมีความแขง็ แรงมากข้ึนจากรูปแบบแรก ก่อสร้างโดยวสั ดุไม้ ไมไ้ ผท่ ่ีหาไดใ้ นทอ้ งถิ่นทาแนวก้นั เป็ นกาแพงไมส้ องแนวตรงกลางอดั ดว้ ยดินเป็ นแกน ขนาดกวา้ งของสันแกนประมาณ 1.5 - 2.0เมตร และดา้ นทา้ ยมีค้ายนั เสริมรับแรงกระแทกในการไหลของน้า ลกั ษณะลาหว้ ยจะมีขนาดความลึกและความกวา้ งมากกวา่ แบบแรก รูปท่ี 4 ฝายคอกหมู ที่มา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -ฝายคอกหมู มีลกั ษณะเป็นฝายไมแ้ กนดินหลายๆ ฝายเรียงต่อติดกนั โดยมีความสูงลดหลนั่กนั ลงมาตามความเหมาะสมของขนาดลาน้าและความสูงของตลิ่งหว้ ยที่ทาการก่อสร้างฝาย

8 รูปที่ 5 ฝายหินเรียง ที่มา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -ฝายหินเรียง สามารถทาไดโ้ ดยการใชห้ ินท่ีมีอยใู่ นลาหว้ ยเรียงเป็นช้นั ๆขวางลาหว้ ย ใชห้ ินกอ้ นใหญ่วางเป็ นฐานเพ่ือความแข็งแรง และใชห้ ินขนาดลดหลนั่ กนั ลงมาวางเรียงเป็ นรูปฝายที่มีความลาดเทรับแรงกระแทกของน้าดา้ นหนา้ ฝาย และลาดเทลงดา้ นทา้ ยฝายโดยมีความลาดมากกว่าดา้ นหนา้ ฝายเพอ่ื ป้องกนั การกดั เซาะฐานฝาย -ฝายประยกุ ต์ เป็นการประยกุ ตใ์ ชว้ สั ดุอุปกรณ์อื่นๆ เช่น การใชถ้ ุงป๋ ุยบรรจุดินกรวดในร่องหว้ ยแลว้ นามาเรียงเป็นรูปฝายก้นั ลาหว้ ยหรือการประยกุ ตเ์ ทปูนฉาบลงบนฝายเรียงดว้ ยถุงดินทรายซ่ึงเป็นการใชภ้ ูมิปัญญาในการนาวสั ดุอุปกรณ์ที่ชุมชนสามารถหาไดม้ าใชใ้ นการก่อสร้าง ขอ้ จากดัคือ ถา้ ทาไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การสร้างฝาย จะมีผลทาให้น้าลอดใตต้ วั ฝายได้ เนื่องจากไม่มีการขุดร่องแกนของตวั ฝาย วสั ดุท่ีนามาใชช้ ารุดไดง้ ่าย หากตวั ฝายไม่ทึบน้าจะเกิดน้าร่ัวจากตวั ฝายได้ ไม่สามารถเกบ็ น้าไวไ้ ดถ้ ึงช่วงฤดูแลง้

92.2. ฝายตน้ น้าลาธารแบบก่ึงถาวร รูปที่ 6 ฝายหินเรียงแกนดินหรือดินเหนียว ท่ีมา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -ฝายหินเรียงแกนดินหรือดินเหนียว โดยบดอดั แกนดินให้แน่นแลว้ ใชห้ ินทิ้งขนาดกลางเรียงทบั แกนดินใหเ้ ป็ นรูปฝายท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยหลงั เต่า ฝายรูปแบบน้ีจะมีลกั ษณะก่ึงถาวร มีความแขง็ แรงสามารถรองรับความแรงของน้าในลาหว้ ยที่มีความลาดชนั ปานกลางถึงคอ่ นขา้ งสูง รูปท่ี 7 ฝายหินก่อท่ีมา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

10 -ฝายหินก่อ ใชว้ สั ดุหิน กรวดทราย ก่อรูปหินดว้ ยปูนซีเมนตเ์ ป็ นรูปคลา้ ยสี่เหลี่ยมคางหมูและก่อพ้นื ทา้ ยน้าป้องกนั การกดั เซาะฐานฝายทา้ ยน้า 2.3. ฝายตน้ น้าลาธารแบบถาวร รูปที่ 8 ฝายคอนกรีตเสริมเหลก็ ที่มา : กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -ฝายคอนกรีตเสริมเหล็ก มีการออกแบบเฉพาะ มีความแข็งแรงทนทาน การดาเนินการก่อสร้างตอ้ งมีขอ้ พิจารณาพเิ ศษ เพราะเป็นฝายที่มีคา่ ใชจ้ ่ายสูงกวา่ ฝายประเภทอ่ืนๆ3. ข้อพจิ ารณาเพื่อการกาหนดรูปแบบและการดาเนินการก่อสร้างฝายต้นนา้ 3.1. การพิจารณาจุดเพื่อการกาหนดจุดในการก่อสร้าง ไม่ควรอยู่ตรงท่ีมีความคดโคง้ เพราะโอกาสการไหลของน้าจะกดั เซาะริมตลิ่งทาความเสียหายต่อฝายและตลิ่งห้วยดงั น้นั จึงควรเลือกทาฝายบริเวณที่มีลกั ษณะตรงมากกวา่ 3.2. ขนาดความกวา้ งของลาหว้ ย ห้วยที่มีขนาดใหญ่ยอ่ มมีปริมาณน้าท่ีมากกว่า มีความรุนแรงในการไหลของน้ามากกว่าลาหว้ ยที่มีขนาดเลก็ กวา่ รูปแบบของฝายที่สมั พนั ธ์กบั ความแขง็ แรง ในการที่จะสามารถรองรับความแรงและปริมาณน้าไดด้ ี หว้ ยท่ีมีขนาดเลก็ ควรเป็นฝายรูปแบบไมห้ รือฝายหินเรี ยงเป็ นตน้

11 3.3. ความลึกหรือความสูงของตลิ่ง ตลิ่งต้ืนควรเป็นฝายทอ้ งถ่ิน หรือตลิ่งสูงอาจเป็นฝายคอกหมูหรือฝายที่มีความแขง็ แรงมาก 3.4. ความลาดช้นั และความลาดเอียงของลาห้วย ห้วยที่มีความชนั มากควรพิจารณาสร้างฝายถี่หรือมีจานวนมากพอท่ีจะสามารถลดความแรงและชะลอการไหลของน้า ให้ช้าลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.5. ลกั ษณะสณั ฐานหว้ ย เป็นหิน ทราย กรวด หรือหิน ควรเลือกรูปแบบตามความเหมาะสมกบัสณั ฐานเพอื่ ลดปัญหาเทคนิคในการก่อสร้าง เช่น หว้ ยที่เป็นหินหากจะสร้างฝายไมค้ งทาไดย้ ากกว่าฝายหินหรือการใชค้ อนกรีต 3.6. ขอ้ มูลปริมาณน้า ความรุนแรงในการไหลของน้า ซ่ึงอาจจะเป็ นขอ้ มูลประจกั ษท์ ่ีชุมชนได้เห็นมาโดยตลอด ตาแหน่งโครงสร้างควรสร้างบริเวณตอนปลายของลาธารหรือร่องน้า (Second of thirdorder) โดยจะสามารถดกั ตะกอนและเกบ็ กกั น้าในฤดูแลง้ ไดด้ ี สามารถอานวยประโยชน์เป็นแหล่งน้าของชุมชนไดอ้ ีกทางหน่ึงดว้ ย แต่ตอ้ งระมดั ระวงั ในการกาหนดตาแหน่งของโครงสร้างและระดบั ของโครงสร้างแต่ละแห่งให้เหมาะสมกนั กล่าวคือสันของโครงสร้างที่อยู่ต่ากว่าจะตอ้ งสูงเสมอฐานของโครงสร้างท่ีอยเู่ หนือข้ึนไป4. ข้อควรคานึงในการสร้างฝายต้นนา้ 4.1. ควรสารวจสภาพพ้ืนท่ี วสั ดุก่อสร้างตามธรรมชาติและรูปแบบของฝายตน้ น้าลาธารท่ีเหมาะสมกบั ภูมิประเทศใหม้ ากท่ีสุด 4.2. ตอ้ งคานึงถึงความแขง็ แรงใหม้ ากพอที่จะไม่เกิดการพงั ทลายเสียหายยามท่ีฝนตกหนกั และกระแสน้าไหลแรง 4.3. ควรก่อสร้างในบริเวณลาหว้ ยที่มีความลาดชนั ต่าและแคบ เพื่อจะไดฝ้ ายตน้ น้าลาธารในขนาดท่ีไม่เลก็ เกินไป อีกท้งั ยงั สามารถกกั น้าและตะกอนได้

12 4.4. สาหรับฝายก่ึงถาวรและฝายถาวร ควรก่อสร้างฐานให้ลึกถึงหินดานร่องห้วย (bedrock)เพอื่ ที่จะสามารถดกั และดึงน้าใตด้ ินเหนือฝายได้ 4.5. วสั ดุก่อสร้างฝายตน้ น้า ประเภทก่ิงไม้ ท่อนไม้ ที่นามาใชใ้ นการสร้างจะตอ้ งระมดั ระวงั ใช้เฉพาะไมล้ ม้ ขอนนอนไพรเป็ นลาดบั แรกก่อนที่จะก่ิงไมท้ ่อนไมจ้ ากการริดกิ่ง ถา้ จาเป็ นใหใ้ ชน้ อ้ ยที่สุด 4.6. จดั ลาดบั ความสาคญั ของลาห้วยและตอ้ งพิจารณาสภาพแวดลอ้ มและความรุนแรงของปัญหาในพ้นื ที่เป็นสาคญั หากมีสภาพป่ าท่ีค่อนขา้ งสมบูรณ์หรือมีตน้ ไมห้ นาแน่น ความจาเป็นก็จะลดนอ้ ยลง อาจจะสร้างบางจุดเสริมเท่าน้นั5. การบารุงรักษาฝายต้นนา้ ลาธาร -สารวจตะกอนดินหนา้ ฝายตน้ น้าลาธารทุกหลงั ฤดูฝน ถา้ ตะกอนหนา้ ดินมีจานวนมาก ควรตกัออก เพ่ือให้หนา้ ฝายตน้ น้าลาธารสามารถทาหน้าท่ีในการดกั ตะกอนหน้าดินในฤดูกาลต่อไปได้โดยไม่ทาให้หนา้ ฝายต้ืนเขินและไม่ทาใหเ้ กิดการเปล่ียนทิศทางในการไหลของน้าซ่ึงจะส่งผลเสียต่อสภาพพ้นื ที่ตน้ น้าลาธาร -บารุงรักษาอยา่ งต่อเน่ือง ฝายตน้ น้าลาธารท่ีสร้างดว้ ยวสั ดุทอ้ งถิ่น ไมไ้ ผ่ เศษไม้ ปลายไม้ จะมีอายใุ ชง้ านไดด้ ีประมาณ 3–5 ปี โดยการซ่อมแซมส่วนท่ีชารุดหรือสร้างเสริมฝายใหม่ ใหม้ ีสภาพท่ีสามารถทาหนา้ ท่ีไดอ้ ยา่ งดี และช่วยยดื อายฝุ ายตน้ น้าลาธารใหท้ าหนา้ ที่ไดน้ านมากยงิ่ ข้ึน -พิจารณาถึงเหตุผลความจาเป็ น เม่ือฝายตน้ น้าลาธารน้นั มีสภาพท่ีไม่สามารถทาหนา้ ท่ีไดแ้ ลว้และสภาพนิเวศลุ่มน้าบริเวณน้นั ฟ้ื นกลบั มามีความอุดมสมบูรณ์แลว้ กต็ อ้ งพิจารณาถึงเหตุผลความจาเป็ นว่าฝายตน้ น้าลาธาร ณ จุดน้ันยงั มีความจาเป็ นอยู่อีกหรือไม่ ถา้ ยงั คงมีความจาเป็ นอยู่ก็ตอ้ งดาเนินการปรับปรุง สร้างเสริม หรือสร้างตวั ใหม่ทดแทน -การจดั การเพ่ือเตรียมวสั ดุทอ้ งถ่ิน ท่ีจะนาไปใชใ้ นการซ่อมแซมหรือการดาเนินการก่อสร้างฝายตน้ น้าลาธารของชุมชน เช่น การปลูกไมโ้ ตเร็ว การปลูกไผ่ หรือการจดั การป่ าไมธ้ รรมชาติใหม้ ี

13ความอุดมสมบูรณ์ ปลอดภยั จากภยั อนั ตราย ท้งั น้ีเพื่อเป็นการช่วยลดการสร้างผลกระทบท่ีจะทาให้เกิดการสูญเสียหรือเกิดการเปล่ียนแปลงในระบบธรรมชาติ -การต่อท่อกระจายน้าจากฝายตน้ น้าลาธาร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดาริว่า เม่ือก่อสร้างฝายตน้ น้าลาธารข้ึนใหม่ๆ ฝายตน้ น้าลาธารจะมีลกั ษณะน้าซึมผา่ นได้ ไม่สามารถเก็บกกั น้าได้ แต่เม่ือฝายตน้ น้าลาธารไดท้ าหนา้ ที่ในการชะลอการไหลของน้าและดกั ตะกอนหนา้ ดินไปเป็นเวลา 2 – 3 ปี แลว้ ฝายตน้ น้าลาธารจะมีตะกอนดินมาอุดหนา้ ฝาย และจะทาใหเ้ กิดการเก็บกกั น้าไวไ้ ด้ เม่ือฝายตน้ น้าลาธารสามารถเก็บกกั น้าไวไ้ ด้ ใหใ้ ชไ้ มไ้ ผต่ ่อเป็นท่อกระจายน้าจากฝายตน้ น้าลาธารน้นั เขา้ สู่ผนื ป่ าดา้ นขา้ งใหเ้ กิดการกระจายความชุ่มช้ืนสู่ป่ าไมท้ าให้ตน้ ไมเ้ จริญเติบโตไดด้ ีเป็นวงกวา้ งมากข้ึน6. การจดั การบริเวณพืน้ ทส่ี ร้างฝายต้นนา้ ลาธาร -ปลูกแฝกป้องกันการพงั ทลายและการชะลา้ งตะกอนหน้าดิน บริเวณพ้ืนที่ริมตล่ิงร่องน้าร่องหว้ ยท่ีมีความลาดชนั รวมท้งั บริเวณพ้ืนท่ีลุ่มน้าดา้ นบนฝายดว้ ย -ปลูกไมเ้ สริมบริเวณสองฝั่งตลิ่ง เม่ือฝายตน้ น้าลาธารชะลอการไหลของน้าแลว้ จะช่วยทาให้ดินเกิดความชุ่มช้ืน ควรพิจารณาปลูกไมเ้ สริมบริเวณสองฝั่งตลิ่งที่มีความชุ่มช้ืน จะทาให้ระบบนิเวศลุ่มน้าฟ้ื นตวั ไดเ้ ร็วข้ึน -การทาแนวป้องกนั ไฟป่ าในฤดูแลง้ เพือ่ ป้องกนั อนั ตรายที่จะเกิดกบั ฝายตน้ น้าลาธารและสภาพป่ าธรรมชาติ -ส่งเสริมให้ชุมชนจดั เก็บขอ้ มูล เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้เร่ืองฝายตน้ น้าลาธาร การเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มพ้นื ท่ีตน้ น้าลาธาร

14บทท่ี 3 ผลการทดลองหรือการวเิ คราะห์ขอ้ มูล1. ประโยชน์ ของฝายชะลอนา้ 1.1. ช่วยลดการชะลา้ งพงั ทลายของดินและลดความรุนแรงของกระแสน้าในลาธาร ทาให้ระยะเวลาในการไหลของน้าเพ่ิมมากข้ึน ความชุ่มช้ืนเพ่ิมข้ึน และแผ่ขยายกระจายความชุ่มช้ืนออกไปเป็นวงกวา้ งในพ้ืนที่ท้งั สองฝ่ังของลาหว้ ย 1.2. ช่วยกกั เก็บตะกอนและวสั ดุต่างๆ ที่ไหลลงมากบั น้าในลาห้วยไดด้ ี เป็ นการช่วยยดื อายุแหล่งน้าตอนล่างใหต้ ้ืนเขินชา้ ลง คุณภาพของน้ามีตะกอนปะปนนอ้ ยลง 1.3. ช่วยเพ่มิ ความหลากหลายทางชีวภาพ และการทดแทนของสงั คมพืชใหแ้ ก่พ้ืนท่ีโดยรอบ 1.4. ทาให้เป็ นแหล่งท่ีอยู่อาศยั ของสัตวน์ ้า และใชเ้ ป็ นแหล่งน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคของมนุษยแ์ ละสตั วป์ ่ าต่างๆ ตลอดจนนาไปใชใ้ นการเกษตรไดอ้ ีกดว้ ย 1.5. ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่ าในฤดูแลง้2. เขตพืน้ ทต่ี ่างๆทม่ี กี ารนารูปแบบฝายต้นนา้ ลาธาร (Check Dam) ไปใช้ โดยมีการติดตามประเมินผลเบ้ืองตน้ ในระยะ 10 ปี ท่ีผ่านมา (ช่วงปี 2542 – 2553)ดาเนินการก่อสร้างฝายท้งั ในรูปแบบฝายผสมผสาน ฝายก่ึงถาวร และฝายถาวร ในพ้ืนที่ต่างๆ แยกตามพ้นื ท่ีลุ่มน้า รวมท้งั สิ้นจานวน 26,391 แห่ง ผลการดาเนินการดงั น้ี -เขตพ้ืนที่ลุ่มน้าสาละวิน ไดแ้ ก่ พ้ืนท่ีอาเภอปางมะผา้ อาเภอแม่ลาน้อย จงั หวดั แม่ฮ่องสอนดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้นื ท่ีรวมจานวน 300 แห่ง -เขตพ้ืนท่ีลุ่มน้าโขง ได้แก่ พ้ืนที่อาเภอภูซาง จังหวดั พะเยา อาเภอเชิงคาน อาเภอเอราวนัอาเภอภูหลวง อาเภอนาดว้ ง อาเภอหนองหิน อาเภอวงั สะพุง อาเภอท่าล่ี อาเภอนาแห้ว อาเภอภูกระดึง จงั หวดั เลย ดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้นื ท่ีรวมจานวน 822 แห่ง

15 -เขตพ้ืนท่ีลุ่มน้าปิ ง ไดแ้ ก่ พ้ืนท่ีอาเภอเมือง อาเภอดอยสะเก็ด อาเภอสันกาแพง อาเภอแม่ออนอาเภอแม่ริม อาเภอกลั ยาณิวฒั นา อาเภอพร้าว อาเภอเชียงดาว อาเภอฝาง อาเภอจอมทอง อาเภอแม่แจ่ม อาเภอฮอด อาเภออมก๋อย จงั หวดั เชียงใหม่ และ อาเภอป่ าซาง อาเภอแม่ทา อาเภอทุ่งหวั ชา้ งอาเภอเมือง จงั หวดั ลาพนู ดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้ืนที่รวมจานวน 17,044 แห่ง -เขตพ้ืนท่ีลุ่มน้าวงั ไดแ้ ก่ พ้ืนท่ีอาเภอเสริมงาม จงั หวดั ลาปาง ดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้ืนท่ีรวมจานวน 4,039 แห่ง -เขตพ้ืนที่ลุ่มน้ายม ไดแ้ ก่ อาเภอเมือง อาเภอสูงเม่น จงั หวดั แพร่ ดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้ืนที่รวมจานวน 1,444 แห่ง -เขตพ้ืนที่ลุ่มน้าน่าน ไดแ้ ก่ อาเภอปัว จงั หวดั น่าน อาเภอบา้ นโคก จงั หวดั อุตรดิตถ์ ดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้ืนท่ีรวมจานวน 972 แห่ง -เขตพ้ืนท่ีลุ่มน้าป่ าสัก ไดแ้ ก่ อาเภอเขาคอ้ อาเภอน้าหนาว จงั หวดั เพชรบูรณ์ อาเภอแก่งคอยจงั หวดั สระบุรี ดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้นื ที่รวมจานวน 1,501 แห่ง -เขตพ้ืนที่ลุ่มน้าภาคใตฝ้ ั่งตะวนั ออก ไดแ้ ก่ พ้ืนที่จงั หวดั นราธิวาส และเขตพ้ืนที่ลุ่มน้าปัตตานีไดแ้ ก่ พ้ืนที่จงั หวดั ยะลา ดาเนินการก่อสร้างฝายในพ้นื ท่ีรวมจานวน 263 แห่ง

16บทท่ี 4 การวจิ ารณ์หรืออภิปรายผล1. ข้อดแี ละข้อเสียของฝายแต่ละประเภท 1.1. ฝายตน้ น้ารูปแบบผสมผสาน -ฝายไมแ้ นวเดี่ยวขอ้ จากดั คือ การชะลอน้าไดเ้ พียงชว่ั ระยะหน่ึง ไม่สามารถเก็บน้าไดน้ าน น้าท่ีขงั บริเวณหนา้ ฝายจะแหง้ ก่อนถึงฤดูแลง้ ไม่มีความคงทนถาวรขอ้ ดี คือ สร้างง่าย ใชเ้ วลาก่อสร้างไม่นาน สามารถไปสร้างบริเวณตน้ น้าไดง้ ่าย -ฝายไมแ้ กนดินขอ้ จากดั คือ อายกุ ารใชง้ านส้ัน มีการผพุ งั ไดง้ ่าย การชะลอน้าไดเ้ พียงชว่ั ระยะหน่ึง ไม่สามารถเก็บน้าได้นาน หินที่ทับหลงั ฝาย ถ้าหินขนาดเล็กจะไหลไปตามแรงน้า ควรใช้หินที่มีขนาดใหญ่พอสมควรทบั หลงั ฝาย เพ่ือเป็นการกดหนา้ ดินไว้ ไม่ใหน้ ้ากดั เซาะหนา้ ดินขอ้ ดี คือ สามารถใชว้ สั ดุในทอ้ งถิ่นได้ สร้างง่าย ใชเ้ วลาก่อสร้างไม่นาน -ฝายคอกหมูขอ้ จากดั คือ การก่อสร้างใชเ้ วลา 1 – 2 วนั ต่อ 1 ฝาย ใชว้ สั ดุอุปกรณ์จานวนมาก เช่น ไมไ้ ผ่ ดิน หินขอ้ ดี คือ มีความทนทานในการรับความรุนแรงของน้าไดด้ ี (กรณีท่ีสร้างแบบถูกตอ้ ง) สามารถชะลอน้าบริเวณหนา้ ฝายไดด้ ีกวา่ ฝายไมแ้ นวเด่ียวและฝายไมแ้ กนดิน และวสั ดุสามารถหาไดใ้ นทอ้ งถ่ิน -ฝายหินเรียงขอ้ จากดั คือ ถา้ ทาไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การสร้างฝาย จะมีผลทาใหน้ ้าลอดใตต้ วั ฝายได้ เนื่องจากไม่มีการขดุ ร่องแกนของตวั ฝายและหากหินที่ทบั หลงั ฝายถา้ หินขนาดเลก็ จะไหลไปตามแรงน้าขอ้ ดี คือ ถา้ เลือกลาหว้ ยท่ีมีหินอยแู่ ลว้ สามารถสร้างฝายไดง้ ่ายและรวดเร็ว

17 -ฝายประยกุ ต์ขอ้ จากดั คือ ถา้ ทาไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การสร้างฝาย จะมีผลทาใหน้ ้าลอดใตต้ วั ฝายได้ เน่ืองจากไม่มีการขดุ ร่องแกนของตวั ฝาย วสั ดุที่นามาใชช้ ารุดไดง้ ่าย หากตวั ฝายไม่ทึบน้าจะเกิดน้าร่ัวจากตวั ฝายได้ ไม่สามารถเกบ็ น้าไวไ้ ดถ้ ึงช่วงฤดูแลง้ขอ้ ดี คือ สามารถประยกุ ต์ ดดั แปลง ใหเ้ หมาะสมกบั งบประมาณและวสั ดุในพ้นื ท่ี 1.2. ฝายตน้ น้าลาธารแบบก่ึงถาวร -ฝายหินเรียงแกนดินหรือดินเหนียวขอ้ จากดั คือ ถา้ ทาไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การสร้างฝาย จะมีผลทาใหน้ ้าลอดใตต้ วั ฝายได้ เนื่องจากไม่มีการขดุ ร่องแกนของตวั ฝาย แมจ้ ะทาอยา่ งมนั่ คงและแขง็ แรงกต็ ามขอ้ ดี คือ เกบ็ น้าและดกั ตะกอนหนา้ ฝายไดม้ ากและนานข้ึน อายกุ ารใชง้ านของฝายนาน -ฝายหินก่อขอ้ จากดั คือ ไม่เหมาะกบั การสร้างในพ้ืนท่ีใกลบ้ ริเวณตน้ น้าหรือยอดเขา เนื่องจากตอ้ งมีการขนยา้ ยวสั ดุอุปกรณ์จานวนมาก มีค่าใชจ้ ่ายสูง การก่อสร้างใชเ้ วลา 2 – 3 วนั ต่อ 1 ฝายขอ้ ดี คือ มีความมน่ั คง แขง็ แรง สามารถเกบ็ น้าไดด้ ี 1.3. ฝายตน้ น้าลาธารแบบถาวร -ฝายคอนกรีตเสริมเหลก็ขอ้ จากดั คือ มีค่าใชจ้ ่ายสูง ตวั ฝายตอ้ งมีการออกแบบจากช่างท่ีมีความรู้ในดา้ นการก่อสร้างฝายโดยตรงทาเลท่ีจะสร้างฝายเป็นบริเวณทา้ ยน้าขอ้ ดี คือ มีความมนั่ คง แข็งแรง สามารถจะใชป้ ระโยชน์จากฝายไดเ้ ป็ นอย่างดี เช่น การเก็บกกัตะกอนบริเวณหนา้ ฝาย ระยะเวลาการเกบ็ กกั น้าไดน้ านกวา่ ฝายทุกประเภท

เอกสารอ้างองิประโยชน์ของฝายชะลอน้า. (7 มกราคม 2558). สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 9 ตุลาคม 2560. จาก https://nesyaahoo.wordpress.com.ผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ นวศิ วกรรมโยธา (ดา้ นสารวจและหรือออกแบบ)กองประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริคณะทางาน สานกั ออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม กรมชลประทาน. (2559). คู่มือการกาหนดรูปแบบก่อสร้าง ซ่อมปรับปรุง บารุงรักษา และเพมิ่ ประสิทธิภาพฝายชะลอนา้ พอเพยี งตามแนวพระราชดาริ. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : บริษทั บูม สเตชน่ั จากดั .มูลนิธิมนั่ พฒั นา. (ม.ป.ป.). โครงการฝายแม้วชะลอนา้ (พ.ศ. 2521). สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 9 ตุลาคม 2560. จาก http://www.tsdf.or.th/th/royally-initiated-projects/10776.สานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ. (ม.ป.ป.). สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 9 ตุลาคม 2560. จาก http://km.rdpb.go.th/Knowledge/View/21.สานกั งานทรัพยากรน้า ภาค 4. (2550). ฝายต้นนา้ check dam. ม.ป.ท. ม.ป.พ. จ

ประวตั ผิ ู้ดาเนินงานชื่อ นางสาว กชนุช ธนะขวา้ งภูมิลาเนา 102 ม.2 ตาบลแสนทอง อาเภอท่าวงั ผา จงั หวดั น่าน ประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจาก โรงเรียนท่าวงั ผาพิทยาคม -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร E-mail: [email protected] ช่ือ นางสาว กชวรรณ มีนวล ภูมิลาเนา 65 ซอยสวนสยาม16 ถนนสวนสยาม แขวงคนั นายาว เขตคนั นายาว กรุงเทพมหานคร ประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาโรงเรียนสตรีวทิ ยา ๒ -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร E-mail: [email protected]

ช่ือ นางสาว กรกฎกร เสือโตภูมิลาเนา 77/2 หมู่ 5 ตาบล วงั สาโรง อาเภอ บางมูลนาก จงั หวดั พจิ ิตรประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรียนมธั ยมสาธิต มหาวทิ ยาลยั นเรศวร -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected] ช่ือ นาย ภคสิษฐ์ พรมสุจา ภูมิลาเนา 102/13 ม.1 ต.เกาะตาเล้ียง อ.ศรีสาโรง จ.สุโขทยั ประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมจากโรงเรียนศรีสาโรงชนูปถมั ภ์ -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]

ช่ือ นายกฤตวฒั น์ ธาราวชั รศาสตร์ ภูมิลาเนา 606/3 ซอย 12 ถนน บรมไตรโลกนารถ ตาบล ในเมือง อาเภอ เมือง จงั หวดั พษิ ณุโลก ประวตั ิการศึกษา -จบจากโรงเรียน พิษณุโลกพทิ ยาคม -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร E-mail: [email protected]ชื่อ นาย กชวตั ร คาแปงภูมิลาเนา 210/4 หมู่ 11 ตาบล น้ารึม อาเภอ เมือง จงั หวดั ตากประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจาก โรงเรียนตากพิทยาคม -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร E-mail [email protected]

ช่ือ นาย กษิดิศ กา้ วสมบตั ิที่อยู่ 52/139 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000ประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรียนจุฬาภรณ- ราชวทิ ยาลยั พษิ ณุโลก -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร E-mail: [email protected] ช่ือ นาย กษิดิศเดช สวนปลิก ภูมิลาเนา 67 ม.4 ตาบลบา้ นนา อาเภอศรีสาโรง จงั หวดั สุโขทยั ประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจาก โรงเรียนอดุ มดรุณี -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร E-mail: [email protected]

ช่ือ นาย กอบโชค พงษอ์ ริยะทรัพย์ภูมิลาเนา 557/6 ม.7 หมู่บา้ นพงศผ์ าลากนู ถ.พษิ ณุโลก-หล่มสกัตาบล สมอแข อาเภอ เมือง จงั หวดั พษิ ณุโลกประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจาก โรงเรียนเฉลิมขวญั สตรี -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรEmail: [email protected] ชื่อ นาย กนั ตภณ โชติเจริญรัตน์ภูมิลาเนา 4/1 ม.13 ถ.พิศาล ต.หยว่ น อ.เชียงคา จ.พะเยา 56110ประวตั ิการศึกษา -จบมธั ยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรE-mail: [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook