Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-Commerce 7-14

e-Commerce 7-14

Published by wanidapaew11, 2021-09-20 00:13:59

Description: e-Commerce 7-14

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ที่ 7 องค์ประกอบของการทาพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ องคป์ ระกอบหลกั ของระบบพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีทาใหเ้ ราคา้ ขายบนเวบ็ ไดน้ ้นั มีดงั น้ี 1. สร้างเว็บเพจ หรือร้านค้าบนเว็บ ซ่ึงสามารถประกาศขายสินคา้ บนระบบอินเทอร์เน็ตได้ โดยอาจเป็ นเพียงหนา้ โฆษณาสินคา้ ธรรมดาท่ีเอาไปฝากกบั เวบ็ ไซต์อ่ืน หรือร้านคา้ อื่นไว้ หรือ มีชื่อร้าน หรือเว็บไซต์เป็ นของตนเอง เช่น www.sabai.com เป็ นต้น หน้าเว็บเพจสาหรับ การเสนอสินคา้ บางทีเรียกกนั วา่ หนา้ ร้าน (Store Front) 2. สร้างระบบตะกร้ารับส่ิงของสั่งซื้อ (Shopping Car System) เป็ นระบบท่ีสามารถคลิกเพื่อ ส่ังซ้ือสินค้าจากหน้าเว็บเพจได้โดยการคลิกซ้ือแต่ละคร้ัง จะเป็ นการหยอดของลงตะกร้า หรือรถเข็นและสะสมไวจ้ นกว่าเราจะซ้ือของครบ และตัดสินใจให้ระบบแคชเชียร์อัตโนมัติ คานวณเงิน (ระบบตะกร้ามีหลายรูปแบบมาก) ซ่ึงสามารถปรับแต่ง หรือออกแบบเฉพาะ ใหเ้ หมาะสมกบั กิจกรรมการคา้ และสินคา้ แต่ละชนิดได้ 3. สร้างระบบความปลอดภยั ในการชาระเงนิ ค่าสินค้า ( Secure Payment System) เป็นระบบ คิดคานวณเงินและชาระเงินค่าสินคา้ ท่ีปลอดภยั โดยส่วนใหญ่จะชาระด้วยบตั รเครดิต (ซ่ึงใน ประเทศไทยปัจจุบันสามารถรับเงินผ่านเว็บด้วยบัตร Visa AMEX, Master, SCB and JCB ได้แล้ว) ซ่ึงการถ่ายโอนขอ้ มูลเกี่ยวกับบัตรเครดิตบนเครือข่ายจาเป็ นตอ้ งเขา้ รหัสเพ่ือป้องกัน การรั่วไหล ระบบท่ีใช้กันในปัจจุบัน คือ SSL ( Secure Socket Layers) แต่อย่างไรก็ตามก็ยัง ไม่มีความปลอดภยั มากนกั เพราะไม่สามารถระบุผูถ้ ือบตั รไดว้ ่าใช่ตวั จริงหรือไม่ ดงั น้นั จึงมีการ พัฒนาระบบน้ีใหม่ข้ึนมาคือ SET ( Secure Electronic Transaction) ซ่ึงมีการระบุท้ังสองฝ่ ายว่า คอื ตวั จริง แต่ติดปัญหาท่ีตน้ ทุนการลงทนุ สูง จึงยงั ไม่แพร่หลาย 4. องค์ประกอบของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คาสั่งซ้ือท่ีได้จะถูกส่งเข้า Mail Box หรือ ตูจ้ ดหมายของเราโดยอตั โนมัติ (หรืออาจจะเขา้ สู่ระบบฐานขอ้ มูลก็ได้) รวมท้ังมีการยืนยนั ไป ที่ลูกคา้ ผูส้ ั่งซ้ือด้วย ในขณะท่ีขอ้ มูลบัตรเครดิตก็สามารถส่งเข้าไปขออนุมตั ิวงเงินท่ีธนาคาร ไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ โดยจะมีการแจง้ ยืนยนั ไปที่ลูกคา้ ดว้ ย ซ่ึงถา้ ใครขายสินคา้ ที่สามารถดาวน์โหลด ไดเ้ ลยก็จะไดเ้ ปรียบเพราะลูกคา้ สามารถรับมอบสินคา้ ไปไดเ้ ลย ในขณะท่ีเจา้ ของร้านก็ไดร้ ับเงิน เขา้ บญั ชีไปเลย แต่อยา่ งไรก็ตามหากเราไม่พร้อมที่จะต่อเช่ือมเป็ นระบบอตั โนมตั ิ (เนื่องจากเสีย ค่าใชจ้ ่ายสูง) เราก็อาจจะใหส้ ่งเขา้ มาท่ีตูร้ ับจดหมายของเราก่อนก็ไดแ้ ลว้ ค่อยโทรขออนุมตั ิวงเงิน ภายหลัง (ถา้ สินค้าของเราดีลูกค้าก็ยอมคอยได้ แต่ถ้าหากเป็ นประเภทเพลงท่ีดาวน์โหลดได้ ควรไดร้ ับการอนุมตั ิแบบอตั โนมตั ิเลย)

ใบความรู้ท่ี 8 การออกแบบเว็บไซต์ ตวั อย่างการออกแบบเว็บไซต์จาหน่ายสินค้า OTOP องค์ประกอบของการทาพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 1. สร้างเวบ็ เพจ หรือร้านค้าบนเว็บ 2. สร้างระบบตะกร้ารับส่ิงของส่ังซื้อ (Shopping Car System) 3. สร้างระบบความปลอดภยั ในการชาระเงินค่าสินค้า ( Secure Payment System) 4. องค์ประกอบของระบบพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1. สร้างเวบ็ เพจ หรือร้านค้าบนเวบ็





2. สร้างระบบตะกร้ารับสิ่งของสั่งซื้อ (Shopping Car System) สั่งซื้อ สมคั รสมาชิก

3. สร้างระบบความปลอดภัยในการชาระเงนิ ค่าสินค้า ( Secure Payment System) วธิ ีการชาระเงิน 1. โอนเงินเขา้ บญั ชีธนาคารกรุงไทย สาขาตลาดหนองบวั ประเภทออมทรัพย์ เลขท่ีบญั ชี xxx-x-xxxxx-x นางวนิดา บุญพิเชฐวงศ์ 2. ชาระดว้ ยบตั รเครดิต 3. ชาระเงินปลายทาง

4. องค์ประกอบของระบบพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์



ใบความรู้ท่ี 9 ข้นั ตอนการทาพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ข้นั ตอนการทาพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ข้นั ตอนการทาธุรกรรมทางพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ท่ีผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเริ่มตน้ จาก การสืบค้นข้อมูลและการโฆษณาสินค้า หรือบริการผ่านระบบ WWW. (World Wide Web) ถา้ ต้องการจะซ้ือสินค้าหรือบริการก็จะดาเนินการในข้นั ต่อไป คือ กระบวนการสั่งซ้ือและ การชาระเงินในระบบไร้กระดาษ โดยชาระเงินผ่านระบบอินเทอร์เน็ต หรือวิธีการอ่ืนๆ ที่ผู้ ให้บริการมีให้เลือกข้ันตอนสุดท้ายคือการส่งมอบสินค้า ซ่ึงสินคา้ ที่จะส่งมอบแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ สินคา้ ท่ีจบั ตอ้ งได้ (Physical Good) ซ่ึงสามารถใชบ้ ริการจดั ส่งสินคา้ ตามปกติได้ และสิ นค้าท่ีจับต้องไม่ได้ (Cyber Products) สามารถส่งผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Delivery) มาถึงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของผซู้ ้ือไดโ้ ดยตรง

ข้นั ตอนการทาพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Commerce) สารวจสินค้า หรือบริการท่ตี ลาดต้องการ ศึกษาค้นคว้าวิธีการเขยี นโฮมเพจ จดทะเบยี น Domain Name จาก ISP จดทะเบยี นเพื่อขอรับโปรแกรมการชาระเงิน ผ่านทางอนิ เทอร์เน็ตจากผู้ให้บริการ TPSP ติดต่อกบั Bank เพื่อรองรับการชาระเงินของ ลกู ค้าผ่านระบบออนไลน์ ดาเนินการพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Commerce)

1. สำรวจสินคำ้ หรือบริกำรท่ีตลำดตอ้ งกำร ก่อนอ่ืนผปู้ ระกอบกำรจะตอ้ งมองหำวำ่ สินคำ้ หรือบริกำรใดบำ้ งท่ีสำมำรถจะนำมำขำยบนอินเทอร์เน็ตได้ เนื่องจำกสินคำ้ บำงอยำ่ งอำจจะ ไม่เหมำะท่ีจะนำมำขำยบนอินเทอร์เน็ต โดยเฉพำะสินค้ำท่ีมีกลุ่มลูกค้ำเป้ำหมำยไม่เล่น อินเทอร์เน็ต สินคำ้ ที่เหมำะจะขำยบนอินเทอร์เน็ตน้ัน จะตอ้ งเป็ นสินค้ำท่ีมีกลุ่มเป้ำหมำยเล่น อินเทอร์เน็ต เพรำะผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ไม่ชอบซ้ือรองเทำ้ หรือเครื่องแตง่ กำยผ่ำนทำงอินเทอร์เน็ต เน่ืองจำกไมไ่ ดล้ องก่อนซ้ือ ลูกคำ้ บำงคนไมก่ ลำ้ ซ้ือสินคำ้ รำคำแพง เช่น เคร่ืองประดบั เพรำะกลวั โดนโกง หรือไมก่ ็เป็นของปลอม ในปัจจุบนั สินคำ้ หรือบริกำรที่นิยม หรือโดดเด่นในกำรขำยบน อินเทอร์เน็ต ไดแ้ ก่ บริกำรธนำคำรพำณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ขอ้ มูลบนโทรศพั ท์มือถือ กำรชำระ ค่ำสำธำรณูปโภค กำรจองตว๋ั คอนเสิร์ต หรือภำพยนตร์ ตวั๋ เดินทำงและท่ีพกั ประกนั ภยั หนงั สือ และอปุ กรณ์ไอทีต่ำงๆ เป็นตน้ 2. ศึกษำคน้ ควำ้ วิธีกำรเขยี นโฮมเพจ วิธีกำรทำพำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ สำมำรถทำได้ 2 วิธี คือ กำรฝำกสินคำ้ ขำยบน Shopping Mail และกำรสร้ำงเวบ็ ไซต์ (Web Site) ของตนเอง หำกผูป้ ระกอบกำรเลือกวิธีกำรสร้ำงเว็บไซต์ (Web Site) เป็ นของตนเอง ผูป้ ระกอบกำรจะตอ้ ง ศึกษำคน้ ควำ้ วิธีกำรเขียนโฮมเพจจำกแหล่งควำมรู้ต่ำงๆ เพิ่มเติม เช่น กำรออกแบบเวบ็ ไซต์ กำร ใชภ้ ำษำเพื่อกำรบรรยำยขอ้ มลู ตำ่ งๆ ท่ีจะส่ือถึงลกู คำ้ กำรถ่ำยภำพสินคำ้ ใหด้ ูน่ำสนใจ กำรประชำสัมพนั ธ์ ระบบควำมปลอดภยั ต่ำงๆ เพ่ือป้องกันปัญหำกำรขโมยบตั รเครดิตของผูอ้ ่ืน มำซ้ือสินคำ้ ซ่ึงผปู้ ระกอบกำรสำมำรถหำขอ้ มลู เพ่ิมไดจ้ ำก www.thaiecommerce.org 3. จดทะเบียนโดเมนเนม (Domain Name) จำก ISP (Internet Service Provider) กำรเลือกโดเมนเนมจะมีท้งั .com , .net, .biz และ .info ซ่ึงผูป้ ระกอบกำรสำมำรถตรวจสอบได้ จำก www.checkdomain.com วำ่ ชื่อน้ีมีผปู้ ระกอบกำรรำยใดใชแ้ ลว้ หรือไม่ กำรต้งั ช่ือควรเป็นช่ือ ที่ จำง่ำย ส้ั น ก ะ ทัด รั ด แ ล ะ สั ม พัน ธ์ กับ สิ น ค้ำห รื อ บ ริ ก ำรที่ ต้อ งก ำรจะ ข ำย เช่ น www.thaisecondhand.com (ซ้ือขำยและเปล่ียนสินค้ำมือสอง) www.itshoppings.com (ซ้ือขำย และรวบรวมสินคำ้ ไอที) www.mrsflowers.com (ร้ำนจำหน่ำยดอกไม)้ เม่ือต้งั ช่ือแลว้ ก็สำมำรถ เขำ้ ไปจดทะเบียนโดเมนเนม (อำจจะทำกำรจดไวก้ ่อนต้งั แต่ข้นั ตอนแรก หำกกลวั ชื่อท่ีตอ้ งกำร หมด) จำกผรู้ ับจดทะเบียน ISP ไดเ้ ลย

4. จดทะเบียนเพื่อขอรับโปรแกรมกำรชำระเงินผำ่ นทำงอินเทอร์เน็ตจำกผใู้ หบ้ ริกำร TPSP ซ่ึงจะเป็นผเู้ ช่ือมตอ่ ระบบใหก้ บั ทุกร้ำนคำ้ หรือผใู้ หบ้ ริกำรอินเทอร์เน็ตให้สำมำรถชำระเงิน ผำ่ นธนำคำรไดโ้ ดยสะดวก 5. ผปู้ ระกอบกำรจะตอ้ งไปขออนุมตั ิเปิ ดร้ำนและเปิ ดบญั ชีเงินฝำกกบั ธนำคำร (Bank) เพอ่ื รองรับกำรชำระเงินของลกู คำ้ ผำ่ นทำงบตั รเครดิตตำมธนำคำรที่ตนเลือก 6. ผปู้ ระกอบกำรลงมือทำพำณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ตำมที่ตนเองออกแบบไวแ้ ลว้ และควรมี กำรเฝ้ำดูแล ประเมินผล และปรับปรุงเน้ือหำทุกๆ 1-3 เดือน หรือ 6 เดือน เพ่ือปรับแต่งเวบ็ ไซต์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั พฤติกรรมและควำมตอ้ งกำรของกลุ่มลกู คำ้ เป้ำหมำย

ใบความรู้ที่ 10 วธิ กี ารชาระเงนิ ของพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ วธิ ีการชาระเงนิ ของพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วิธีการชาระเงินของพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นการชาระเงินทางอินเทอร์เน็ตซ่ึงมี หลายวธิ ีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ชาระโดยบตั รเครดิต (Credit Card) วิธีน้ีเป็นวิธีที่นิยมกนั มากท่ีสุด โดยเมื่อผซู้ ้ือตกลงซ้ือสินคา้ แลว้ จะตอ้ งกรอกขอ้ มลู บตั รเครดิตลงบนอินเทอร์เนต็ ขอ้ มูลจะถูก ส่งไปยงั ธนาคารที่ร้านคา้ ใชบ้ ริการอยู่ (Acquiring Bank) ธนาคารจะทาการตรวจสอบมายงั ธนาคาร ผอู้ อกบตั รถา้ ขอ้ มูลถูกตอ้ ง ผซู้ ้ือจะตอ้ งยนื ยนั คาส่ังซ้ืออีกคร้ัง จากน้นั ธนาคารจะโอน เงินไปสู่บญั ชีร้านคา้ แลว้ ร้านคา้ กจ็ ะจดั ส่งสินคา้ ใหก้ บั ผซู้ ้ือต่อไป 2. ชาระโดยเงินอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Money) โดยผซู้ ้ือจะตอ้ งเปิ ดบญั ชีกบั ธนาคารท่ีใหบ้ ริการ เมื่อตกลงจะซ้ือสินคา้ ผซู้ ้ือจะเขา้ ไปถอนเงินจากเวบ็ ไซต์ (Web Site) ของธนาคาร มาเกบ็ ไวท้ ี่เครื่องคอมพิวเตอร์ของผซู้ ้ือ จากน้นั ผซู้ ้ือจะสัง่ ซ้ือสินคา้ และจ่ายเงิน อิเลก็ ทรอนิกส์ใหก้ บั ร้านคา้ ทางร้านคา้ กจ็ ะตรวจสอบความถูกตอ้ งกบั ธนาคาร เม่ือเสร็จเรียบร้อย ก็จะดาเนินการส่งสินคา้ ใหก้ บั ผซู้ ้ือต่อไป

3. ชาระโดยการโอนเงินแบบธรรมดา (Money Remittance) มีวธิ ีการโอนเงิน ระหวา่ งธนาคารภายในประเทศท่ีเรียกวา่ BAHTNET (Bank of Thailand Automated High Value Transfer Network) และวธิ ีการโอนเงินระหวา่ งธนาคารทวั่ โลกท่ีเรียกวา่ SWIF (Society for Worldwide Interbank Financial Telecommunications) 4. ชาระโดยการแลกเปลี่ยนเอกสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) ซ่ึงมีธนาคารเป็นตวั กลาง เรียกวา่ ระบบ FEDI (Financial EDI)

ใบความรู้ที่ 11 การจดทะเบยี นผ้ปู ระกอบการพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ การจดทะเบยี นผู้ประกอบการพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รัฐบาลกาหนดให้งานดา้ นพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์เป็นภารกิจหน่ึงท่ีอยใู่ นความรับผิดชอบ ของกรมพฒั นาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณิชย์ โดยให้กองพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์เป็ นหน่วยงาน ดาเนินการดา้ นการส่งเสริมและพฒั นาพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ดงั น้ี 1. กาหนดใหผ้ ปู้ ระกอบการพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ จดทะเบียนเพ่ือรวบรวมขอ้ มูลวา่ ผูป้ ระกอบการเป็ นใคร อยู่ท่ีไหน ทาธุรกิจอะไร แลว้ นามากาหนดแนวทางในการส่งเสริมให้ สอดคล้องกับภาระทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถนาพาณิ ชย์ อิเลก็ ทรอนิกส์ไปใชใ้ นการประกอบธุรกิจไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม และประสบผลสาเร็จมากข้นึ 2. เปิ ดใหบ้ ริการตลาดกลางพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Marketplace) ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ www.bangkrasor.com เพ่ือช่วยส่งเสริมการตลาด และจดั หาตลาดให้ผูป้ ระกอบการสามารถทา การซ้ือขายผา่ นทางเวบ็ ไซตไ์ ด้ ประโยชน์ของการจดทะเบียน มดี งั นี้ 1. ทาใหผ้ ปู้ ระกอบการมีความน่าเช่ือถือ และผบู้ ริโภคมีความมนั่ ใจในการตดั สินใจทา ธุรกรรมมากข้ึน 2. เพือ่ นารายชื่อเวบ็ ไซตท์ ี่ข้ึนทะเบียนมาจดั ทาเป็นฐานขอ้ มูล แยกประเภทธุรกิจ (E-Directory) นาไปเผยแพร่แก่ผูป้ ระกอบการและประชาชนผูส้ นใจผ่านสื่อต่างๆ เพ่ือเป็ นการ ช่วยเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ใหแ้ ก่ผปู้ ระกอบการอีกทางหน่ึง 3. ผปู้ ระกอบการท่ีข้นึ ทะเบียนแลว้ สามารถยน่ื ขอใชเ้ ครื่องหมายรับรองความน่าเชื่อถือ จากรัฐ และหากมีคุณสมบตั ิครบถว้ นตามที่กาหนด ผปู้ ระกอบการจะไดเ้ ครื่องหมายรับรองความ น่าเชื่อถือใหแ้ ก่เวบ็ ไซตข์ ้นึ อีกระดบั หน่ึง 4. ผปู้ ระกอบการจะไดร้ ับสิทธิพิเศษต่างๆ เช่น การเขา้ ร่วมการอบรมสัมมนา การไดร้ ับ คาแนะนา และการไดร้ ับขอ้ มูลข่าวสารดา้ นพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นตน้

ผ้มู ีหน้าท่ีจดทะเบียนพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ คือ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลท่ีมีสถาน ประกอบการต้งั อยใู่ นประเทศไทย ซ่ึงประกอบพาณิชยก์ ิจในเชิงพาณิชยเ์ ป็นอาชีพปกติ ดงั น้ี 1. ซ้ือขายสินคา้ หรือบริการผา่ นระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ไดแ้ ก่ บุคคลที่มีเวบ็ ไซต์ เพื่อทาการซ้ือขายสินคา้ หรือบริการ 2. บริการอินเทอร์เนต็ (Internet Service Provider) 3. ใหเ้ ช่าพ้นื ท่ีของเคร่ืองคอมพิวเตอร์แมช่ ่วย (Web Hosting) 4. บริการเป็นตลาดกลางในการซ้ือขายสินคา้ หรือบริการ โดยวิธีการใชส้ ื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ผา่ นระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (E-Marketplace) เอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการจดทะเบียน 1. คาขอจดทะเบียนพาณิชย์ และรายละเอียดเกี่ยวกบั เวบ็ ไซต์ (เอกสารแนบ) 2. สาเนาบตั รประจาตวั 1) กรณีบคุ คลธรรมดา ไดแ้ ก่ สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน 2) กรณีนิติบุคคล ไดแ้ ก่ สาเนาบตั รประจาตวั ผูจ้ ดั การของหา้ งหุน้ ส่วน หรือ ของกรรมการผมู้ ีอานาจของบริษทั จากดั หรือบริษทั มหาชนจากดั (ไมต่ อ้ งแนบหนงั สือ รับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบคุ คล) สถานท่ียื่นจดทะเบยี น 1. ผปู้ ระกอบการที่มีสานกั งานแห่งใหญต่ ้งั อยใู่ นเขตกรุงเทพมหานครใหย้ น่ื จดทะเบียน ต่อสานกั งานบริการจดทะเบียนธุรกิจ 1-7 หรือส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง สานกั ทะเบียนธุรกิจ กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ โดยเลือกยื่นตอ่ สานกั งานใดกไ็ ด้ เช่น ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง (ช้นั 10 กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ อ.เมือง จ.นนทบุรี)โทร. 02 547 5050 สานกั งานบริการจดทะเบียนธุรกิจ 1 (มหาราช ถ.มหาราช) โทร. 02 622 0570-3 2. ผปู้ ระกอบการที่มีสานกั งานแห่งใหญ่ต้งั อยจู่ งั หวดั อื่น ไมว่ า่ จะต้งั อยอู่ าเภอใด ใหย้ นื่ ตอ่ สานกั งานพฒั นาธุรกิจการคา้ จงั หวดั น้นั ๆ เพยี งแห่งเดียว

ตวั อย่างเว็บไซต์ประเภทซื้อขายสินค้า หรือบริการท่ตี ้องจดทะเบียน 1. มีระบบการสงั่ ซ้ือ เช่น ระบบกรอกฟอร์ม ระบบตะกร้า E-Mail หรืออ่ืนๆ 2. มีระบบการชาระเงินออฟไลน์ หรือออนไลน์ เช่น การโอนเงินผา่ นระบบบญั ชี การ ชาระดว้ ยบตั รเครดิต หรือ E-Cash เป็นตน้ 3. มีระบบสมคั รสมาชิก เพ่ือรับบริการขอ้ มูลหรืออ่ืนๆ โดยคิดค่าใชจ้ ่าย (ถือเป็นการขาย บริการ) เช่น บริการข่าวสาร หรือบทความ หรือหนงั สือ หรือรับสมคั รงาน เป็นตน้ 4. มีวตั ถุประสงคห์ ลงั ในการรับจา้ งโฆษณาสินคา้ หรือบริการของผอู้ ่ืน และมีรายไดจ้ าก การโฆษณาน้นั 5. รับจา้ งออกแบบเวบ็ ไซต์ หรือเพียงโฆษณาวา่ เป็นผรู้ ับจา้ งออกแบบเวบ็ ไซต์ เพราะถือ วา่ การออกแบบเวบ็ ไซตน์ ้นั มีช่องทางการคา้ ปกติบนอินเทอร์เน็ต 6. เวบ็ ไซตใ์ หบ้ ริการเกมออนไลนท์ ี่คดิ ค่าบริการจากผเู้ ลน่ 7. เวบ็ ไซตท์ ี่มีการส่งมอบสินคา้ หรือบริการผา่ นทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การ Download โปรแกรม เกม Ringtone Screensaver SMS เป็นตน้ สาหรับค่าใชจ้ ่ายที่ใชใ้ นการทาพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Commerce) ที่ผปู้ ระกอบการ จะตอ้ งเตรียมไวใ้ หพ้ ร้อม เช่น 1. คา่ จดทะเบียนช่ือโดเมน (Domain Name) มี 2 ลกั ษณะ คอื จดทะเบียน ภายในประเทศและจดทะเบียนในต่างประเทศ ซ่ึงจะเป็นจานวนเท่าใดน้นั แตล่ ะประเทศจะมีการ กาหนดไวอ้ ยา่ งชดั เจน 2. คา่ เช่าพ้ืนท่ีเกบ็ ขอ้ มูลเวบ็ ไซต์ ซ่ึงค่าใชจ้ ่ายน้ีข้นึ อยกู่ บั ขนาดของพ้ืนที่ท่ีใชง้ าน และ หากมีการจดั ต้งั เครื่องแม่ขา่ ยไวท้ ่ีบริษทั ของตนเองอาจไม่จาเป็นตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในส่วนน้ี 3. คา่ เชื่อมต่อเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ผา่ น ISP (Internet Service Provider) 4. ค่าธรรมเนียมธนาคาร เช่น ค่าโอนเงิน คา่ ตดั บตั รเครดิต เป็นตน้ 5. ค่าประชาสมั พนั ธ์และค่าเวบ็ ไซต์

ใบความรู้ท่ี 12 การทาพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ในประเทศไทย กำรทำพำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ในประเทศไทย จำกรำยงำนกำรสำรวจสถำนภำพกำรทำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ โดยกระทรวง เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรร่วมกบั สำนักงำนเลขำนุกำร คณะกรรมกำรธุรกรรมทำง อิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชำติ ได้ทำกำรสำรวจ ประเภทอตุ สำหกรรมพำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ลำดบั ตน้ ๆ ดงั น้ี กำรจดั อนั ดบั กำรทำพำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ในประเทศไทย ลาดบั ท่ี ประเภทของธุรกจิ ร้อยละ 20.5 1 ธุรกิจบริกำร 15.7 8.7 2 หตั ถกรรม ของขวญั ของตกแตง่ บำ้ น 7.9 47.2 3 ท่องเที่ยว ขนส่ง 4 ซีดีเพลง ภำพยนตร์ ซอฟตแ์ วร์ และผใู้ หบ้ ริกำรระบบและตลำดกลำง 5 อื่นๆ จำกตำรำงจะพบวำ่ ธุรกิจบริกำรเป็ นธุรกิจที่ทำพำณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์มำกที่สุด คือ ร้อย ละ 20.5 ซ่ึงจะเป็ นท้ังระบบธุรกิจและบุคคล โดยส่วนใหญ่มำจำกด้ำนคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เนต็ ส่วนอุปสรรคท่ีมีต่อกำรดำเนินกำรพำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ของลกู คำ้ หรือคู่คำ้ 1. ควำมไมพ่ ร้อมที่จะใชพ้ ำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ของลกู คำ้ หรือคูค่ ำ้ 2. งบประมำณท่ีไดร้ ับกำรสนบั สนุนไมเ่ พยี งพอ 3. ขำดบุคลำกรที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถ 4. ขำดกำรสนบั สนุนที่ดีจำกรัฐบำลเพื่อควำมคลอ่ งตวั ในกำรดำเนินธุรกิจ 5. ควำมไม่เชื่อมน่ั ในระบบรักษำควำมปลอดภยั

สรุปโดยสงั เขป กำรทำพำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Commerce) ระหวำ่ งผขู้ ำยหรือผซู้ ้ือ ประกอบดว้ ยข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี 1. ผปู้ ระกอบกำร หรือผขู้ ำยจดั ต้งั ร้ำนคำ้ หรือทำหนำ้ โฆษณำที่เรียกวำ่ “โฮมเพจหรือ เวบ็ เพจ” บนอินเทอร์เน็ต 2. ผซู้ ้ือเขำ้ ไปดูรำยละเอียดเกี่ยวกบั สินคำ้ ในอินเทอร์เน็ต 3. ผซู้ ้ือติดต่อสอบถำมรำยละเอียดจำกผขู้ ำย เช่น ของดีจริงหรือไม่ ส่งไดร้ วดเร็วเทำ่ ใด มีส่วนลดหรือไม่ เป็นตน้ 4. ผซู้ ้ือสัง่ สินคำ้ และระบุวธิ ีจ่ำยเงิน เช่น โดยผำ่ นบตั รเครดิต เป็นตน้ 5. ธนำคำรตรวจสอบวำ่ ผซู้ ้ือมีเครดิตดีพอหรือไมแ่ ละแจง้ ใหผ้ ขู้ ำยทรำบ 6. ผขู้ ำยส่งสินคำ้ ใหผ้ ซู้ ้ือ 7. ผซู้ ้ืออำจจะใชอ้ ินเทอร์เนต็ ในกำรติดต่อขอบริกำรหลงั กำรขำยจำกผขู้ ำย สำหรับผบู้ ริโภคหรือผูซ้ ้ือสินคำ้ หรือบริกำรทำงอินเทอร์เน็ต มีโอกำสเลือกหำสินคำ้ หรือ บริกำรที่หลำกหลำยจำกผูป้ ระกอบกำรหรือผูข้ ำย ท้งั ในประเทศและต่ำงประเทศไดโ้ ดยสะดวก รวดเร็ว และลดข้นั ตอนบำงประกำรลง แต่กำรซ้ือสินคำ้ หรือบริกำรทำงอินเทอร์เน็ตก็มีขอ้ เสีย เช่น กำรไดร้ ับขอ้ มูลกำรซ้ือขำยหรือรับบริกำรจำกคำโฆษณำท่ีไม่ครบถว้ นถูกตอ้ งเกี่ยวกบั สินคำ้ สินคำ้ ท่ีสงั่ ซ้ืออำจชำรุดเสียหำย หรือมีคุณภำพผิดไปจำกที่ระบุไว้ หรือชำระเงินไปแลว้ แตไ่ ม่ไดร้ ับ สินคำ้ เนื่องจำกผบู้ ริโภคมกั ไม่ไดเ้ ลือกซ้ือสินคำ้ เหล่ำน้ันดว้ ยตนเอง แต่อำศยั ขอ้ มูลต่ำงๆ ที่แสดง บนเวบ็ ไซต์ ดงั น้ัน ผูบ้ ริโภคหรือผซู้ ้ือจะตอ้ งพิจำรณำอย่ำงรอบคอบก่อนที่จะตดั สินใจซ้ือสินคำ้ หรือบริกำรผำ่ นทำงอินเทอร์เนต็ ประเทศไทยกบั พาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สำหรับประเทศไทยแลว้ พำณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์เป็นท้งั โอกำสและกำรต้งั รับ ท้งั น้ีข้ึนอยู่ กับนโยบำยของรัฐบำลและกำรพฒั นำขีดควำมสำมำรถของเอกชนในเวทีกำรคำ้ โลก พำณิชย์ อิเลก็ ทรอนิกส์เป็ นโอกำสในกำรปรับปรุงประสิทธิภำพขององคก์ ำร ของธุรกิจ และของภำครัฐ ในส่วนท่ีใหบ้ ริกำรแก่ภำคเอกชนประสิทธิภำพดงั กล่ำวรวมถึงควำมรวดเร็ว ควำมสะดวก ควำม ถูกต้องแม่นยำ กำรลดต้นทุน และกำรขยำยโอกำสทำงกำรตลำด ในสภำพกำรผลิตและ กำรให้บริกำรที่มีคุณภำพเป็ นพ้ืนฐำน หำกกำรใช้พำณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ภำยในประเทศ มีกำรพฒั นำ ยอ่ มทำใหธ้ ุรกรรมตำ่ งๆ ที่เกิดข้นึ ไมว่ ำ่ จะเป็นกำรขำยปลีก กำรขำยส่ง วงจรกำรผลิต และกำรจัดจำหน่ำย (Supply Chain) รวมถึงกำรจัดกำรในภำคกำรผลิตและบริกำรรำยสำขำ มีควำมพร้อมในกำรแข่งขนั มำกยงิ่ ข้นึ ซ่ึงจะเปิ ดโอกำสใหน้ กั ธุรกิจ นกั อตุ สำหกรรม นกั กำรเงิน ผใู้ หบ้ ริกำร

ก่อนปี พ.ศ. 2541 กำรซ้ือขำยสินค้ำและบริกำรผ่ำนทำงอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย มีมูลค่ำน้อยอย่ำงไรก็ตำมนับต้งั แต่ปี พ.ศ. 2541 เป็ นตน้ มำ กำรดำเนินธุรกรรมผ่ำนทำงระบบ อินเทอร์เน็ตกลบั มีแนวโนม้ เติบโตเพิ่มข้ึนอย่ำงต่อเนื่อง ซ่ึงจำกซ้ือขำยสินคำ้ และบริกำรผ่ำนทำง อีคอมเมิร์ซในประเทศไทยมีมูลค่ำ ประมำณ 22,000 ลำ้ นบำท ปี พ.ศ. 2542 ธุรกิจที่มียอดขำย มำกที่สุดในประเทศไดแ้ ก่ ธุรกิจบริกำร รองลงมำไดแ้ ก่ ผลิตผลทำงกำรเกษตร ผลิตภณั ฑท์ ี่ไมใ่ ช่ โลหะ ธุรกิจค้ำส่งและค้ำปลีก เคร่ืองใช้ไฟฟ้ำ และสินคำ้ อื่นๆ เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคร่ืองเสียง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หนังสือ เป็ นตน้ สำหรับในตลำดต่ำงประเทศน้ันธุรกิจคำ้ ส่ง และคำ้ ปลีกทำรำยไดใ้ ห้กบั ผปู้ ระกอบกำรไทยมำกท่ีสุด รองลงมำคือ ธุรกิจบริกำร ผลิตภณั ฑ์ที่ ไม่ใช่โลหะ ผลิตภณั ฑย์ ำง เคมีภณั ฑ์ และอ่ืนๆ โดยเฉพำะสินคำ้ พ้ืนเมือง เช่น สมนุ ไพรพ้ืนบำ้ น ลำโพงทำจำกไมจ้ ำมจุรี ผลิตภณั ฑจ์ ำกกระดำษสำ เฟอร์นิเจอร์ไม้ เป็นตน้ สำเหตุท่ีทำให้กำรซ้ือขำยสินคำ้ และบริกำรผ่ำนทำงอีคอมเมิร์ซในประเทศไทยมีแนวโนม้ สดใสน้ันก็เพรำะว่ำกำรดำเนินธุรกรรมผ่ำนทำงระบบอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันไม่ไดจ้ ำกัดอยู่แต่ เฉพำะธุรกิจขนำดเล็กและขนำดกลำงเท่ำน้ัน แมแ้ ต่ธุรกิจขนำดใหญ่เองก็ยงั ให้ควำมสนใจท่ีจะ ดำเนินกำรซ้ือขำยสินคำ้ และบริกำรโดยผำ่ นช่องทำงกำรจดั จำหน่ำยน้ีมำกข้ึน โดยเฉพำะในตลำด ยโุ รปและสหรัฐฯ ท่ีมีแนวโนม้ เพ่ิมสูงข้ึนอยำ่ งรวดเร็วนนั่ เอง จำกกำรสำรวจพบวำ่ ธุรกิจที่มีกำรใช้ อีคอมเมิร์ซมำกท่ีสุดคือคอมพิวเตอร์ รองลงมำไดแ้ ก่กำรบริกำร กำรท่องเที่ยวและกำรโรงแรม อำหำรสุขภำพและโรงพยำบำล ก่อสร้ำงตกแต่งและออกแบบ บนั เทิงกำรคำ้ ส่งและคำ้ ปลีก และ เครื่องใช้ไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์ สำเหตุสำคญั ประกำรต่อมำก็คือกำรดำเนินธุรกรรมผ่ำนทำง อีคอมเมิร์ซยงั เป็นช่องทำงกำรจดั จำหน่ำยที่สะดวกและรวดเร็ว อีกท้งั ยงั มีตน้ ทนุ ในกำรดำเนินกำร ที่คอ่ นขำ้ งต่ำอีกดว้ ยเม่ือเปรียบเทียบกบั กำรคำ้ ขำยแบบปกติ

ใบความรู้ท่ี 13 ผลกระทบของพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ต่อธุรกจิ ผลกระทบของพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทมี่ ีต่อธุรกจิ 1. ลดจานวนการติดต่อผ่านคนกลาง ระบบอินเทอร์เน็ตทาให้ระบบการซ้ือขายแบบ ใหม่สามารถดาเนินการโดยลดจานวนช่องของคนกลางลงไป คนกลางในธุรกิจระบบใหม่ จะทางานเป็นตลาดอิเลก็ ทรอนิกส์ที่เปิ ดกวา้ งให้ผูซ้ ้ือและผูข้ ายจากที่ต่าง ๆ เขา้ มาร่วมกนั ในตลาด ไดอ้ ยา่ งอิสระ เนื่องจากใชซ้ อฟตแ์ วร์เป็ นหลกั ในการดาเนินงาน คนกลางจึงมีตน้ ทุนต่าสามารถ รองรับผซู้ ้ือและผขู้ ายไดจ้ านวนมากกว่าการขายแบบด้งั เดิมตลาดอิเล็กทรอนิกส์มีเวบ็ ไซตท์ ี่สาคญั คือ verticalnet.com และ b2byahoo.com เป็นตน้ ท้งั สองเวบ็ ไซตเ์ ป็นตลาดอิเลก็ ทรอนิกส์สาหรับ การติดต่อซ้ือขายระหวา่ งธุรกิจกบั ธุรกิจ (Business to Business) เช่น ระหวา่ งผผู้ ลิตกบั ผจู้ ดั จาหน่าย (ตวั แทนจาหน่ายและพอ่ คา้ ส่ง) หรือระหวา่ งผจู้ ดั จาหน่ายกบั ผคู้ า้ ปลีก เป็นตน้ 2. เข้าถึงผูซ้ ้ือได้มากข้ึน การดาเนินธุรกิจ แบบเดิมผูข้ ายจะมีลูกคา้ เท่าท่ีสามารถติดต่อโดยตรง เท่าน้นั เช่น ร้านคา้ ปลีกทวั่ ไปจะมีลูกคา้ เฉพาะในเมือง หากตอ้ งการเขา้ ถึงลูกคา้ กลุ่มใหม่จะตอ้ ง ลงทุนด้านสถานที่และกาลังคนเพื่อเปิ ดสาขาเพ่ิม ส่วนธุรกิจอินเทอร์เน็ตต้องลงทุนเพิ่ม ดา้ นเทคโนโลยแี ต่จะใชค้ นจานวนนอ้ ยกวา่ การคา้ แบบปกติ 3. เลือกผูข้ ายไดม้ ากข้ึน ธุรกิจของอินเทอร์เน็ตลูกคา้ สามารถเลือกผูข้ ายไดม้ ากข้ึนดว้ ย การคลิกเขา้ ไปถึงร้านคา้ ทุกแห่ง และมีซอฟตแ์ วร์ซ่ึงสามารถเปรียบเทียบราคาสินคา้ ชนิดเดียวกนั จากร้านค้าเข้าไปถึงร้านค้าทุกแห่ง และมีซอฟต์แวร์ซ่ึงสามารถเปรี ยบเทียบราคาสินค้า ชนิดเดียวกันจากร้านคา้ บนอินเทอร์เน็ต ลูกค้าเลือกผูข้ ายหรือร้านค้าที่ดีท่ีสุด แล้วคลิกเมาส์ จะสามารถเขา้ ถึงร้านคา้ ไดท้ นั ที 4. ลูกค้ามีสิทธิในการซ้ือขายมากข้ึน เนื่องจากอินเทอร์เน็ตเป็ นส่ือหลายทาง ลูกค้า สามารถส่ือสารไปยงั ร้านคา้ หรือผูข้ ายเกี่ยวกบั ความตอ้ งการสินคา้ หรือบริการ ชนิด ราคา ฯลฯ ลูกค้าจึงทาหน้าที่รวบรวมความต้องการสินค้า และสร้างพลังการต่อรองกับผู้ขายผ่านทาง อินเทอร์เนต็ ได้

5. เกิดโอกาสทางธุรกิจ ผูป้ ระกอบการจะเขา้ สู่ธุรกิจไดง้ ่าย เน่ืองจากใช้ตน้ ทุนต่า และ คน้ หาขอ้ มูลจากผูข้ ายจานวนมากไดใ้ นระยะเวลาที่รวดเร็ว ความสามารถในการเชื่อมโยงต่อกนั ท่ีเพ่ิมข้ึนระหว่างลูกคา้ กบั ผูข้ าย ผูผ้ ลิตกบั คนกลาง ลูกคา้ กับลูกคา้ และผูข้ ายกับผูข้ ายดว้ ยกนั ลว้ นเป็นหวั ใจสาคญั ของกระบวนการทางธุรกิจใหม่ ๆ ท่ีอาจจะเกิดข้ึน 6. เพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงาน การติดต่อผ่านอินเทอร์เน็ตจะเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทางานให้กบั ทุกฝ่ ายที่เก่ียวขอ้ ง การติดต่อโดยใชก้ ระดาษ เช่น แฟกซ์ และโทรศพั ทน์ ้ัน ใช้เวลานานเกินไป องค์กรต่างๆ ของภาครัฐและเอกชนจึงนาระบบอินเทอร์เน็ตมาใช้อย่าง แพร่หลาย ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ และสังคม ปัจจุบนั พาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ไดแ้ พร่หลายและเป็ นท่ีนิยมใชก้ นั อย่างกวา้ งขวาง ทาให้ ระบ บ เศรษ ฐกิ จโด ยรวม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ย่ิงข้ ึ น เนื่องจากประหยดั เวลาและค่าใช้จ่าย บุคลากร สามารถใชเ้ วลาทางานอ่ืนไดเ้ ตม็ ที่ ตลาดภายใน ระบบเศรษฐกิจสามารถทางานได้อย่างสมบูรณ์ ลูกคา้ และผูข้ ายมีสารสนเทศครบถว้ น สามารถ ติดต่อกนั ไดง้ า่ ยข้ึนเป็นอยา่ งมาก ผลกระทบทางสังคม องคก์ รและสถาบนั ต่าง ๆ ของเอกชน โดยเฉพาะสถาบันการเงิน เช่น ธนาคารต่าง ๆ ได้ให้บริการลูกคา้ ผ่านทาง อินเทอร์เน็ต ลูกค้าไม่จาเป็ นต้องเดินทางไปใช้ บริการ ณ สาขาอีกตอ่ ไป ทาใหล้ ดจานวนสาขาและพนกั งานไดจ้ านวนมาก พนกั งานเหล่าน้ีไมไ่ ด้ รับการฝึ กฝนอาชีพใหม่ทันท่วงที จึงก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม คือ เกิดการทางาน โดย เฉพาะงานธุรการที่ได้นาอินเทอร์เน็ตและซอฟต์แวร์นามาใช้แทน นอกจากประสิทธิภาพ ของระบบเศรษฐกิจที่เพิ่มข้ึนการกระจายโอกาสทางการศึกษา และการแพทย์สามารถเข้าสู่ ประชาชนไดใ้ นวงกวา้ ง อินเทอร์เน็ตสามารถทาให้ประชาชนในชนบทไดร้ ับการศึกษาทางไกล ไดร้ ับขอ้ มูลเก่ียวกบั การสาธารณสุขมากข้ึนการนาอินเทอร์เน็ตมาใชร้ ่วมกบั การพฒั นาทรัพยากร มนุษยอ์ ยา่ งเหมาะสมจะช่วยยกระดบั คุณภาพชีวติ ประชาชนในชนบทไดด้ ีข้ึน

สาหรับสังคมไทยการเตรียมตวั เพือ่ เขา้ สู่ยคุ สารสนเทศ สามารถแขง่ ขนั กบั ประเทศอ่ืนๆได้ คือ การสร้างบุคลากรด้านสารสนเทศให้เพียงพอ เนื่องจากเทคโนโลยี สารสนเทศมีการพฒั นาไปอย่างรวดเร็ว และเป็ นส่ิงจาเป็ นต่อการพฒั นาสังคมทุกๆ ดา้ น จึงขาด แคลนบุคลากรในดา้ นน้ี การเผยแพร่เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์และสารสนเทศไปในสังคมให้กวา้ ง ท่ีสุด เป็นสิ่งจาเป็ นอยา่ งมากโดยเฉพาะในวงการศึกษาและเยาวชน ซ่ึงเป็นบุคคลสาคญั ที่จะตอ้ ง ใชเ้ ทคโนโลยจี นกลายเป็นส่ิงสาคญั และจาเป็นในชีวิตประจาวนั ในท่ีสุด รัฐบำลไดพ้ ยำยำมส่งเสริมใหผ้ ูป้ ระกอบกำรรำยเลก็ ๆ รวมถึงกิจกำรหน่ึงตำบล หน่ึงผลิตภัณฑ์เสนอขำยสินค้ำทำงอินเทอร์เน็ต เพื่อเผยแพร่สินค้ำให้เป็ นที่รู้จักแพร่หลำย หำลูกคำ้ จำกแหล่งไกลๆ ได้มำกข้ึน โดยกำรเปิ ดเวบ็ ไซตข์ องหน่วยงำนรำชกำร แลว้ ให้ผูผ้ ลิต ท่ี ต้องก ำรเส น อข ำยท ำงอิ น เท อ ร์ เน็ ต ส ร้ ำงเว็บ เพ็จไ ป ไ ว้ใน เว็บ ไซ ต์ข อง ห น่ ว ย งำ น รำช ก ำร ท่ีเก่ียวขอ้ งได้ เช่น เวบ็ ไซต์ของกระทรวงพำณิชย์ ของกรมส่งเสริมกำรส่งออก ของกระทรวง อุตสำหกรรม ฯลฯ แต่ยงั มีปัญหำที่สำคญั คือ กำรใช้ภำษำองั กฤษในกำรส่ือสำร และควำมรู้ ในกำรใชอ้ ินเทอร์เนต็

ใบความรู้ท่ี 14 หลกั ธุรกจิ ในเศรษฐกจิ พอเพียง หลักธุรกิจ ในเศรษฐกิจพอเพียง ธุรกิจเป็ นภำค ที่มีควำมสำคัญ ในฐำนะท่ีเป็ นผู้ผลิตหลักในระบบ เศรษฐกิจ ไม่เพียงแต่ตัวเองที่สำมำรถเลือกว่ำจะดำเนิน ธุรกิจตำมแนวเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม่เท่ำน้นั แต่ธุรกิจ ยงั มีควำมสำมำรถในกำรโนม้ นำ้ วผบู้ ริโภคใหม้ ีพฤติกรรม ไป ใน ท ำงท่ี พ อ เพี ย งห รื อ ไม่ พ อ เพี ย งได้อี ก ด้ว ย ปัญหำของภำคธุรกิจท่ีตอ้ งกำรน้อมนำปรัชญำ ของเศรษฐกิจพอเพียงมำปฏิบตั ิในขณะน้ี คือ กำรขำดทฤษฎีท่ีไดร้ ับกำรพิสูจน์และทดสอบยนื ยนั ผลของกำรประยกุ ตอ์ ย่ำงเป็นระบบ และสำมำรถนำไปปฏิบตั ิซ้ำไดส้ ำเร็จ เช่น ในภำคเกษตรกรรม ที่มีรูปแบบของ “เกษตรทฤษฎีใหม่” ซ่ึงพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวได้ทรงคิดค้นข้ึนด้วย พระองคเ์ อง และไดใ้ ชพ้ ้ืนที่ของมูลนิธิชยั พฒั นำทดลองจนแน่พระทยั ว่ำประสบผลสำเร็จ ทำให้มี สถำนภำพเป็ นทฤษฎีที่ไดร้ ับกำรพิสูจน์และทดสอบแลว้ กำรแปลง \"ปรัชญำ\" เศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็ น \"ทฤษฎี\" ธุรกิจในแต่ละสำขำ จึงเป็ นควำมทำ้ ทำยอย่ำงย่ิง ไม่ว่ำจะ เป็นในภำคกำรผลิต ภำคกำรคำ้ หรือภำคกำรบริกำรต่ำงๆ ด้วยเหตุท่ี กำรดำเนินธุรกิจต่ำงมีเป้ำหมำยใน กำรแสวงหำกำไรสูงสุด แนวคิดเร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง มิได้ขัดกับหลักกำรแสวงหำกำไรสูงสุดในธุรกิจ แต่ว่ำ เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งคำนึงถึงกำไรสูงสุดในทำงเศรษฐศำสตร์ (Economic Profit) มำกกว่ำกำไร สูงสุดในทำงบัญชี (Accounting Profit) ซ่ึงกำรพิจำรณำตัวกำไรทำงเศรษฐศำสตร์ได้คำนึงถึง ตน้ ทุนค่ำเสียโอกำสต่ำงๆ และส่วนเพิ่มมูลค่ำ (Value Added) ขององคก์ รท่ีแทจ้ ริงกำรดำเนินธุรกิจ ตำมแนวเศรษฐกิจพอเพียง จึงไม่ได้หมำยควำมว่ำ ธุรกิจจะต้องลดกำไรลงหรือตอ้ งลดกำลัง กำรผลิตลง จึงจะเรียกว่ำพอเพียง ทุกธุรกิจยงั สำมำรถแสวงหำกำไรสูงสุดได้ และตอ้ งยงั คงมุ่ง หมำยให้ได้มำซ่ึงประสิทธิภำพและประสิทธิ ผลสูงสุดในกำรผลิต เพ่ือกำรพัฒนำก้ำวหน้ำ ขององค์กร เพียงแต่ว่ำในกระบวนกำรน้ัน ตอ้ งทำให้เกิดกำรเบียดเบียนกันให้น้อยที่สุด ท้งั กำร เบียดเบียนตนเอง และกำรเบียดเบียนผอู้ ่ืน

ตวั อย่ำงของกำรเบียดเบียนตนเอง คือ กำรมุ่งแต่จะหำรำยไดใ้ ห้มำกท่ีสุด ดว้ ยกำรทำงำน หำมรุ่งหำมค่ำ มำกจนเสียสุขภำพตนเองในระยะยำว หรือมำกจนละเลยหน้ำที่ในครอบ ครัว บุตรหลำนขำดกำรอบรมเล้ียงดู เติบใหญ่มำเป็ นคนที่ขำดคุณภำพ สิ่งเหล่ำน้ีลว้ นเป็นตน้ ทุนค่ำเสีย โอกำสท้ังสิ้น แม้ธุรกิจจะมีผลกำไรทำงบัญชีสูงจำกกรณีน้ี แต่เม่ือหักกลบลบค่ำเสียโอกำส แลว้ กจ็ ะมีผลกำไรทำงเศรษฐศำสตร์ที่ติดลบจำนวนมหำศำล ตวั อยำ่ งของกำรเบียดเบียนผอู้ ่ืน คอื กำรทำ กำรค้ำแสวงหำกำไรด้วยกำรเอำเปรี ยบผู้บริ โภค กำรทุจริตคอร์รัปชนั กำรใชป้ ระโยชน์จำกทรัพยส์ มบตั ิ สำธำรณะเพ่ือสร้ำงรำยไดแ้ ก่ธุรกิจเฉพำะกลุ่ม กำรหลบ เลี่ยงภำษี กำรทิ้งกำกของเสียสู่ส่ิงแวดลอ้ มโดยไม่ผ่ำน กระบวนกำรบำบัด จะเห็นว่ำ มูลค่ำกำไรทำงบัญชี ท่ีปรำกฏ น้ัน มิได้สะท้อนคุณ ภำพของกำไรท่ี มี ต่อผลกระทบสู่ภำยนอก (Externalities) ท้งั มิติทำงสังคม สิ่งแวดลอ้ มและวฒั นธรรม แตอ่ ยำ่ งใด หลกั กำรธุรกิจท่ีถอดควำมไดต้ ำมปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพียง จะเป็นไปในลกั ษณะ ประสำนประโยชนซ์ ่ึงกนั และกนั เขำ้ ทำนอง “ไดป้ ระโยชนต์ น แต่ไมเ่ สียประโยชนท์ ำ่ น” ดงั พระรำชดำรัสเน่ืองในโอกำสวนั เฉลิมพระชนมพรรษำ วนั ท่ี 4 ธนั วำคม 2550 ที่ว่ำ “...ในเร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง พอเพียงคืออะไร ไม่ใช่ เพียงพอ คือว่ำ ไม่ไดห้ มำยควำมว่ำ ให้ทำกำไรเล็กๆ นอ้ ยๆ เท่ำน้ันเอง ทำกำไรก็ทำ ถ้ำเรำทำกำไรได้ดี มันก็ดี แต่ว่ำ ขอให้มันพอเพียง ถ้ำท่ำนเอำกำไรหน้ำเลือดมำกเกินไป มันไม่ใช่พอเพียง นักเศรษฐกิจเขำว่ำพระเจ้ำอยู่หัว น่ีคิด อะไรแปลกๆ ก็แปลกสิ ขำยไม่ให้ได้กำไร ซ้ืออะไร ไม่ขำดทุน เป็ นเศรษฐกิจพอเพียง คือไม่ต้องหน้ำเลือด แลว้ ไม่ใช่จะมีกำไรมำกเกินไป หรือนอ้ ยเกินไป ใหพ้ อเพียง ไม่ใช่เรื่องของกำรคำ้ เท่ำน้นั เอง เป็นเรื่องของกำรพอเหมำะพอดี...”

ท้งั น้ี กำรส่ือสำรเร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง ในกลุ่มนักธุรกิจให้ไดผ้ ลน้ัน ส่ิงสำคญั คือผูร้ ับ สำรเองต้องพร้อมที่จะรับสำรน้ันด้วย ซ่ึงควำมพร้อมที่ว่ำน้ีจะมำจำก 2 เงื่อนไข เง่ือนไขแรก คือ องค์กรหรือธุรกิจน้ันอำจกำลงั ประสบกบั วิกฤติ มีปัญหำหน้ีสิน หำทำงออกไม่ได้ เศรษฐกิจ พอเพียง จะช่วยตอบคำถำม หำทำงออก และช่วยแกไ้ ขวิกฤติได้ ธุรกิจในกลุ่มน้ีจะรับสำรไดเ้ ร็ว เพรำะต้องกำรแก้ไขสถำนกำรณ์ที่กำลังเผชิญอยู่ให้ดีข้ึน เรียกได้ว่ำ เห็นทุกข์ ก็เห็นธรรม ขณะที่ธุรกิจอีกกลุ่มหน่ึงอำจจะเพลิดเพลินอยู่กับกำรค้ำขำย ยงั มีกำไร มีควำมสุขอยู่ และไม่จำเป็นตอ้ งขวนขวำยแนวทำงใหม่ๆ ทำให้รับสำรไดย้ ำก นกั ธุรกิจกลุ่มน้ีจะตอ้ งช้ีใหเ้ ห็นว่ำ หำกทำธุรกิจโดยประมำทเช่นน้ีต่อไป วนั หน่ึงขำ้ งหน้ำอำจจะไม่ยง่ั ยืน อำจจะตอ้ งเจอกับวิกฤติ เนื่องจำกขำดภูมิคุม้ กันทำงธุรกิจที่ดีพอ ซ่ึงหำกผูป้ ระกอบกำรในช่วงปี 2540 ไดร้ ับรู้ ปฏิบตั ิตน และดำเนินธุรกิจตำมปรัชญำของ เศรษฐกิจพอเพียง ธุรกิจก็อำจไม่เจอกบั วิกฤติจนถึงข้นั ตอ้ งปิ ด กิจกำร ปัญหาใหญใ่ นการทาความเขา้ ใจปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในหม่นู กั ธุรกิจน้นั คอื การศึกษาทาความเขา้ ใจอย่างลวกๆ ผิวเผิน แลว้ ด่วนตีความไปตามกรอบคิดและประสบการณ์ ของตนเอง เช่น คิดว่า เศรษฐกิจเพียง ก็คือการประหยดั ไม่เป็ นหน้ี หรือ เศรษฐกิจพอเพียง คือ การที่อยูอ่ ยา่ งสันโดษไม่ย่งุ กบั ใคร หรือเหมาะกบั เกษตรกรมากกว่านกั ธุรกิจ หรือที่แย่ไปกว่าน้ัน คือ การยอมรับสภาพที่เป็นอยู่ ใชเ้ ป็นเหตุผลท่ีไมต่ อ้ งทาอะไรไปมากกวา่ น้ี ซ่ึงท้งั หลายท่ีกล่าวมา น้นั เป็นการด่วนสรุปอยา่ งเขา้ ใจผดิ ท้งั หมด นอกจากน้นั การตีความที่เป็ นอุปสรรคสาคญั อีก ประการหน่ึง คือ นกั ธุรกิจส่วนใหญ่จะมีลกั ษณะท่ีเรียกวา่ น้าเตม็ แกว้ มีความเชื่อมนั่ ในตวั เองสูงท้งั จากความสาเร็จ ในธุรกิจท่ีทาและจากการเป็ นที่ยอมรับในวงสังคม หาก นกั ธุรกิจเหล่าน้ีเปิ ดใจกวา้ งเพ่ือทาความเขา้ ใจกบั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างแท้จริ ง ก็จะพบว่าเร่ื อง ของเศรษฐกิจพอเพียงไมไ่ ดข้ ดั กบั เร่ืองของทุนนิยม ไม่ได้ ขัดกับเร่ืองของธุรกิจที่ต้องแสวงหากาไร ไม่ได้ห้าม การเป็นหน้ี และ เศรษฐกิจพอเพียง กจ็ าเป็นจะตอ้ งทางาน ร่วมกับผู้อ่ืน ไม่ใช่การอยู่คนเดียว ข้อเท็จจริ งเหล่าน้ี จะคน้ พบไดก้ ็ตอ่ เม่ือเปิ ดใจเรียนรู้อยา่ งไมเ่ อนเอียง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook