Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Published by yokmanee, 2018-07-07 08:51:56

Description: นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ครั้งที่ 3 ภำยใต้หัวข้อ ประเทศไทย 4.0 “วิจัยขับเคลื่อนสังคม” : Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society” ในระหว่างวันที่ 3-4 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมบีพี สมิหลำ บีช อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

Search

Read the Text Version

การประชุมว�ชาการระดับชาติมหาว�ทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจำป 2560และการประชมุ วช� าการระดับชาติดา นบร�หารธุรกิจและเศรษฐศาสตร ครง้ั ที่ 3ประเทศไทย 4.0 “ว�จยั ขบั เคล่ือนสังคม”Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society”3-6 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมบีพ� สมิหลา บชี อำเภอเมือง จงั หวดั สงขลา Thailand 4.0



O31 การจดั การเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐานทม่ี ตี อ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในรายวชิ าระเบยี บวิธีวจิ ยั ทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ กนั ยปรณิ ทองสามส1ี * บทคดั ย่อ รายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจเป็นรายวิชาบังคับของนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในการเรยี นการสอนแบบบรรยายคอื นกั ศกึ ษาไมส่ ามารถออกแบบการวจิ ยั ให้มีความเช่อื มโยงระหวา่ งช่อื เร่อื ง วัตถุประสงค์ และวิธีการวิจยั ได้ เนื่องด้วยบูรณาการความรู้ดา้ นการวิจัยกับเรอ่ื งทีส่ นใจท�ำวิจยั รวมถงึต้องเขา้ ใจความเช่ือมโยงระหว่างวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัยกับระเบยี บวธิ ีวิจัย ดงั นนั้ จงึ มีการน�ำวิธีการจัดการเรยี นการสอนโดยใชป้ ญั หาเป็นฐานมาใชใ้ นหนว่ ยการสอนเรอื่ งการออกแบบวจิ ยั โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาผลสมั ฤทธข์ิ องการเรยี นการสอนในหวั ขอ้ การออกแบบวจิ ยัที่สอนโดยใชป้ ญั หาเป็นฐานของนกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี ช้ันปีที่ 4 หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ โดยออกแบบวจิ ัยเปน็ ก่งึ ทดลองแบบทดสอบกอ่ นและหลงั (Pretest-Posttest Design) กลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาเปน็ นกั ศกึ ษาทล่ี งทะเบยี นเรยี นรายวชิ าระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางธรุ กจิจ�ำนวน 16 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากผลการทดสอบก่อนและหลังจัดการเรียนรู้ การหาค่าเฉล่ียส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คา่ สถิติทดสอบที และคะแนนเพ่ิมสัมพัทธ์ของผู้เรยี น ผลการศกึ ษาพบวา่ วิธกี ารจัดการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเป็นฐานเรอ่ื งการออกแบบวจิ ยั ทำ� ใหค้ ะแนนเฉลยี่ ของการทดสอบหลงั จดั การเรยี นรมู้ คี า่ สงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ ของการทดสอบกอ่ นจดั การเรยี นร้อู ยา่ งมีนัยส�ำคัญทางสถติ ิ (p<0.05) และมคี ะแนนเพม่ิ สัมพัทธ์รอ้ ยละ 73.66 ปญั หาทพี่ บในการจดั การเรยี นการสอนโดยใชป้ ญั หาเปน็ฐานคือผู้เรยี นบางส่วนไม่เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเขา้ เรยี น และไม่กระตือรอื ร้นในการเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะท่ไี ด้จากการวจิ ยั ครงั้ นคี้ อื ผูส้ อนควรระบุเอกสารที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอนล่วงหน้า และให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้าก่อนเข้าช้ันเรียน เพื่อให้สามารถน�ำความรู้ที่มีรว่ มแลกเปล่ยี นกับเพอ่ื นร่วมชนั้ เรียน สว่ นผ้สู อนตอ้ งกระตุ้นใหน้ กั ศกึ ษาทกุ คนร่วมแสดงความคิดเหน็ ในเนอื้ หาที่จดั การเรยี นการสอนค�ำส�ำคัญ: ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การออกแบบวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์1 อาจารย์ สาขาบริหารธุรกจิ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ปัตตานี 94000*Corresponding author: Tel.: 083-5122640. E-mail address: [email protected] ประเทศไทย 4.0 “วิจัยขับเคลื่อนสังคม” 249 Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society”

บทน�ำ การจดั การศกึ ษาของประเทศไทยในปจั จบุ นั มจี ดุ เนน้ ดา้ นพฒั นามนษุ ยใ์ หเ้ ปน็ ผมู้ คี วามรู้ ความสามารถ รจู้ กั ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสาร วทิ ยาการใหม่ รูเ้ ท่าทันการเปล่ยี นแปลงตา่ งๆที่เกดิ ข้นึ อย่างรวดเรว็ และหลากหลาย มคี วามสามารถและมที ักษะในการติดต่อสื่อสารกับ ผ้อู ื่น ดังในพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 ที่กำ� หนดแนวทางการปฏิรูปการศึกษาโดยมุ่งเน้นให้ความสำ� คัญกบั ผู้ เรียนเป็นหลกั เพอ่ื เปน็ การเตรียมการรองรับกระแสความเปล่ยี นแปลงของโลกในด้านเทคโนโลยี สงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื ง ท้ังนไ้ี ด้ ให้ความส�ำคัญสูงสุดในการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ สามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตนเอง และร้จู กั แสวงหาความรู้ได้อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ [1] การศึกษารายวิชา 441-411 ระเบยี บวิธีวิจยั ทางธรุ กิจ (Business Research Methodology) เปน็ วชิ าบังคบั ทางธุรกิจ ใน หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑติ หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ.2553 สาขาการจดั การทรัพยากรมนุษย์และองคก์ าร ซงึ่ เปิดสอนส�ำหรบั นกั ศกึ ษา ช้ันปที ่ี 4 รายวชิ านศี้ ึกษาเก่ยี วกับระเบยี บวธิ วี จิ ยั เชิงปริมาณและคณุ ภาพ กระบวนการวจิ ยั และการวางแผนวิจัยแบบตา่ ง ๆ การสร้าง กรอบความคดิ ในการวิจัย การรวบรวมและการวเิ คราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล ตลอดจนการบรหิ ารโครงการวจิ ัย การจัดการเรียนการ สอนรายวชิ านกี้ เ็ พอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ปรชั ญาของหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ ทมี่ งุ่ ผลติ บณั ฑติ ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถในการบรหิ ารจดั การ ทรัพยากรมนุษย์และองค์การ เพ่ือให้สามารถด�ำเนินการทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานความรู้ความเข้าใจมิติทางสังคมและ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม [2] จึงได้ออกแบบการจัดการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นได้มีส่วนรว่ มในการเขียนขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั การท�ำวิจัย และการเขียนรายงานวิจัยเพือ่ การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละองคก์ าร ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ จากการเรยี นการสอนรายวชิ านเ้ี กดิ จากลกั ษณะของเนอื้ หาวชิ าทสี่ ลบั ซบั ซอ้ น โดยมพี ฒั นาการมาจากการแสวงหา ความรคู้ วามจรงิ โดยใชว้ ธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ ไดน้ ำ� มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การศกึ ษาสงั คมมนษุ ยใ์ นเวลาตอ่ มา อกี ทง้ั ความเชอ่ื เกย่ี วกบั การ คน้ หาความรคู้ วามจรงิ ดว้ ยกระบวนทศั นก์ ารวจิ ยั ตา่ ง ๆ ยงั สง่ ผลถงึ ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั และวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทห่ี ลากหลายเกดิ ขน้ึ [3] นักศกึ ษาทเี่ รียนรายวชิ าน้ีจึงจำ� เป็นต้องได้รับปพู ้นื ฐานวิธีการคดิ แบบเป็นวทิ ยาศาสตรค์ อื การระบุประเด็นปัญหาและการกลน่ั กรอง เพ่ือเลอื กปญั หาทำ� การวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการจดั การทรพั ยากรมนุษย์ การออกแบบวจิ ยั ทีเ่ หมาะสมเพ่อื ใหไ้ ด้ค�ำตอบของประเด็นปญั หา การวจิ ยั การตง้ั สมมตุ ฐิ านและการทดสอบสมมตุ ฐิ าน การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการรายงานผลการวจิ ยั ซงึ่ หากนกั ศกึ ษาไมเ่ ขา้ ใจกระบวนการ ดังกลา่ วจะทำ� ให้เกดิ ความเบ่อื หน่าย ไม่เกิดความกระตอื รือร้นในการเรียน สง่ ผลใหผ้ ูเ้ รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นต�่ำ และอาจมีผลเสีย เกดิ ขน้ึ ตอ่ ผลการเรยี นในภาพรวม จากปญั หาขา้ งตน้ ผวู้ ิจัยจงึ ตระหนักวา่ การเลือกวิธกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรจู้ ึงเป็นสิ่งสำ� คญั ตอ่ คุณภาพการจัดการเรียนรู้วิชา ดังกลา่ ว อีกทง้ั มีงานวจิ ัยยนื ยนั ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของการจดั การเรียนการสอนโดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ดังเช่นฐติ วิ ฒั น์ นงนชุ [4] ศกึ ษาผลของการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน ทม่ี ตี อ่ การพฒั นาดา้ นแนวความคดิ ในการออกแบบสถาปตั ยกรรม สำ� หรบั นกั ศกึ ษา รายวชิ า ARC417 การออกแบบสถาปัตยกรรมขนั้ สงู 2 ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ ผลการวจิ ัยพบว่าค่าคะแนน พัฒนาการเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีค่าเท่ากับ 7.64 พัฒนาการด้านทักษะในการท�ำงานด้านการออกแบบภายหลังการจัด กระบวนการจัดการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน 3 ดา้ น พบว่า ทักษะในการออกแบบเพอื่ แกป้ ญั หา มคี า่ คะแนนพัฒนาการเฉลย่ี สงู สดุ เท่ากบั 23.09 รองลงมาไดแ้ ก่ ทักษะด้านการคดิ และแกป้ ญั หาเชิงบรู ณาการ มีคา่ คะแนนพฒั นาการเท่ากับ 18.64 และทกั ษะดา้ นการ กำ� หนดปญั หาทใ่ี ชใ้ นการออกแบบ มคี า่ คะแนนพฒั นาการตำ�่ สดุ เทา่ กบั 17.45 ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาทมี่ ตี อ่ การจดั การเรยี นการสอน แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ 3.77 ซง่ึ อย่ใู นระดับมาก นอกจากนม้ี งี านวิจยั อืน่ ๆ ทส่ี ะท้อนวา่ การจดั การเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หา เป็นฐานทำ� ใหผ้ ้เู รยี นความรูถ้ กู ต้องมากขึ้น และมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงขน้ึ [5-14 ] งานวิจัยที่ผ่านมายืนยันข้อมูลได้เป็นอย่างดีว่าวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานจัดเป็นเทคนิคการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้ เรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ทกั ษะในการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและอยา่ งสรา้ งสรรค์ การวจิ ยั ในครง้ั นจ้ี งึ มงุ่ พฒั นาผล สมั ฤทธิท์ างการเรยี นรายวิชาระเบียบวิธีวจิ ยั ทางธรุ กจิ เร่ือง การออกแบบวิจยั โดยอาศยั วธิ ีการจดั การเรยี นรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน ผลการ วิจัยท่ีได้นอกจากจะเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นแล้ว ยังท�ำให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552 อกี ดว้ ย [15]250 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งท่ี 27 ประจ�ำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ครั้งที่ 3

วิธกี ารวจิ ยัรูปแบบการวจิ ัย การวิจยั คร้ังนี้เป็นการวจิ ยั กึง่ ทดลองโดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบทดสอบกอ่ นและหลงั (Pretest – Posttest Design) ดังตารางท่ี 1ตารางท่ี 1 แบบแผนการทดลองกล่มุ สอบกอ่ น (Pretest) ทดลอง สอบหลัง (Posttest)E T1 X T2เมื่อ E แทน กลมุ่ ตวั อยา่ งนกั ศกึ ษาหลักสตู รบริหารธุรกจิ ชน้ั ปีที่ 4 จ�ำนวน 16 คนวิจยั ทางธุรTก1จิ แเรท่ือนงกกาารรอทอดกสแอบบบกว่อิจนยั จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา 441-411 ระเบียบวิธีX แทน การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐานวิจัยทางธรุ Tก2ิจเแรอื่ทงนกากราอรอทกดแสบอบบวหจิ ลัยัง จัดก ารเรียนรูโ้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐานดว้ ยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวชิ า 441-411 ระเบียบวธิ ีเครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั ผวู้ จิ ยั พฒั นาเครอ่ื งมอื จากการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน และเอกสารเกย่ี วกบั รายวชิ าระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางธุรกจิ ไดเ้ ครือ่ งมือวจิ ัยแต่ละชนิด ดังน้ี 1. แบบทดสอบกอ่ นจดั การเรยี นร้โู ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน เป็นข้อสอบอัตนยั จำ� นวน 4 ขอ้ รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน ผูว้ จิ ัยนำ�แบบทดสอบไปให้คณาจารย์ภายในหลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจตรวจพจิ ารณาแกไ้ ขแล้วน�ำมาปรบั ปรุงให้เหมาะสม 2. แบบทดสอบหลังจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน เปน็ ข้อสอบอัตนยั จ�ำนวน 4 ขอ้ รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน ผู้วจิ ัยน�ำแบบทดสอบไปให้คณาจารยภ์ ายในหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ตรวจพิจารณาแกไ้ ขแลว้ นำ� มาปรบั ปรุงให้เหมาะสม 3. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาทมี่ ตี อ่ การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานใชแ้ บบประเมนิ ความพงึ พอใจทพ่ี ฒั นาโดยมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานีที่ใช้ในการประเมินผลความพึงพอใจต่อการสอนของอาจารย์ ซง่ึ ในทน่ี ีน้ ำ� มาใชใ้ นการประเมินเฉพาะกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องการออกแบบการวิจยั ขอ้ คำ� ถามเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดบั คะแนน (Or-dinal scale)ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการวจิ ัยคร้ังน้ีเป็นนกั ศกึ ษาหลกั สตู รบริหารธรุ กิจบณั ฑติ ชน้ั ปที ่ี 4 ที่ศึกษารายวิชาระเบยี บวิธีวิจัยทางธรุ กจิกลุ่ม 05 ในภาคเรียนท่ี 1/2559 จำ� นวน 18 คน ผวู้ ิจัยใช้การค�ำนวณกลุม่ ตัวอย่างโดย G-Power ขนาดของอิทธิพล (Effect Size: ES)น้นั ใชว้ ิธเี ทยี บกบั ขนาดของ s ของการแจกแจงของประชากร (X) ในการวจิ ัยคร้ังนถ้ี ือวา่ มขี นาดของอิทธพิ ลขนาดใหญ่ ผูว้ จิ ัยจึงกำ� หนดES ในโปรแกรมคำ� นวณกลุม่ ตัวอย่าง G-Power เท่ากับ 0.87 [16] ทีร่ ะดบั นัยส�ำคัญ 0.05 ไดก้ ลุ่มตวั อย่าง 16 คน จากนั้นผู้วจิ ยั ใชว้ ธิ ีการสุม่ อย่างงา่ ยการรวบรวมข้อมูล ผวู้ จิ ยั ดำ� เนินการรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนท่ี 1/2559 โดยท�ำการทดสอบก่อนจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานโดยจัดสอบในหอ้ งเรยี น ใชเ้ วลาในการทดสอบเฉพาะเรอ่ื งการออกแบบวจิ ยั จำ� นวน 45 นาที จากนน้ั ดำ� เนนิ การสอนนกั ศกึ ษาดว้ ยวธิ กี ารจดั การเรยี นรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานจำ� นวน 2 ครัง้ ครง้ั ละ 3 คาบ เม่ือสอนในครง้ั ทีส่ องแล้วเสรจ็ ผสู้ อนท�ำการทดสอบหลงั จดั การเรียนรู้ โดยจดั สอบในหอ้ งเรยี นใช้เวลาในการทดสอบ จำ� นวน 45 นาทีการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้วิจยั วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยนำ� คะแนนผลการทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี นโดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน มาวิเคราะห์โดยใช้สถติ ิ Pair sam-ple t-test เพ่อื เปรยี บเทยี บคะแนนพัฒนาการและทดสอบนัยสำ� คญั ทางสถติ ิ ท้ังน้คี า่ สถิติท่ีใช้ในการนำ� เสนองานวิจัยไดแ้ ก่ 1. สถติ พิ ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ จำ� นวน รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี เลขคณติ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าคะแนนสัมพทั ธ์ 2. สถิตอิ ้างอิง ได้แก่ ค่าสถติ ิทดสอบที (t-value) คา่ ความนา่ จะเปน็ ที (t-probability) และคา่ ขนาดอิทธิพลทีใ่ ช้ในการทดลองกับกลุ่มตวั อย่างเพยี งกลมุ่ เดยี วคอื คา่ ซึง่ คำ� นวณโดยใชส้ ูตรของ Rosenthal [17] คือ ผลการวจิ ยั และอภิปรายผลการวจิ ยั การจดั การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐานเรอื่ งการออกแบบวิจยั ท�ำใหค้ ะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบหลังจดั การเรียนรูม้ ีคา่ สูงกว่าคะแนนเฉลย่ี ของการทดสอบกอ่ นจดั การเรยี นรู้ เมอ่ื นำ� มาวเิ คราะหห์ าพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษา พบวา่ คะแนนเพม่ิ สมั พทั ธข์ องผเู้ รยี น ประเทศไทย 4.0 “วิจัยขับเคลื่อนสังคม” 251 Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society”

มคี ่ารอ้ ยละ 73.66 ขณะเดยี วกนั ผลการศกึ ษาพบผลตา่ งคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบมคี า่ เท่ากบั 4.28 ดงั แสดงในตารางท่ี 2ตารางท่ี 2 ค่าคะแนนท่มี ีการวัดซำ�้ และผลการวดั คะแนนพัฒนาการเรียนเฉลย่ี ของนักศึกษา จ�ำนวน 16 คน จากการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานคนท่ี การทดสอบกอ่ นจดั การเรียนรู้ การทดสอบหลังจดั การเรียนรู้ คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน คะแนนเพิม่ สัมพทั ธ์ (%)1 0 8.5 8.5 85.002 0 7.5 7.5 75.003 7.5 10 2.5 100.004 2.5 8 5.5 73.335 5.5 10 4.5 100.006 2.5 9.5 7 93.337 7.5 9.5 2 80.008 3.5 8.5 5 76.9298 10 2 100.0010 7 9.5 2.5 83.3311 6 9 3 75.0012 6 9 3 75.0013 0 5 5 50.0014 2.5 3.5 1 13.3315 6 9 3 75.0016 2.5 9 6.5 86.67 4.19 8.47 4.28 73.66 นกั ศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานมคี ะแนนผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรายวชิ า 441-411 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางธรุ กจิ เรื่องการออกแบบวจิ ัย สูงขนึ้ อยา่ งมีนัยสำ� คญั ทางสถติ ิท่ีระดับ 0.05 โดยเม่อื พจิ ารณาค่าขนาดอทิ ธิพลตามเกณฑข์ อง Rosenthaland Rosnow [18] ทก่ี ำ� หนดวา่ หากขนาดอทิ ธพิ ลมคี า่ ระหวา่ ง 0.10 – 0.29 ถอื วา่ คา่ อทิ ธพิ ลนนั้ ตำ�่ หากมคี า่ อทิ ธพิ ลระหวา่ ง 0.30 – 0.49ถือว่าค่าอิทธิพลน้ันอยู่ในระดับปานกลาง และหากมีค่าอิทธิพลมากกว่าหรือเท่ากับ 0.50 ถือว่าค่าอิทธิพลน้ันอยู่ในระดับสูง จากการทดลองคร้ังนม้ี ีค่าอทิ ธิพบเทา่ กบั 0.89 ถือวา่ อย่ใู นระดับสงู ดงั แสดงในตารางท่ี 3ตารางที่ 3 ผลการทดสอบสมมตุ ฐิ านทีว่ ่าผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวิชา 441-411 ระเบียบวธิ วี ิจัยทางธุรกิจเรื่อง การออกแบบวจิ ยั ของนักศกึ ษาหลักสตู รบริหารธรุ กิจ กลุ่ม 05 หลงั ได้รบั การจดั การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสงู กวา่ กอ่ นไดร้ ับการจดั การเรียนรู้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน n  SD t-value t-probability คะแนนกอ่ นจดั การเรยี นรู้ คะแนนหลังจดั การเรยี นรู้ 16 4.19 2.83 -7.63 0.00* 0.89*0.05 16 8.47 1.81 จากผลการวิจัยข้างต้นท่ีสะท้อนว่านักศึกษาท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา 441-411 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ เรื่องการออกแบบวิจัย สูงขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับการวิจยั ของฐติ ิวัฒน์ นงนชุ [4] ทศี่ กึ ษาผลของการจดั การเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานท่มี ตี อ่ การพฒั นาดา้ นแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม ส�ำหรับนักศึกษารายวิชา ARC417 การออกแบบสถาปัตยกรรมข้ันสูง 2 ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ ผลการวจิ ยั พบวา่ คา่ คะแนนพฒั นาการเฉลย่ี ของกลมุ่ ตวั อยา่ งทง้ั หมดมคี า่ เทา่ กบั 7.64 พฒั นาการดา้ นทกั ษะในการ252 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ คร้ังที่ 27 ประจ�ำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ครั้งท่ี 3

ท�ำงานด้านการออกแบบภายหลังการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3 ด้าน พบว่า ทักษะในการออกแบบเพื่อแก้ปัญหา มีค่าคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 23.09 รองลงมาได้แก่ ทักษะด้านการคิดและแก้ปัญหาเชิงบูรณาการ มีค่าคะแนนพฒั นาการเทา่ กบั 18.64 และทกั ษะดา้ นการกำ� หนดปญั หาทใ่ี ชใ้ นการออกแบบ มคี า่ คะแนนพฒั นาการตำ�่ สดุ เทา่ กบั 17.45 ความพงึ พอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.77 ซึ่งอยู่ในระดับมาก นอกจากน้ียังเป็นไปในทิศทางเดยี วกันกับการวิจัยของดาริวรรณ เศรษฐธี รรม [5] ท่ีศกึ ษาผลการจัดการเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน ในรายวชิ า 512724 ความปลอดภัยของอาหาร และการจดั การ กลมุ่ ตัวอยา่ งเปน็ นกั ศึกษาหลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตร์มหาบัณฑติ ชน้ั ปีท่ี 1 จ�ำนวน 26 คน ผลการศกึ ษา พบวา่ 1) กอ่ นเขา้ สบู่ ทเรยี นนกั ศกึ ษาทง้ั หมด รอ้ ยละ 100.00 ไมม่ คี วามรใู้ นบทเรยี น และหลงั การเรยี นจนถงึ สอบกลางภาค นกั ศกึ ษาทั้งหมด รอ้ ยละ 100.00 มีความรู้ถูกตอ้ งมากขึน้ แต่อาจยงั ไม่ครอบคลมุ /ไมค่ รบถว้ น 2) ผลการสอบกลางภาค พบว่า นกั ศกึ ษาตอบข้อสอบไดค้ ะแนนมากกว่าครึง่ มรี อ้ ยละ 96.25 เชน่ เดียวกับผลการวจิ ัยของวาสนา ภมู ี [6] ทศ่ี กึ ษาผลของการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เร่ือง อัตราส่วนและร้อยละที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 หลงั ไดร้ ับการจดั การเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐานเร่อื ง อตั ราสว่ นและรอ้ ยละสูงกว่าก่อนได้รับการจดั การเรยี นรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานอยา่ งมนี ัยส�ำคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01 2) ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตรข์ องนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2หลงั ไดร้ บั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานเรอื่ ง อตั ราสว่ นและรอ้ ยละสงู กวา่ เกณฑร์ อ้ ยละ 70 อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .013) ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตรข์ องนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 หลงั ไดร้ บั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานเรอื่ งอตั ราสว่ นและรอ้ ยละสงู กวา่ กอ่ นไดร้ บั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .01 และ 4) ความสามารถในการให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 หลังได้รับการจดั การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน เร่อื งอัตราส่วนและร้อยละสูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 70 อยา่ งมีนัยสำ� คัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ .01 ผลการวจิ ัยครง้ั นสี้ อดคล้องกบั ผลการวจิ ยั ของนักวชิ าการหลายท่านที่กลา่ วถึงข้างตน้ เพราะการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเปน็ฐานเปน็ การเรยี นทเี่ รม่ิ ตน้ จากผสู้ อนนำ� เสนอปญั หาทแี่ ปลกใหม่ ทา้ ทาย และสอดคลอ้ งกบั โลกของความเปน็ จรงิ ใหก้ บั ผเู้ รยี น เพอ่ื กระตนุ้ใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรแู้ ละพฒั นาความรจู้ ากประสบการณเ์ ดมิ มาใชแ้ กป้ ญั หา โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั ทำ� งานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ รจู้ กั ตดั สนิใจ และสามารถนำ� เสนอผลงานได้ ผสู้ อนเปน็ เพยี งผอู้ ำ� นวยความสะดวก และคอยชแ้ี นะแกป้ ญั หาและพฒั นาไปสกู่ ารเปน็ ผทู้ สี่ ามารถเรยี นรู้โดยการช้ีน�ำตนเองได้ ในกระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีน้ีผู้สอนจะเป็นผู้ร่วมในการแก้ปัญหาท่ีมีหน้าที่ในการสร้างความสนใจ สร้างความกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นรใู้ หก้ บั ผเู้ รยี น เปน็ ผแู้ นะนำ� และอำ� นวยความสะดวกเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งสมบรู ณ์ ซงึ่ วธิ กี ารดงั กลา่ วจะท�ำใหผ้ ู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้ึน สรปุ ผลการวิจยั การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเร่ืองการออกแบบวิจัยในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ ท�ำให้คะแนนเฉล่ียของการทดสอบหลงั จดั การเรยี นรมู้ คี า่ สงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ ของการทดสอบกอ่ นจดั การเรยี นรคู้ ะแนนการทดสอบกอ่ นจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมนี ยั สำ� คญัทางสถิติ อย่างไกรก็ตาม ปัญหาท่ีพบในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานคือผู้เรียนบางส่วนไม่เตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรยี น และไมก่ ระตอื รือรน้ ในการเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะทีไ่ ด้จากการวจิ ัยคร้งั นค้ี อื ผู้สอนควรระบเุ อกสารทจี่ ะใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนล่วงหน้า และให้ผู้เรียนศกึ ษาล่วงหนา้ ก่อนเขา้ ช้ันเรยี น เพ่อื ให้สามารถน�ำความรทู้ มี่ รี ว่ มแลกเปลี่ยนกบั เพ่ือนรว่ มชน้ั เรียน ส่วนผสู้ อนตอ้ งกระตนุ้ ใหน้ กั ศกึ ษาทกุ คนรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ในเนอ้ื หาทจ่ี ดั การเรยี นการสอน ดงั นนั้ หากจะนำ� การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานไปใชก้ ับผเู้ รียนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตอ้ งมกี ารอธบิ ายการแสดงบทบาทในกระบวนการเรียนการสอนให้ผ้เู รียนเขา้ ใจกอ่ น และสร้างความคนุ้เคยกับผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ นอกจากน้ี ผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการจัดการเรียนการสอนควรมีการน�ำกิจกรรมการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานไปใชส้ อนในชน้ั เรยี นใหม้ ากยงิ่ ขนึ้ เนอ่ื งวธิ กี ารดงั กลา่ วมสี ว่ นชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงข้ึน ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไปควรมีการทดลองในนักศึกษาสองกลุ่มโดยจ�ำแนกเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองเพ่ือยืนยันประสทิ ธภิ าพการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน คำ� ขอบคณุ งานวิจัยเรื่องน้ีได้รับทุนอุดหนุนจากกองทุนวิจัยวิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีประจำ� ปีงบประมาณ 2559 สัญญาเลขที่ พส59001 ประเทศไทย 4.0 “วิจัยขับเคล่ือนสังคม” 253 Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society”

เอกสารอา้ งองิ [1] สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ ส�ำนกั นายกรฐั มนตร.ี (2545). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และท่ี แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟกิ [2] คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ (2553). หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ พ.ศ.2553. ปตั ตานี : ผแู้ ตง่ . [3] Neuman, W.L. (2014). Social Research Methods: Qualitative and Quantitative Approaches (7th ed.) Essex : Pearson Education Limited. [4] ฐิติวัฒน์ นงนุช. 2557. ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานท่ีมีต่อการพัฒนาด้านแนวความคิดในการออกแบบ สถาปตั ยกรรม สำ� หรบั นกั ศกึ ษารายวชิ า ARC417 การออกแบบสถาปตั ยกรรม ขนั้ สงู 2. กรงุ เทพฯ : คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ . [5] ดาริวรรณ เศรษฐธี รรม. (2556). ผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานในรายวชิ า 512724 ความปลอดภยั ของอาหาร และการจดั การ. ขอนแก่น : ภาควิชาวิทยาศาสตรอ์ นามัยส่งิ แวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. [6] วาสนา ภูมี. (2555). ผลของการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง อตั ราส่วนและร้อยละทีม่ ตี ่อความสามารถในการแก้ ปญั หาทางคณติ ศาสตรแ์ ละความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตรข์ องนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2. ปรญิ ญานพิ นธ์ การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมธั ยมศึกษา, บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. [7] วนั ดี ตอ่ เพ็ง. (2553). ผลของการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้ปัญหาเป็นหลักท่มี ตี ่อผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคณิตศาสตร์ เรอ่ื งโจทยป์ ญั หา เก่ยี วกบั สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1. ปรญิ ญานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาการ มัธยมศกึ ษา, บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. [8] ธนสร กริ ัมย์ และสมุ าลี สมนึก. (2553). การเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเป็นฐานและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา ระเบยี บวธิ วี จิ ยั . ปทมุ ธานี : สาขาวิชาการจดั การ คณะบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั อีสเทริ น์ เอเชีย. สืบคน้ เม่อื 3 สิงหาคม 2558 จาก http:// bus.eau.ac.th/2012/docs/article_03.pdf [9] ศุภลักษณ์ บุญถนอม. (2553). ความสัมพันธร์ ะหว่างรูปแบบการเรยี นรู้ กับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนในรายวิชาการ วเิคราะหร์ ายงาน ทางการเงนิ ของการเรียนการสอนใช้ปญั หาเปน็ ฐาน. ปทุมธานี : มหาวทิ ยาลัยอีสเทริ ์นเอเชีย. [10] เพญ็ ศรี พิลาสนั ต์. (2551). การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและแรงจงู ใจใฝส่ ัมฤทธท์ิ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เรอ่ื ง เศษส่วน ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) กบั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามวิธีปกต.ิ วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลกั สตู รและการสอน) บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. [11] สุรีวรรณ ราชสม. (2550). การพัฒนากระบวนการเรยี นแบบการใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning)ในรายวิชา หลกั วศิ วกรรมศาสตรอ์ าหารของนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าวศิ วกรรมอาหาร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา. สบื คน้ เมอ่ื 3 สงิ หาคม 2558 จาก http://kaewpanya.cttc.rmutl.ac.th/book/ index.php?option=com_content&view=arti- cle&id=52:-problem-based-learning-&catid=68:-2550 [12] เบญจมาศ เทพบุตรดี. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และ ความสามารถ ในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ฐาน (PBL) และการจัดการเรยี นรแู้ บบปกติ เร่อื ง การบวก ลบ คณู หารทศนิยม. วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม. (หลกั สูตรและการสอน) บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. [13] รชั นวี รรณ สขุ เสนา. (2550). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เรือ่ ง บทประยุกต์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ของ นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (PBL) กับการเรยี นรู้ตามคูม่ ือคร.ู วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลกั สตู รและการสอน) บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. [14] สายใจ จ�ำปาหวาย. (2549). ผลการเรยี นด้วยกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานและรปู แบบของ สสวท. เรอ่ื งบทประยกุ ต์ ท่ีมีต่อผลการเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. [15] สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา. (2552). ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง แนวทางการปฏบิ ัติ ต า ม ก ร อ บ มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552. กรงุ เทพฯ : ผู้แตง่ . [16] ระพินทร์ โพธศ์ิ รี. (2549). สถิติเพอื่ การวจิ ยั . กรงุ เทพฯ : สำ� นกั พิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . [17] Rosenthal, R. (1991). Meta-analysis procedures for social research (revised). Newbury Park, CA: Sage. [18] Rosenthal, R. & Rosnow, R.L. (1984). Essentials of Behavioral Research: Methods and Data Analysis. New York, NY: McGraw-Hill.254 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจ�ำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ คร้ังท่ี 3

รายนามผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบตุ ร จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.วีรชาติ เปรมานนท ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.เจรญิ นิติธรรมยง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ธงสรวง อิศรางกรู ณ อยธุ ยา จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั รองศาสตราจารย์รงุ่ นภา พติ รปรชี า จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี พุม่ พวง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วัชริยา ภูรวี โิ รจนก์ ลุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สนธิชยั จนั ทร์เปรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.นำ้ �ฝน ลำ�ดับวงศ ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุวตั ร แจง้ ชดั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.นันทวัน เทอดไทย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา พงศส์ วัสด์ิมานิต มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ แจ้งชัด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิษฐา ทรรพนนั ทน ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วันชยั จนั ทรป์ ระเสรฐิ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐพงษ์ เมฆสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรเทพ ธมั วาสร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธรรมศกั ด์ิ ทองเกต ุ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรวชิ วรรณไกรโรจน ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี ฝ่ายคำ�ตา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ เสอื สะอาด มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารยช์ ยั วฒั น์ กิตติกลู มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศกร คณุ วฒุ ิฤทธริ ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสกสม อาตมางกูร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เมธี แกว้ เนนิ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เฌอมาลย์ วงศ์ชาวจันท์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระศกั ดิ์ วีระภาสพงษ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดลุ ยพ์ เิ ชษฐ์ ฤกษ์ปรดี าพงศ ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ อาจารย์ ดร.ไพลิน จิตรชมุ่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.นิธยิ า รตั นาปนนท ์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร สายสมร ลำ�ยอง มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ รองศาสตราจารย์ ดร.เทวินทร์ วงษพ์ ระลบั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ รองศาสตราจารย์ ดร.สริ ินดา ยุ่นฉลาด มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ รองศาสตราจารย์ ดร.สชุ ลี า เตชะวงศเ์ สถยี ร มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.เกวลิน คุณาศักดากุล มหาวิทยาลัยขอนแกน่ รองศาสตราจารยก์ าญจนา นาถะพินธุ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวมี าศ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ศาสตราจารย์ ดร.สักกมน เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.ศริ ิชัย เทพา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.มีชัย โลหะการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ อาจารย์ ดร.ธวชั ชยั วงศ์ช่าง มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ยุพาภรณ์ อุไรรตั น ์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เบญจลักษณ์ เข้มคมุ้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย1308 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจ�ำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ครั้งที่ 3

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัลลภา พัฒนา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.พเิ ชษฐ์ พรหมใหม่ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรชี ญา ชมุ ศร ี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารยว์ รี าวรรณ มารงั กูร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ยั ผชู้ ่วยศาสตราจารยน์ ัดพลพิชยั ดลุ ยวาทติ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั อาจารย์ ดร.อรพรรณ จนั ทรอ์ นิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา กลา้ เวช มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยพ์ ิสิฐ คลงั กูล มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน รองศาสตราจารย์ ดร.สอาด ริยะจนั ทร ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.บุญหงษ์ จงคดิ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.เยาวพา จิระเกยี รติกลุ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วราฤทธ์ิ พานชิ กิจโกศลกลุ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารยม์ นู เฟ่ืองฟุ้ง มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สิทธชิ ยั วิชัยดษิ ฐ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สัมฤทธิ์ โมพ้ วง มหาวิทยาลยั นเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.นนั ทกา โกรานา มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.จติ ิมา วรรณศรี มหาวิทยาลยั นเรศวร ศาสตราจารย์ ดร.มาลยี า เครือตราช ู มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย์ ดร.สุบณั ฑิต นม่ิ รตั น ์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา รองศาสตราจารย์ ดร.วรเชษฐ์ ภริ มยภ์ ักด์ ิ มหาวทิ ยาลัยบรู พา รองศาสตราจารย์ ดร.สมสทิ ธ์ิ จิตรสถาพร มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย.์ ดร.ธีรเกียรต์ิ เกดิ เจรญิ มหาวิทยาลัยบรู พา ผชู้ ่วยศาสตราจารย.์ ดร.นพ.พบชยั งามสกลุ รุง่ โรจน ์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา รองศาสตราจารย์ปฐม หงษ์สุวรรณ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผ้ชู ่วยศาสตราจารย.์ ดร.นิตยา วรรณกติ ร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.นวิ ฒุ ิ หวงั ชยั มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประจวบ ฉายบ ุ มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ ไชยชนะ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชยั ฟองสมทุ ร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ อาจารย์ ดร.แสนคำ� นเุ สน มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ รองศาสตราจารย์จินตนา เหล่าไพบูลย ์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี อาจารย์ ดร.อมร เทศสกุลวงศ ์ มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิตเกษม หลำ�สะอาด มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.ธมยนั ตี ประยูรพนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั นราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วิภา วงั ศิริกุล มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครนิ ทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์บงกช กมลเปรม มหาวทิ ยาลยั นราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศิระ สายศร มหาวทิ ยาลัยพระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักด์ิ ศาสตราจารย์ ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด มหาวิทยาลยั มหดิ ล รองศาสตราจารย์ ดร.โยธิน แสวงด ี มหาวทิ ยาลยั มหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.ศรสี มบัติ โชคประจกั ษ์ชัด มหาวทิ ยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ สวุ านชิ มหาวทิ ยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ วัลย์ พลายนอ้ ย มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร สอนศร ี มหาวิทยาลยั มหิดล รองศาสตราจารย์นาวาอากาศเอก ยทุ ธนา ตระหงา่ น มหาวิทยาลยั แม่ฟา้ หลวง ประเทศไทย 4.0 “วิจัยขับเคล่ือนสังคม” 1309 Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society”

ผชู้ ่วยศาสตราจารยช์ ัยวัฒน์ ตัณฑรังษ ี มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา รองศาสตราจารย์นคิ อเละ ระเดน่ อาหมัด มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ ะพรรณ์ จุลสุวรรณ ์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประภาพร ยางประยงค ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรี ะชยั แสงฉาย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทวีสนิ นาวารตั น์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.บฆู อรี ยหี มะ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์สายฝน ไชยศร ี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา อาจารย์ ดร.นัยนา โง้วศิริ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา อาจารย์ ดร.นุชษรา พงึ่ วริ ยิ ะ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา อาจารย์ ดร.คมวทิ ย์ ศริ ิธร มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา อาจารย์ ดร.ชูตา แกว้ ละเอียด มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา อาจารย์ ดร.อนุมตั ิ เดชนะ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา อาจารยร์ วสิ รา ศรชี ยั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา อาจารย์ ดร.เกรยี งไกรยศ พนั ธไุ์ ทย มหาวทิ ยาลยั รามคำ�แหง รองศาสตราจารย์ ดร.วาริน อินทนา มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี อสิ รไกรศีล มหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.มนสั ชัยจันทร ์ มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.มณฑล เลิศคณาวณชิ กลุ มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจมาลย์ สรุ นิลพงศ์ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ เมืองแก้ว มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สปุ ราณี มนรู กั ษช์ ินากร มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำ�นงค์ ธนะภพ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชลู ีรัตน์ คงเรือง มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ อาจารย์ ดร.เลศิ ชาย ศริ ชิ ัย มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชยั วิสทุ ธางกรู มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาณุพงศ์ อุดมศิลป ์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ประพนั ธ์ศกั ดิ์ พุม่ อนิ ทร ์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ รองศาสตราจารย์ ดร.นรินทร์ สังข์รักษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร รองศาสตราจารยจ์ ิระพฒั น์ พติ รปรชี า มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ร้อยโทหญิง ดร.เกดิ ศิริ เจริญวศิ าล มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ศาสตราจารย์ ดร.บญั ชา สมบูรณ์สุข มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง เตชะโต มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วันชยั ธรรมสัจการ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา เทพสงิ ห์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณนะ หนหู มน่ื มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั นภาพงศ์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชดิ ชนก เชงิ เชาว์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สมยศ ทงุ่ หวา้ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาต วสิ ุทธสิ มาจาร มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชลธี ชีวะเศรษฐธรรม มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธำ�รงค์ อมรสกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ยุทธจักร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.คณิตา นิจจรลั กุล มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธรี พงศ์ แก่นอนิ ทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์1310 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจ�ำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ครั้งที่ 3

รองศาสตราจารย์ ดร.สุวมิ ล เข้ียวแก้ว มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญ หันพงศ์กติ ติกูล มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.จำ�เปน็ ออ่ นทอง มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ศลิ ป์ มณรี ัตน์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.จรัสศรี นวลศรี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สเุ มธ ไชยประพัทธ ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ยทุ ธนา ฏิระวณชิ ย์กุล มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วุฒพิ ร พรหมขนุ ทอง มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรญั งามผ่องใส มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์วุฒิ วฒั นสิน มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ระพพี ร เรอื งช่วย มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรมนูญ โปรดปราน มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นรศิ ทา้ วจันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะรัตน์ บญุ แสวง มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.โรจนัจฉรยิ ์ ด่านสวัสดิ์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรี ยุทธ หลีวิจิตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฤทยั ชนนี สิทธิชยั มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เอกรินทร์ สังขท์ อง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อญั ชลี ศิรโิ ชต ิ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ ดร.นิรัตติศัย เพชรสภุ า มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ อาจารย์ ดร.สุพฒั น์ คงพว่ ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ ดร.นทั ธี บญุ จันทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ อาจารย์ ดร.ชลทิต สนธเิ มอื ง มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.นำ้ �ทิพย์ วิภาวนิ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ พันธวิศษิ ฏ ์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ววิ ฒั น์ จนั ทรก์ ง่ิ ทอง มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กอแก้ว จันทรก์ ิง่ ทอง มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ ลิม้ โยธิน มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ อาจารย์ ดร.สิริลกั ษณ์ ทองพนู มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อาจารย์ ดร.ชตุ มิ า หวงั เบ็ญหมดั มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อาจารย์ ดร.ยรรยง คชรตั น ์ มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ อาจารย์ ดร.ประสิทธิ์ รัตนพนั ธ์ มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ อาจารย์ ดร.คนึงนิจต์ หนเู ช็ก มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อาจารย์ ดร.ปรชั ญากรณ์ ไชยคช มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ อาจารย์ ดร.วรลกั ษณ์ ลลิตศศิวมิ ล มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรี พันธ์ ดว้ งทองสขุ มหาวทิ ยาลัยเอเชีย อาจารย์ ดร.สรุ สิทธ์ิ วเิ ศษสิงห์ วิทยาลยั นาฏศิลปน์ ครศรธี รรมราช รองศาสตราจารย์ ดร.อดิศร เสวตววิ ัฒน์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั รองศาสตราจารย์ ดร.เติมพงษ์ เพช็ รกูล สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั รองศาสตราจารย์ ดร.กนก เลศิ พานชิ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ผุสดี ตังวชั รินทร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ม.ล.บุศยมาศ นันทวัน สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อาแว มะเเส สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ ทนั ตแพทยห์ ญงิ วธู เมตตาสิทธิกร โรงพยาบาลพปิ นู รองศาสตราจารย์ ดร.หิรหิ ทั ยา เพชรมัง่ มหาวทิ ยาลัยทักษิณ ประเทศไทย 4.0 “วิจัยขับเคลื่อนสังคม” 1311 Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society”

รองศาสตราจารย์ ดร.กนกพร สงั ขรักษ์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ รองศาสตราจารย์ ดร.สรรพสทิ ธ์ิ กล่อมเกลา้ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ รองศาสตราจารย์ ดร.จอมภพ แววศกั ด์ ิ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ รองศาสตราจารย์ ดร.ธวฒั น์ชยั เทพนวล มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ รองศาสตราจารย์ ดร.ประมาณ เทพสงเคราะห ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ รองศาสตราจารย์ ดร.ปญุ ญพัฒน์ ไชยเมล ์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ รองศาสตราจารย์ ดร.จรสั อติวิทยาภรณ ์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ รองศาสตราจารย์ ดร.ชนิ สัคค สุวรรณอัจฉรยิ มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ รองศาสตราจารย์ ดร.นิคม ชูศิร ิ มหาวิทยาลยั ทักษิณ รองศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร์ จุลทรัพย ์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ รองศาสตราจารย์ ดร.นริ ันดร์ จุลทรพั ย์ มหาวิทยาลัยทักษณิ รองศาสตราจารย์ ดร.ณฐพงศ์ จติ รนริ ตั น์ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ รองศาสตราจารย์สุเทพ สันตวิ รานนท์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ รองศาสตราจารย์กรกฎ ทองขะโชค มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ รองศาสตราจารยภ์ าณุ ธรรมสวุ รรณ มหาวทิ ยาลัยทักษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลทิศา สขุ เกษม มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนวิ ัช แกว้ จำ�นงค์ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรจันทร์ ศริ โิ ชต ิ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา สุวรรณวิจติ ร มหาวทิ ยาลัยทักษณิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรพงค์ เบญจศรี มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นกุ ูล อนิ ทระสังขา มหาวทิ ยาลัยทักษณิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมพงศ์ โอทอง มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั ธยาน์ ฟาน เบม มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สภุ ฎา คีรีรัฐนิคม มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จตพุ ร แกว้ ออ่ น มหาวิทยาลัยทักษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมคั ร แกว้ สกุ แสง มหาวิทยาลัยทกั ษิณ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จตุพร แก้วอ่อน มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรงิ วฒุ ิ ชเู มือง มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สริ ยา สิทธสิ าร มหาวิทยาลยั ทักษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพมาศ ปกั เขม็ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กรวิกา กอ้ งกุล มหาวิทยาลยั ทักษิณ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศวิ พร แซว่ นั มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.กสุ มุ าลย์ นอ้ ยผา มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.โสมศริ ิ เดชารัตน ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤธยากาญจน์ โตพิทกั ษ ์ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อมลวรรณ วรี ะธรรม มหาวิทยาลยั ทักษิณ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มณฑนา พิพฒั น์เพญ็ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.คณุ อานนั ท์ นริ มล มหาวทิ ยาลัยทักษณิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สัญชยั ลั้งแท้กุล มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สิงหา ประสิทธพ์ิ งศ ์ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุวตั สงสม มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิทวฒั น์ ขตั ตยิ ะมาน มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนวลั ย์ ภิญโญศุภสิทธิ ์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พัศรเบศวณ์ เวชวิริยะสกลุ มหาวิทยาลัยทักษิณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวนพศิ ชุมคง มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ1312 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งท่ี 27 ประจ�ำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ครั้งท่ี 3

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทรา กลา้ ณรงค์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งชัชดาพร เวหะชาต ิ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพเกา้ ณ พัทลุง มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุทธพิ ร บญุ มาก มหาวิทยาลยั ทักษิณ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษา อน้ ทอง มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธีรพร ทองขะโชค มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ ถนนแก้ว มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุธรรม ขนาบศักดิ ์ มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยบ์ ษุ กร ถาวรประสิทธ ิ์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยบ์ ษุ กร อตุ รภชิ าต ิ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยว์ รากร วิศพันธ ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยส์ ุวิทย์ เพชรหว้ ยลกึ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ ผ้ชู ่วยศาสตราจารยส์ ิรพี ร สังข์ทอง มหาวิทยาลัยทักษณิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์อรยา ปรีชาพานิช มหาวิทยาลัยทกั ษณิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยส์ ุดา เธยี รมนตรี มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ผ้ชู ่วยศาสตราจารยย์ อดชาย พรหมอนิ ทร ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ านุช คีรีรฐั นคิ ม มหาวิทยาลัยทกั ษณิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สมชาย เลยี้ งพรพรรณ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยจ์ ำ�นง แรกพนิ จิ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดำ�รงศกั ดิ์ แก้วเพง็ มหาวิทยาลยั ทักษณิ ว่าทรี่ ้อยตรี อาจารย์ ดร.พลกฤษณ์ คล้ายวติ ภทั ร มหาวิทยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.ศันสนีย์ จันทร์อานภุ าพ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ อาจารย์ ดร.อภนิ นั ท์ เอ้อื องั กูร มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ อาจารย์ ดร.วรรณภรณ์ บริพันธ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ อาจารย์ ดร.วลิ าวลั ย์ จันทรศ์ รี มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ อาจารย์ ดร.โกมลมณี เกตตะพันธ์ มหาวทิ ยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.ศิรดา นวลประดษิ ฐ์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ อาจารย์ ดร.พินิจ ดวงจินดา มหาวิทยาลัยทักษณิ อาจารย์ ดร.ถาวร จนั ทโชต ิ มหาวิทยาลยั ทักษิณ อาจารย์ ดร.สชุ าติ สุขสถิตย์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ อาจารย์ ดร.ชัยสทิ ธ์ิ นิยะสม มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ อาจารย์ ดร.จารุรตั น์ ปญั โญ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ อาจารย์ ดร.ศุภชยั นิตพิ นั ธ์ มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ อาจารย์ ดร.อนิดา เพช็ รแกว้ มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ อาจารย์ ดร.โชคชยั เหมือนมาศ มหาวทิ ยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.กฤษฎา พัชรสทิ ธ ์ิ มหาวิทยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.นนั ทรตั น์ พฤกษาพิทกั ษ์ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ อาจารย์ ดร.รวมพร นิคม มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ อาจารย์ ดร.พมิ พช์ นา ฮกทา มหาวิทยาลยั ทักษิณ อาจารย์ ดร.ปยิ าภรณ์ ภาษติ กุล มหาวิทยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.เสาวณีย์ สิงหส์ โรทัย มหาวทิ ยาลัยทักษณิ อาจารย์ ดร.อนิดา เพชรแกว้ มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ อาจารย์ ดร.อภิเดช บรู ณาวงศ ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.คมกฤช โชคพระสมบตั ิ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ประเทศไทย 4.0 “วิจัยขับเคล่ือนสังคม” 1313 Thailand 4.0 “Research to Mobilize Society”

อาจารย์ ดร.ศุภลกั ษณ์ อำ�ลอย มหาวิทยาลยั ทักษิณ อาจารยด์ ร.กฤษฎา พัชรสทิ ธ์ ิ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.ชลทิรา แสงสบุ นั มหาวทิ ยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.กรกนก อุบลชลเขต มหาวิทยาลยั ทักษิณ อาจารย์ ดร.นชิ ากรณ์ พันธ์คง มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ อาจารย์ ดร.สวุ ิชา อิม่ นาง มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ อาจารย์ ดร.วสิ ทิ ธิ์ บญุ ชมุ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.เดอื นเพญ็ กชกรจารพุ งศ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.จินตนา กสินันท ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.คณิดา สินใหม มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ อาจารย์ ดร.อรสา อนันต ์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ อาจารย์ ดร.จันทวรรณ นอ้ ยศรี มหาวิทยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.สุภาภรณ์ เมฆสวี มหาวิทยาลัยทักษณิ อาจารย์ ดร.ดุษณีย์ สุวรรณคง มหาวิทยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.จารรุ ัตน์ ปัญโญ มหาวิทยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.วนั ลภ ดิษสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.สุปานดี มณโี ลกย์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ อาจารย์ ดร.สธุ าสินี บุญญาพทิ ักษ์ มหาวิทยาลยั ทักษิณ อาจารย์ดร.ชชั วาล ชมุ รกั ษา มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ อาจารย์ ดร.สธุ ี โง้วศิริ มหาวิทยาลยั ทักษณิ อาจารย์ ดร.ณฐั นันท์ ทองมาก มหาวิทยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.เกษม เปรมประยรู มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ ดร.นุชนาฏ ใจดำ�รงค์ มหาวทิ ยาลัยทักษณิ อาจารย์ ดร.เสาวรส ยิ่งวรรณะ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ อาจารย์ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ มหาวทิ ยาลัยทักษณิ อาจารย์ ดร.นวลพรรณ วรรณสธุ ี มหาวทิ ยาลัยทักษณิ อาจารย์ ดร.ศิรริ ตั น์ สนิ ประจักษผ์ ล มหาวิทยาลัยทักษณิ อาจารย์ ดร.อทุ ยั เอกสะพงั มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ อาจารย์ ดร.ฐากร สิทธิโชค มหาวทิ ยาลัยทักษิณ อาจารย์ ดร.ธนภัทร เตมิ รัตนะกุล มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ อาจารย์ ดร.ทวศี กั ดิ์ พุฒสขุ ข ี มหาวิทยาลัยทกั ษณิ อาจารยว์ รรณฤดี หริ ัญรตั น ์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ อาจารย์อาจารี นาโค มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ อาจารยส์ วุ มิ ล จงุ จิตร์ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ อาจารย์ชวนชม ขุนเอยี ด มหาวทิ ยาลยั ทักษณิอาจารย์พริ ิยะลักษณ์ เพชรห้วยลกึ มหาวิทยาลัยทักษิณ1314 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งท่ี 27 ประจ�ำปี 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ คร้ังที่ 3