Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore port-folio of Kanyaprin

port-folio of Kanyaprin

Published by yokmanee, 2018-07-02 02:52:55

Description: port-folio สำหรับยื่นประเมินดรุณาจารย์

Search

Read the Text Version

แฟ้มสะสมผลงานด้านการเรยี นการสอน ประจาปกี ารศึกษา 2560 ดร.กันยปรณิ ทองสามสี หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑติคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 1

2

คาํ นาํ แฟ้มสะสมผลงานด้านการเรียนการสอน (Teaching Portfolio) ฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอรับการพิจ ารณาประเมินสมร รถนะตามกรอบมาตรฐานสมรรถน ะอาจารย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) โดยผู้จัดทานาเสนอข้อมูลประวัติส่วนตัว ปรัชญาการเรยี นการสอน กิจกรรมด้านการจดั การเรยี นการสอน สมรรถนะและผลสัมฤทธิ์ด้าน การสอนการเพ่มิ พูนประสบการณ์การพฒั นาตนเองด้านวชิ าชพี การศึกษา การมสี ่วนร่วมในพันธกิจหรือภารกิจขององค์กร เกยี รติยศ รางวลั หรือการได้รบั การยอมรบั การสะท้อนประสบการณ์และการวางแผนในอนาคต ตลอดจนภาพประกอบและเอกสาร คาสัง่ และหนงั สอื เชญิ ต่างๆ ท่ีผู้จัดทาได้รับเกียรติ และได้รับมอบหมายให้ดาเนินงานต่างๆ ในช่วงเวลาที่ผ่านมาดังรายละเอียดแต่ละประเด็นที่นาเสนอผู้จดั ทาหวงั วา่ แฟ้มสะสมผลงานด้านการเรยี นการสอนฉบับน้ีจะสามารถเป็นข้อมูลสะท้อนสมรรถนะตามกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ของผู้จัดทาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม และหวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่าข้อมูลดงั กล่าวจะสามารถเป็นฐานความรู้ท่ีจะพัฒนาศักยภาพการทางานและการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนของผู้จดั ทาต่อไปในอนาคต กนั ยปริณ ทองสามสี 9 พฤษภาคม 2561 1

สารบัญ1. ขอ้ มลู ส่วนตัว หน้า2. ปรัชญา/กรอบแนวคิดด้านการเรียนการสอน 33. กิจกรรมด้านการเรยี นการสอนและบทบาทความเป็นครู 44. สมรรถนะและผลสมั ฤทธดิ์ ้านการสอน 55. การเพิ่มพูนประสบการณ์/การพัฒนาตนเองด้านวชิ าชีพการศกึ ษา 116. การมสี ่วนร่วมในพันธกจิ /ภารกิจของคณะหรือมหาวิทยาลัยด้านการเรยี นการสอน 187. เกยี รติยศ รางวัล และการได้รบั การยอมรับระดับองค์กร ภูมภิ าค ชาติ หรอื นานาชาติ 208. การสะท้อนประสบการณ์ และการวางแผนในอนาคต 219. ภาคผนวก 29 302

ส่วนที่ 1 ข้อมลู ส่วนตวันางกนั ยปริณ ทองสามสีภาควิชาสงั คมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ประวัตสิ ว่ นตัววัน เดือน ปีเกดิ 18 กนั ยายน 2517 อายุ 43 ปีการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา (เรยี งจากคุณวุฒสิ ูงสดุ ตามลาดบั ) คณุ วุฒิ ปี พ.ศ. ท่ีจบ ช่อื สถานศกึ ษาและประเทศ ม.สงขลานครนิ ทร/์ ไทยปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการ) 2558 ม.สงขลานครินทร/์ ไทย ม.สงขลานครนิ ทร/์ ไทยรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต 2545 ม.สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช/ไทยศิลปศาสตรบัณฑิต (พฒั นาสังคม) 2539 ม.สุโขทัยธรรมาธริ าช/ไทย(เกียรตินิยมอันดบั หน่ึง)ศกึ ษาศาสตรบัณฑิต 2554(การวดั และประเมินผลการศกึ ษา)ประกาศนียบัตรวิชาชพี ครู 2544การปฏบิ ัติงาน - อาจารย์ประจาหลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ - กรรมการสภาอาจารย์วิทยาเขตปัตตานี (วนั ท่ี 12 เดอื นมิถุนายน พ.ศ.2560 – ปัจจบุ นั ) - กรรมการประเมนิ คุณภาพภายในระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QAมหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายนอกสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 3

สว่ นท่ี 2 ปรัชญา/กรอบแนวคิดดา้ นการเรยี นการสอน ผู้สอนใช้ปรชั ญาและแนวคิดทางการศึกษาแนวพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ที่เชื่อว่าความเจรญิ จะเกดิ ขน้ึ โดยการสรา้ งประสบการณ์แกผ่ ู้เรยี น เพื่อใหเ้ กิดความรู้ และทักษะโดยตรงอันจะสามารถนามาแกป้ ญั หาต่างๆ ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้น วิธีการเรียนการสอนตามปรัชญาการศกึ ษาน้ีมคี วามเชื่อพื้นฐานว่าความจริงสูงสุด (หรือความรู้) ไม่มีความแน่นอนตายตัวเพราะความรู้นน้ั วิวัฒนาการ/พฒั นาตลอดเวลา ความรู้จะเกิดขึ้นได้นั้นเป็นผลมาจากประสบการณ์และการค้นคว้าทดลองของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนนั้ กจิ กรรมการเรียนการสอนจึงมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ด้วยการลงมอื กระทาทเ่ี ป็นประสบการณต์ รงของตนเองตา มความสนใจ มุ่งให้ผู้เรียนมีความกระตอื รือรน้ ตอ่ การศึกษา เป็นผ้สู ามารถใชค้ วามรทู้ ่ไี ด้นั้นแก้ปัญหาต่างๆ ทเ่ี กิดขึน้ ทัง้ แก่ตนเอง บุคคลรอบข้าง และชมุ ชนที่เก่ียวขอ้ ง โดยผ้สู อนจะต้องแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เสมอ ทั้งจากผลงานท่ีพัฒนาโดยผเู้ ช่ยี วชาญในสาขา และศึกษาวิจยั องคค์ วามรู้ใหม่ด้วยตนเองเพื่อนาความรู้น้ันมาถ่ายทอดแก่นักศกึ ษา เพอื่ ให้นักศึกษาไดเ้ รยี นรคู้ รอบคลมุ ครบถ้วนทั้งองค์ความรเู้ ชงิ ทฤษฎี แนวคิด กฎ ระเบียบและแนวนโยบายที่เกีย่ วข้อง จากนน้ั มกี ารนากรอบแนวคดิ เหลา่ นัน้ มาใชศ้ ึกษาในสภาพจริงของแต่ละพนื้ ที่ ซงึ่ ผลลัพธ์ท่ไี ด้จะพบทั้งความสอดคล้องและความแตกต่างเนื่องจากแต่ละพ้ืนท่ีมีสภาพปัญหาสภาวะแวดล้อม ความเชื่อ วิธคี ิด และพฤตกิ รรมของมนษุ ยท์ ี่แตกต่างกัน นอกจากนี้ ผู้สอนยังต้องเอาใจใส่ ดแู ล ใหค้ าแนะนา เป็นท่ปี รกึ ษาทด่ี ี รวมทงั้ ใหข้ อ้ เสนอแนะในการแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ กับผ้เู รยี น การจัดการเรยี นการสอนในปจั จบุ ันนอกจากยึดหลักปรัชญาแล้ว ต้องพิจารณา หลักเกณฑ์/กร ะบวน กา รที่กา หน ดโดย หน่วยงา นต้น สังกัด และร ะบบประกัน คุณภา พกา ร ศึกษา ซ่ึงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ประกาศใช้ระบบคุณภาพของ ASEAN University NetworkQuality Assurance (AUN-QA) เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาระดับหลักสูตร ซ่ึงระบบคณุ ภาพดงั กล่าวมุ่งเนน้ ให้จดั การเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (ExpectedLearning Outcome) ที่กาหนดไวโ้ ดยผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียในกระบวนการพฒั นาหลักสูตร ทั้งน้ี ผู้สอนตอ้ งใช้กระบวนการ วิธีการ และหรือกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับสภาพผู้เรียนบรบิ ทของหลักสตู ร-รายวิชา และสภาพพนื้ ท่กี ารเรียนร้ทู ี่แตกต่างกันไป ซ่ึงผู้สอนได้ใช้กระบวนการเรียนการสอนหลากหลายวิธกี ารดงั นี้ 1) การเรยี นรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning) โดยกาหนดกระบวนการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดโจ ทย์ ค้นคว้า วิเคราะห์ กา รแลกเปล่ียนเรียนรู้ และสร้างควา มรู้ด้วยตนเอง ( Self-Construction) โดยอาจารย์พยายามปรับเปล่ียนบทบาทจากผู้บรรยาย ( Lecturer) สู่การเป็นผู้อานวยการเรียนรู้ (Learning Facilitator) แกน่ ักศกึ ษา 2) การแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและการอภิปรายในชั้นเรียน (Sharing and Discussion)ผู้สอนเปน็ ผูย้ กประเดน็ ที่สงั คมใหค้ วามสนใจ/ประเดน็ ปญั หาสังคม/ปญั หาการจัดการ จากน้ันกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนวิเคราะห์ วพิ ากย์ตามกรอบแนวคดิ ทฤษฎีหรอื แนวนโยบายท่เี กย่ี วขอ้ ง และแลกเปลี่ยนความ 4

คิดเห็นในกลุ่ม ทาใหเ้ พ่ือนร่วมกลุม่ ได้รับรู้ถงึ แนวคดิ ทห่ี ลากหลาย ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกันมี การถ่ายโอนความรูร้ ะหวา่ งผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3) การจัดเรยี นการสอนโดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-based Learning) เน่ืองจากองค์ความรู้ ทกั ษะ และมุมมองแนวคิดตามผลการเรยี นรู้ที่หลกั สตู รกาหนดไว้จาเป็นต้องอาศัยการเรี ยนรู้จากปญั หาจริงในพน้ื ทต่ี า่ งๆ ดังนน้ั ผู้สอนจึงพยายามจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาจริง หรอื กรณีศึกษาท่ีเก่ยี วขอ้ งกับรายวชิ าต่างๆ ทอ่ี าจารยม์ ีประสบการณ์ตรง หรือจากกรณีศึกษาที่มีผู้ทาการศึกษาไว้เพ่ือใหน้ กั ศึกษาไดเ้ กดิ การประยุกต์ใช้องคค์ วามร้ใู หเ้ ขา้ กับบริบทพื้นท่ี ชุมชน และเง่ือนไขต่าง ๆ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพสว่ นท่ี 3 กจิ กรรมดา้ นการเรยี นการสอนและบทบาทความเป็นครู บทบาทด้านการเรยี นการสอน ปกี ารศึกษา 2560 รับผิดชอบสอนรายวิชาท้ังระดับบัณฑิตศึกษาและระดับปริญญาตรีรายละเอียดดงั น้ีระดบั รายวิชาท่ีสอนปกี ารศกึ ษา 2560 จานวน ช.ม./ เปดิ สอนภาค/ นักศกึ ษา สปั ดาห์ ปกี ารศกึ ษาปรญิ ญาโท 428-622 Human Capital Strategic Administration 11 1 1/2560ปรญิ ญาตรี 441-300 Practical Training (หลักสูตรฉบบั ปรับปรงุ 2553) 13 - 1/2560ปริญญาตรี 441-302 Business Statistics (หลกั สตู รฉบับปรับปรงุ 2558) 37 3 1/2560ปรญิ ญาตรี 441-311 Business Statistics and Application (หลกั สูตรฉบบั 7 3 1/2560 ปรบั ปรุง 2553)ปริญญาตรี 441-411 Business Research Methodology (หลกั สตู รฉบบั ปรบั ปรุง 16 3 1/2560 2553)ปรญิ ญาตรี 441-423 Welfare Management and Social Insurance (หลกั สตู ร 90 3 1/2560 ฉบบั ปรับปรงุ 2553)ปรญิ ญาตรี 441-222 Welfare Management and Social Insurance (หลกั สตู ร 53 3 1/2560 ฉบบั ปรับปรงุ 2558)ปริญญาตรี 441-102 Principles of Business Management (หลักสูตรฉบับ 100 3 2/2560 ปรบั ปรงุ 2558)ปริญญาตรี 441-221 Organization Theory and Design (หลักสตู รฉบับปรับปรุง 1 3 2/2560 2553)ปริญญาตรี 441-221 Organization Theory and Design (หลักสูตรฉบบั ปรบั ปรงุ 29 3 2/2560 2558)ปริญญาตรี 441-422 Corporate Social Responsibility (หลักสตู รฉบบั ปรับปรุง 75 3 2/2560 2558)รวม 12 รายวิชา 432 28 5

การจัดการเรียนการสอนวิชา 441-423 การจัดสวัสดกิ ารและการประกันสังคม (หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ฉบับปรบั ปรุง 2553) และ 441-222 การจัดสวัสดิการและการประกันสังคม(หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจบัณฑิต ฉบับปรับปรุง 2558) ปีการศึกษา 2560 ผู้สอนได้จัดทาเอกสารประกอบการสอนเรือ่ ง “การจัดสวสั ดกิ ารและการประกนั สังคม” ซ่ึงมเี นือ้ หาครอบคลุมทุกหน่วยการเรยี นมอบให้นกั ศึกษาต้งั แต่ต้นภาคการศึกษา ในส่วนการจัดการเรียนการสอนนั้นผู้สอนใช้วิธีท่ีหลากหลายทัง้ การแบ่งกลุ่มศกึ ษางาน การมอบหมายงานเพอื่ คน้ คว้าเพิ่มเติม การเตรียมเน้ือหาเพ่ือนาเสนอ การศึกษางานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้องกบั เนื้อหาที่เรียนเพื่อเป็นกรณีศึกษา การฝึกปฏิบัติ การเข้าสัมภาษณผ์ ูบ้ ริหารและพนักงานในสถานประกอบการเพื่อใช้ประกอบการจัดทารายงานการจัดสวสั ดกิ ารในองค์การ และการนาเสนอเนื้อหาหน้าชั้นเรียน นอกจากกจิ กรรมในชั้นเรียนแล้ว ผู้สอนยังไม่กิจกรรมเสริมหลักสูตรโดยจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ดา้ นสวสั ดิการและการค้มุ ครองแรงงานในงาน มอ.วิชาการ เชิญวิทยากรผู้เช่ียวชาญดา้ นประกนั สงั คมมาบรรยายให้ความรเู้ พิม่ เตมิ แก่นกั ศกึ ษา และเปดิ โอกาสให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณก์ บั ผูเ้ ช่ยี วชาญโดยตรงเผยแพรค่ วามรดู้ า้ นสวสั ดกิ ารและการคุ้มครองแรงงานในงาน มอ.วชิ าการ 6

เชญิ วทิ ยากรจากสานักงานประกันสังคมจังหวัดปัตตานีมาจัดกจิ กรรมให้ความร้เู พ่ิมเติมแกน่ กั ศกึ ษาในรายวชิ า 441-423/441-222 การจดั สวัสดิการและการประกันสงั คม ปกี ารศึกษา 2560 7

การนาเสนองานกลมุ่การระดมสมองกรณีศึกษาการจดั สวัสดิการแรงงานในองคก์ ารต่าง ๆ นอกจากนี้ การจัดการเรียนการสอน รายวิชา 441-423 การจัดสวัสดิการและกา รประกันสังคม (ผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาชั้นปีท่ี 4) ยังมีการบูรณาการกับรายวิชา 441-411ระเบยี บวธิ ีวจิ ัยทางธุรกจิ ซงึ่ เป็นวิชาบังคับทางธุรกิจ ในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ.2553 เปดิ สอนสาหรับนักศึกษาช้ันปีท่ี 4 มุ่งให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและคณุ ภาพ กระบวนการวจิ ัย และการวางแผนวจิ ยั แบบต่างๆ การสร้างกรอบความคิดใน 8

การวจิ ยั การรวบรวมและการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การอภิปรายผล ตลอดจนการบริหารโครงการวิจัยรูปแบบการเรยี นการสอนรายวชิ า 441-411 ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางธุรกจิ ของหลักสูตรบริหารธุรกิจ จะเปิดโอกาสใหอ้ าจารยท์ กุ คนในสาขาไดส้ อนเน่ืองจากเป็นวิชาหลักทางการบริหารธุรกจิ และต้องการให้นกั ศกึ ษาได้ลงมือปฏิบตั ิการวิจยั ทุกคน โดยกาหนดรบั จานวนนักศึกษาในแตล่ ะกลุม่ ผสู้ อนในจานวนที่เทา่ ๆ กนั ในปีการศึกษา 2560 ผูส้ อนเสนอแนะต่อคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรใหก้ าหนดประเด็น/หัวข้อวิจยั ทีผ่ ู้สอนแต่ละกลมุ่ สนใจ/ถนดั เพือ่ ให้ผู้เรียนได้คานึงถึงความสนใจของตนเองก่อนเลือกลงทะเบียนเรยี นกบั ผสู้ อนในแต่ละกล่มุ และเป็นวธิ กี ารกล่ันกรองผู้เรียนเข้ากลุ่มเรียนเบ้ืองต้น จากกระบวนการดังกล่าวผสู้ อนได้กาหนดหวั ขอ้ วิจยั ดา้ นสวัสดิการแรงงาน แรงงานสัมพันธ์ สวัสดิการสังคมเพอ่ื ให้นักศึกษาที่สนใจหวั ขอ้ ดา้ นนี้มาลงทะเบียนเรียน ซ่ึงใน ปีการศึกษา 2560 มีงานวิจัยที่แล้วเสรจ็ ถูกตอ้ งตามระเบยี บวธิ วี จิ ยั รวม 8 เรือ่ ง (จากผู้ลงทะเบียนเรียน 16 คน) อาทิ สวัสดิการแรงงานตา่ งด้าวทที่ างานในเขตอตุ สาหกรรมอาเภอเมอื ง จงั หวดั ปตั ตานี ความต้องการสวัสดิการของผูส้ งู อายใุ นองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลแหลมโพธิ์ อาเภอยะหรง่ิ จงั หวดั ปตั ตานี บทบาทด้านอาจารย์ท่ปี รกึ ษา ไดม้ ีคาสงั่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ 50284/2560 เรื่องแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษานกั ศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีการศึกษา 2560 แต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษานักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 จานวน 17 คน (สว่ นอกี ประมาณ 18 คนอยู่ภายใต้ความรบั ผิดชอบของ ดร.รุศดาแกว้ แสงอ่อน) บทบาทในสว่ นน้ีนั้นได้เปดิ โอกาสให้นักศึกษาเข้าพบเพ่ือปรึกษาท้ังเร่ืองส่วนตัวและเร่อื งการเรยี นได้ทุกสปั ดาหๆ์ ละ 6 ชว่ั โมง รวมท้งั เปิดโอกาสให้ติดตอ่ ผ่านโทรศัพท์ e-mail line และfacebook ได้กรณีมีเรื่องเร่งด่วน และมีการนดั รบั ประทานอาหารร่วมกันหน่ึงคร้ังเพ่ือเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พูดคยุ ปัญหากับอาจารย์ที่ปรึกษาอยา่ งใกลช้ ดิ ตลอดหน่งึ ปที ่ีผา่ นมีนกั ศึกษาขอคาปรกึ ษา 4 ราย สว่ นใหญ่ต้องการหารายได้ระหว่างเรียนจงึ แนะนาให้สมคั รทนุ ทางานของกองกจิ การนักศึกษา วิทยาเขตปัตตานี 1 ราย อีก 2 รายได้ขายเส้ือผ้า/ถงุ เทา้ หลงั เลิกเรยี นทีห่ นา้ มหาวทิ ยาลัย และผ่านเว็บไซต์ ส่วนอีก 1 รายมีเกรดเฉลี่ยภาคการศกึ ษาแรกไม่ถึง 2.00 จึงได้ตดิ ตามเพอ่ื ใหค้ าแนะนาเรือ่ งการเรยี น แต่นักศกึ ษาได้ตัดสินใจไม่เรียนต่อด้วยเหตุผลวา่ จะตอ้ งการศึกษาตอ่ สาขาพลศึกษา 9

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้จัดให้นกั ศึกษาประเมินอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาด้วยคาถาม 8ข้อ พบว่านกั ศึกษาได้ประเมนิ คะแนนเท่ากบั 4.09 ดังรายละเอียด บทบาทดา้ นอาจารย์นเิ ทศการฝึกงาน หลักสตู รบรหิ ารธุรกจิ มีรายวชิ า 441-300 Practical Training ในภาคการศึกษา 1/2560หลักสตู รจึงจดั ปฐมนิเทศนกั ศึกษาเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกฝึกงาน และลงพื้นที่นิเทศนกั ศกึ ษาระหวา่ งฝึกงานในสถานประกอบการ ใหค้ าปรึกษากรณีนกั ศกึ ษามีปญั หาระหว่างการฝึกงานและประเมินผลการฝกึ งานของนกั ศกึ ษา 10

การปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาฝกึ งานการนเิ ทศนกั ศึกษาฝึกงานส่วนท่ี 4 สมรรถนะและผลสัมฤทธด์ิ ้านการสอนสมรรถนะด้านการสอนสะทอ้ นไดจ้ ากผลประเมินของหัวหน้าภาควิชา ประธานหลักสูตร และเพือ่ นรว่ มงาน ซ่งึ ปกี ารศึกษา 2560 มีผลประเมินเฉล่ียเท่ากับ 3.67 จากคะแนนเต็ม 4 คะแนนรายละเอียดดังนี้ หวั ขอ้ ประเมิน หวั หนา้ ประธาน เพ่อื น คะแนน ภาควิชา หลักสตู ร อาจารย์ เฉลี่ย1. รูปแบบ และความชัดเจนของแผนการสอน 4 3 4 3.672. แผนการสอนครอบคลุมการนาไปประยกุ ต์ใช้ 4 4 4 4.003. ความคาดหวังต่อการเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น 3 4 4 3.674. การจัดกระบวนการเรียนรูท้ ่เี นน้ การมสี ่วนรว่ มของผู้เรียน 4 4 4 4.00 11

หวั ขอ้ ประเมิน หัวหน้า ประธาน เพือ่ น คะแนน ภาควิชา หลกั สูตร อาจารย์ เฉลีย่5. ทกั ษะการสอน6. การนาเสนอและบคุ ลิกภาพ 3 3 3 3.007. การสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมพี ฤติกรรมทเ่ี หมาะสม รวมถึงการให้ 4 4 4 4.00 4 4 3 3.67 เกียรติผเู้ รียน8. การประเมินผลระหวา่ งการสอน และการให้ขอ้ มลู 4 3 4 3.67 ป้อนกลบั 4 3 4 3.679.การดาเนินการตามแผนการสอน 4 3 3 3.3310.การประเมินตนเองหลงั การสอน 3.80 3.50 3.70 3.67คะแนนเฉลี่ยรวม ขณะเดียวกันผลประเมินการสอนโดยนักศึกษาในรายวิชา 441-423 ภาคการศกึ ษา 1/2560 มีรายละเอียดดงั น้ี แบบประเมนิ การสอนของอาจารย์รายวชิ า 441-423 Welfare Management and กลมุ่ ท่ี 01Social Insuranceภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 อ.กันยปรณิ ทองสามสีรอบการประเมนิ ครั้งที่ 1 จานวนผู้ประเมิน 45/ 90 คิดเป็น 50.00%ขอ้ รายการประเมิน Mean SDดา้ นความรู้ 1 อาจารย์ผู้สอนมคี วามรู้ ความเช่ียวชาญในเน้อื หาท่สี อน 4.29 0.69 2 อาจารย์ผู้สอนใหค้ าปรกึ ษา และแนะนาแหล่งเรียนร้เู พม่ิ เติม 4.27 0.68 3 อาจารยผ์ ู้สอนมีการบูรณาการเนื้อหาในรายวิชากบั ศาสตรอ์ ืน่ ๆ และ การนาไปใชใ้ นชีวิตจริง 4.22 0.66คุณลักษณะของผูส้ อน 4 อาจารยผ์ ู้สอนรับฟังความคดิ เหน็ ของผ้เู รยี น 4.33 0.70 5 อาจารย์ผสู้ อนมบี ุคลกิ ภาพเหมาะสม 4.31 0.72 12

ขอ้ รายการประเมิน Mean SD 6 อาจารยผ์ ู้สอนมคี วามตรงตอ่ เวลา 4.49 0.65ทักษะและเทคนคิ การจดั การเรยี นรู้ 7 อาจารยผ์ ู้สอนใช้เทคนิควิธกี ารเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย นา่ สนใจ 4.13 0.72 8 อาจารย์ผู้สอนมกี ารสง่ เสริมทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ การแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ 4.31 0.72 9 อาจารย์ผู้สอนใช้สอื่ และเทคโนโลยีท่ีส่งเสริมการเรยี นรู้ 4.24 0.7610 อาจารย์ผู้สอนใช้วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลท่หี ลากหลายเหมาะสมกับเนอ้ื หาและผู้เรยี น 4.27 0.6511 อาจารยผ์ ู้สอนมีการสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมทด่ี งี าม 4.33 0.79 4.29 0.71 รวม แบบประเมินการสอนของอาจารย์รายวชิ า 441-423 Welfare Management and Social Insurance กลมุ่ ที่ 01ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 อ.กันยปริณ ทองสามสีรอบการประเมินคร้ังที่ 1 จานวนผ้ปู ระเมนิ 1/ 90 คิดเป็น 1.11%ขอ้ รายการประเมิน1 ความรู้ ความสามารถของอาจารยผ์ ู้สอน  มคี วามรู้ที่รอบด้าน2 คุณลักษณะของอาจารยผ์ สู้ อน  เปน็ ท่ีปรึกษา3 ดา้ นทกั ษะและเทคนิคการจดั การเรยี นรูข้ องอาจารย์ผู้สอน  ใช้เทคนคิ การสอนที่เขา้ ใจง่าย 13

ผลประเมนิ การสอนรายวชิ า 441-422 ภาคการศึกษา 1/2560 โดยนักศกึ ษา แบบประเมนิ การสอนของอาจารย์รายวชิ า 441-222 Welfare Management and Social Insurance กลุ่มท่ี 01ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2560รอบการประเมินครัง้ ที่ 1 อ.กันยปริณ ทองสามสี จานวนผู้ประเมนิ 31/ 53 คิดเปน็ 58.49%ข้อ รายการประเมนิ Mean SDด้านความรู้1 อาจารยผ์ สู้ อนมีความรู้ ความเช่ียวชาญในเนอื้ หาทส่ี อน 4.42 0.662 อาจารย์ผสู้ อนใหค้ าปรกึ ษา และแนะนาแหล่งเรยี นรู้เพิม่ เติม 4.23 0.753 อาจารยผ์ ้สู อนมีการบูรณาการเน้ือหาในรายวชิ ากบั ศาสตรอ์ ื่น ๆ และ การนาไปใช้ในชีวิตจริง 4.42 0.75คณุ ลักษณะของผู้สอน4 อาจารย์ผู้สอนรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้เรยี น 4.26 0.675 อาจารยผ์ สู้ อนมบี คุ ลกิ ภาพเหมาะสม 4.32 0.746 อาจารยผ์ สู้ อนมคี วามตรงต่อเวลา 4.45 0.66ทกั ษะและเทคนิคการจัดการเรียนรู้7 อาจารยผ์ ู้สอนใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารเรียนร้ทู ่ีหลากหลาย นา่ สนใจ 4.45 0.668 อาจารย์ผสู้ อนมกี ารสง่ เสรมิ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ 4.35 0.609 อาจารย์ผสู้ อนใช้สอื่ และเทคโนโลยที ่สี ง่ เสริมการเรียนรู้ 4.35 0.6510 อาจารย์ผู้สอนใช้วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลท่หี ลากหลายเหมาะสมกับเน้อื หาและผู้เรียน 4.26 0.7211 อาจารย์ผู้สอนมีการสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มทดี่ ีงาม 4.52 0.62 4.37 0.69 รวม 14

แบบประเมินการสอนของอาจารย์รายวชิ า 441-222 Welfare Management and Social Insurance กลุม่ ท่ี 01ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 อ.กันยปรณิ ทองสามสีรอบการประเมนิ ครง้ั ท่ี 1 จานวนผ้ปู ระเมนิ 1/ 53 คิดเป็น 1.89%ข้อ รายการประเมิน1 ความรู้ ความสามารถของอาจารย์ผ้สู อน  ดมี าก2 คุณลักษณะของอาจารย์ผู้สอน  ใจดี3 ด้านทกั ษะและเทคนิคการจดั การเรยี นรูข้ องอาจารย์ผ้สู อน  ดีมากการวัดและประเมินผลการเรียนของผู้เรยี นรายวิชา 441-222 พบว่านักศึกษามีผลการเรียนระดบั C ถงึ A ซงึ่ ถือวา่ ผู้เรยี นมสี ัมฤทธิผลตามทีผ่ ้สู อนมุ่งหวงั สว่ นรายวชิ า 441-423 พบว่านักศึกษาสว่ นใหญม่ ผี ลการเรยี นระดบั C ถงึ A เชน่ กัน หากแตม่ ผี เู้ รียนบางสว่ นที่ส่งงานไม่ครบ/ไม่มีส่วนร่วมกจิ กรรมในชั้นเรียน ซงึ่ ผ้สู อน/เพือ่ นรว่ มชัน้ เรยี นไม่สามารถติดต่อผู้เรียนได้ ทาให้ขาดคะแนนงานบางสว่ น จงึ มผี ู้เรยี นร้อยละ 3.33 มผี ลการเรยี นระดบั D+ สว่ นนักศึกษาที่มผี ลการเรียนระดับ E น้ันเป็นนักศกึ ษาวิชาโทบรหิ ารธุรกิจ เป็นนักศึกษาต่างคณะท่ีมีปัญหาสุขภาพไม่สามารถเข้าเรียน/กจิ กรรมในชนั้ เรียนได้ และได้ลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ า 441-423 เป็นคร้งั ทีส่ อง ผสู้ อนได้มีโอกาสพบนักศกึ ษาคนดงั กลา่ วหนึง่ ครงั้ ขณะคมุ สอบกลางภาคในรายวิชาอนื่ ซ่ึงผู้สอนได้แนะนาให้ถอนรายวิชาน้กี ่อนเพื่อกลบั ไปรักษาสุขภาพ แตผ่ ู้เรยี นไม่ได้ถอนรายวิชาดังกล่าวจึงไม่มีคะแนนเก็บและคะแนนสอบ รายละเอยี ดดังตารางเกรด ชว่ งคะแนน วชิ า 441-423 วิชา 441-222 จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ A 80 คะแนนข้นึ ไป 18 20.00 10 18.87 B+ 75-79 คะแนน 14 15.56 12 22.64 B 70-74 คะแนน 23 25.56 14 26.42 15

เกรด ช่วงคะแนน วชิ า 441-423 วชิ า 441-222C+ 65-69 คะแนน 24 26.67 10 18.87 C 60-64 คะแนน 7 7.78 7 13.21D+ 55-59 คะแนน 3 3.33 -- D 50-54 คะแนน -- -- E ต่ากวา่ 50 คะแนน 1 1.11 --รวม 90 100.00 53 100.00กิจกรรมการเรยี นการสอนอ่นื ๆ นานกั ศกึ ษาเขา้ ร่วมนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ ในงานการประชุมทางวิชาการระดับ ป ริ ญ ญ า ต รี ด้ า น ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ณ ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วันท่ี 7 เมษายน 2560 ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมใน รายวิชา 441-411 Business Research Methodology และ 441-471 Research in Business นานักศกึ ษาไปทัศนศึกษาดูงานในสถานประกอบการ บริษัทเบญจพรแลนด์แอนด์เฮาส์ อ.เมือง จ.สงขลา ในรายวิชา 441-422 Corporate Social Responsibility วันท่ี 4 เมษายน 2561 16

 นานกั ศึกษาไปทศั นศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าจะนะ อ.จะนะ จ.สงขลา ในรายวชิ า 441-422 Corporate Social Responsibility วันที่ 4 เมษายน 2561 17

ส่วนที่ 5 การเพ่มิ พนู ประสบการณ์/การพฒั นาตนเองดา้ นวิชาชีพการศึกษา  นาเสนอผลงานวิจยั แบบบรรยายเรือ่ ง ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรู้เรื่องการป้องกันการลอกเลียนวรรณกรรมด้วยเกมออนไลน์ในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ในการประชุมวชิ าการระดับชาติวลยั ลกั ษณ์วจิ ัย ครั้งที่ 10ณ มหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ์ วันที่ 27-28 มนี าคม 2561  นาเสนอผลงานวจิ ยั แบบโปสเตอร์เร่ือง ความไมส่ อดคล้องของการศกึ ษาต่อตลาดแรงงานในตาแหน่งนักวิชาการพฒั นาชมุ ชนระดบั ปฏิบตั ิการ (พฒั นากร) พ.ศ.2560 ในท่ีประชุม The 6th PSUEducation Conference \"Higher Education for Digital Citizenship towards Thailand 4.0\"ระหว่างวนั ท่ี 19-20 ธันวาคม 2560 ณ หอ้ ง Conference Hall ศูนยป์ ระชมุ นานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 18

 เข้าร่วมประชุมThe 6th PSU Education Conference \"Higher Education for DigitalCitizenship towards Thailand 4.0\" ระหวา่ งวันท่ี 19-20 ธันวาคม 2560 ณ ห้อง ConferenceHall ศนู ย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสริ ิราชสมบตั ิ 60 ปี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์  เข้าร่วมอบรม การเขียน Teaching Portfolio สาหรับ PSU-TPSF รุ่นท่ี 6 วันที่ 7กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชมุ 210 สานกั งานอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์  นาเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยายเรื่อง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในรายวชิ าระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ในการประชุมวชิ าการระดับชาตมิ หาวิทยาลยั ทักษณิ คร้ังท่ี 27 ประจาปี2560 และการประชุมวิชาการระดับชาตดิ า้ นบริหารธุรกจิ และเศรษฐศาสตร์ ครั้งท่ี 3 ระหว่างวันท่ี 3-4 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมบพี ี สมิหลา บชี อาเภอเมอื ง จังหวัดสงขลา  นาเสนอผลงานวิจยั แบบบรรยายเร่ือง อิทธิพลค่ันกลางของเจตนาเชิงพฤติกรรมท่ีมีต่อความสมั พันธ์ระหวา่ ง การรับรคู้ วามสามารถในการควบคมุ พฤติกรรมกับพฤติกรรมไม่เหมาะสมทางวิชาการ ในที่ประชุม The 4th PSU Education Conference “Engaging Students to FutureReady Graduates\" ระหวา่ งวันที่ 17-18 ธันวาคม 2558 ณ ห้อง Conference Hall ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบตั ิ 60 ปี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์  เข้าร่วมประชุม The 4th PSU Education Conference “Engaging Students toFuture Ready Graduates\" ระหว่างวนั ท่ี 17-18 ธันวาคม 2558 ณ ห้อง Conference Hall ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสริ ริ าชสมบตั ิ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 19

สว่ นที่ 6 การมสี ่วนร่วมในพันธกจิ /ภารกจิ ของคณะหรอื มหาวิทยาลยั ด้านการเรียนการสอน  กรรมการประเมินคุณภาพภายในหลักสตู รภาษาจีน คณะศลิ ปศาสตร์ ประจาปกี ารศึกษา2559 ตามคาสัง่ คณะศลิ ปศาสตร์ ที่ 134/2560 (ประเมินคณุ ภาพฯวันท่ี 25 ก.ย. 2560)  คณะกรรมการสภาอาจารยว์ ิทยาเขตปตั ตานี ตามคาส่ังมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่50326/2560  อาจารยท์ ่ปี รกึ ษานกั ศึกษาหลักสตู รบรหิ ารธุรกิจชนั้ ปีที่ 1 ตามคาสั่งมหาวิทยาลัยสงขลา-นครนิ ทร์ ที่ 50284/2560 เรื่องแตง่ ต้งั อาจารยท์ ่ีปรกึ ษานกั ศกึ ษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ปีการศกึ ษา 2560  กรรมการสอบสัมภาษณโ์ ครงการคัดเลือกฯ รอบพิเศษและโครงการทุนอุดมศึกษา ของหลกั สูตรบริหารธุรกจิ ตามบันทกึ ขอ้ ความที่ มอ 424/510  กรรมการคัดเลือกทุนการศึกษาโครงกา รศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วทิ ยาเขตปตั ตานี ปีการศึกษา 2560 ตามบันทึกข้อความท่ี มอ 404/ว 061  ผู้ท ร ง คุณ วุ ฒิ พิจ า ร ณา บ ท คว า ม เพื่ อ ตี พิ มพ์ ใ น วา ร ส า ร ส า นัก วิ ท ยบ ริ ก า รมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (TCI G.1)  กรรมการดาเนินงาน โครงการจัดกิจกรรม ม.อ.วิชาการ ประจาปี 2560 หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจ ตามคาสง่ั คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ท่ี 053/2560  ผู้ทรงคุณวุฒิพิจ ารณา โครงการวิจัย และเคร่ืองมือวิจัยของ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รว่ มกิจกรรมเปิดบ้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ Signature Taste by HUSO วันท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 ณ คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตรม์ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยา เขตปัตตานี 20

ส่วนที่ 7 เกียรตยิ ศ รางวลั และการได้รบั การยอมรบั ระดบั องคก์ ร ภูมภิ าค ชาติ หรือนานาชาติ  ได้รับเชิญเป็นวิทยากร ในงาน ประชุมวิชากา รสุราร ะดับชา ติครั้งที่ 9 วันท่ี 24-25พฤศจิกายน 2559 21

22

 ไดร้ ับเชญิ เปน็ วทิ ยากรในกจิ กรรมปรบั ความรู้พนื้ ฐานนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ มหาวิทยาลัย ราชภฎั สงขลา ประจาปีการศกึ ษา 2559 23

 การนาเสนอผลงานวิจัยท้ังระดบั ชาติและนานาชาติ รางวัลอาจารย์ตัวอยา่ งคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ประจาปกี ารศกึ ษา 2559 24

25

 รางวัลบทความวจิ ยั ดเี ดน่ ระดับชาติ 26

27

 รางวลั บุคลากรดีเดน่ ประเภทอาจารย์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ประจาปี งบประมาณ 2560 ผทู้ รงคุณวุฒิพจิ ารณาเครอ่ื งมือวิจัยของบัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา 28

ส่วนท่ี 8 การสะทอ้ นประสบการณ์ และการวางแผนในอนาคต โลกปัจจุบันได้เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว นกั คิดในแวดวงตา่ งๆ ของโลกและไทยต่างให้ความสนใจกับสภาพสังคมเปน็ อยา่ งยงิ่ นกั คิดท้ังหลายเรียกสังคมของมนุษยชาติในอนาคตในชื่อที่แตกต่างกนั อลั วิน ทอฟฟเลอร์ เรยี กว่ายคุ คล่นื ลูกท่ีสาม (The third wave) โดยมองวา่ การเปล่ียนแปลงของกระแสโลกจะเป็น การเปลีย่ นแปลงท่ีมีลกั ษณะ “ท้งั โลก” (Global) ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นเศรษฐกิจ สังคมการเมือง ฯลฯ โดย มีเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั เป็นตวั ขบั เคลอ่ื น ในขณะท่ีอีริค ชมิดท์และ เจเรด โคเฮนเรยี กโลกยคุ นี้ว่า ยุคดิจิทัลเปล่ยี นโลก (The New Digital Age) นอกจากนีแ้ ล้ว ยงั ถูกเรียกในช่ืออื่นๆอีกวา่ เป็น “ยุคโลกไร้พรมแดน” (Borderless world) ยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) เรียกว่าเป็นยุค “หลังสังคมฐานความรู้ ” (Post knowledge – based society) ซ่ึงเป็นโลกที่เน้นเรื่องกลั ยาณมติ รมีการเปล่ียนรูปแบบของคนจากตา่ งคนต่างปิด ไปสู่ต่างคนต่างเปิด เป็นโลกท่ีก้าวข้ามสงั คมที่เน้นการแขง่ ขนั ไปสกู่ ารร่วมสร้างสรรค์ เป็นโลกท่ีภูมิปัญญาได้พัฒนาก้าวข้ามทรัพย์สินทางปัญญาสู่ภูมิปัญญามหาชน เช่น ยูทูบ (Youtube) หรือวิกิพีเดีย (Wikipedia) โลกหลังสังคมฐานความรู้ เปน็ โลกทเี่ ปลี่ยนวถิ ชี วี ติ มนุษยจ์ ากการพง่ึ พิง ไปสูค่ วามเป็นอิสระและการพึ่งพาอาศัยกัน การเปล่ียนแปลงดงั กลา่ วส่งผลให้ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงองคค์ วามรทู้ ท่ี นั สมัยจากทั่วโลก มีส่ือการเรียนรู้ที่เข้าใจง่ายเผยแพร่ทั่วไปบนโลกอนิ เทอร์เน็ต มีหนงั สือเรยี นจากทั่วโลกอยู่บนโลกออนไ ลน์ดังนนั้ ผสู้ อนจาเปน็ ต้องค้นควา้ และเขา้ ถึงแหล่งความรูใ้ หม่ตลอดเวลาเพ่ือช้ีแนะแก่นักศึกษาในการเลือกสอ่ื ทม่ี ีเนื้อหาเหมาะสมตอ่ การเรียนรู้ รวมทัง้ พัฒนาส่อื การเรียนรู้แต่ละรายวิชาให้น่าสนใจ นาเทคโนโลยมี าใช้อยา่ งเหมาะสม เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนเขา้ ถึงสอ่ื การเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา ขณะเดียวกันผสู้ อนตอ้ งใช้เวลาทถ่ี ูกกาหนดไว้ในตารางเรียนให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดดว้ ยการเสริมสร้างประสบการณ์จริงในส่วนท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั รายวชิ านน้ั ด้วยการเชญิ ผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นมาบรรยาย แลกเปลี่ยนประสบการณก์ ับนกั ศกึ ษา นาเสนอปัญหาที่พบในการปฏิ บัติงานจริง และวิธีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม และฝึกทักษะปฏบิ ัตเิ พือ่ ให้ผู้เรียนปฏิบัตไิ ด้ดว้ ยตนเองในทุกรายวิชา เช่น รายวิชาการจัดสวสั ดิการและการประกันสงั คม ผู้เรียนตอ้ งสามารถออกแบบสารวจความตอ้ งการด้านสวัสดิการของพนกั งานในองคก์ รได้ สามารถอธิบายสวัสดิการที่กฎหมายบังคับใช้แก่สถานประกอบการได้ ให้คาแนะนาถงึ การใชส้ ทิ ธิประกนั สงั คม สิทธิขา้ ราชการได้ ซ่งึ ผู้สอนต้องจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริงเพ่ือสะท้อนไดว้ า่ ผูเ้ รียนเขา้ ใจและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผอู้ ื่นเข้าใจในเน้ือหาท่ีเรียนได้อย่างถูกตอ้ ง 29

ภาคผนวกภาคผนวก 1 แบบสมัครขอรบั รางวลั การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาเขตปัตตานี ปกี ารศกึ ษา2560 ปกี ารศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานีได้ ได้ประกาศรับสมัครขอรบั รางวลั การจดั การเรยี นการสอน จึงได้เสนอเรื่อง การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศนู ย์กลางรายวิชาระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางธรุ กิจ หลกั สตู รบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ รายละเอียดดังนี้ แบบสมัครขอรบั รางวลั การจดั การเรียนการสอนหมวดวิชาเฉพาะหรือ หมวดวชิ าเลอื กเสรี o วิชาแกน o วิชาพื้นฐานคณะ  วิชาพื้นฐานวชิ าเอก o วิชาเอก/วิชาโท1. ชื่อการจดั การเรยี นการสอนท่ีเสนอ การจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทา งธุรกิจ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์2. ช่ือคณะ/หนว่ ยงาน คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์3. คณะทางานพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน (กรณสี อนเป็นทมี ) หรือผ้นู าเสนอ ดร.กันยปริณทองสามสี4.การประเมนิ ปญั หา/ความเสี่ยง (Assessment) พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 ทก่ี าหนดแนวทางการปฏิรูปการศึกษาโดยมุ่งใหค้ วามสาคัญกับผู้เรียนเป็นหลัก เพื่อเปน็ การเตรียมการรองรบั กระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกในดา้ นเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ท้ังน้ีได้ให้ความสาคัญสูงสุดในการปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง เพื่อให้ผู้เรยี นได้พฒั นาเตม็ ศกั ยภาพ สามารถเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง และรู้จกั แสวงหาความรู้ไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต ผนวกกบั แนวนโยบายการจัดการเรียนการสอนตามแผนยทุ ธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา-นครนิ ทร์ พ.ศ.2558-2561 และกรอบมาตรฐานสมรรถนะอา จารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( PSU Teaching Professional StandardsFramework: PSU-TPSF) มุง่ ให้ผูส้ อนจดั การเรียนการสอนเชงิ รุกในทุกรายวิชา (Active Learning)แทนการบรรยายซ่ึงเปน็ การสอนแบบดง้ั เดมิ (Passive Learning) ดงั นั้น การจัดการเรยี นการสอนในรายวิชา 441-411 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ ( Business Research Methodology) จึงมุ่งใช้กระบวนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั 30

รายวชิ า 441-411 ระเบียบวิธีวจิ ัยทางธรุ กิจเปน็ วชิ าบงั คบั ทางธุรกจิ ในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑติ หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2553 เปดิ สอนสาหรับนกั ศึกษาช้นั ปที ่ี 4 มุ่งให้ความรู้เกย่ี วกับระเบียบวิธีวจิ ัยเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ กระบวนการวจิ ัย และการวางแผนวิจัยแบบต่างๆ การสร้างกรอบความคิดในการวจิ ยั การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล ตลอดจนการบริหารโครงการวจิ ัย นอกจากน้ี การจัดการเรียนการสอนรายวิชาน้ียังต้องสอดคล้องกับปรัชญาของหลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ ทมี่ ุง่ ผลิตบณั ฑิตใหม้ ีความรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรมนษุ ย์และองคก์ าร เพ่อื ใหส้ ามารถดาเนินการทางธรุ กิจอย่างมีประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานความรู้ความเข้าใจมติ ิทางสงั คมและความหลากหลายทางวฒั นธรรม จงึ ได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้ผเู้ รียนไดม้ ีสว่ นร่วมในการเขยี นขอ้ เสนอโครงการวิจยั การทาวิจัย และการเขียนรายงานวิจัยเพ่ือการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์และองคก์ าร ปัญหาทเ่ี กิดข้นึ จากการเรยี นการสอนรายวิชานีเ้ กิดจากลกั ษณะของเนื้อหาวิชาท่ีสลับซับซ้อนเนอื่ งจากกระบวนการวิจัยมีพัฒนาการมาจากการแสวงหาความรู้ความจริงโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซ่งึ ได้นามาประยุกต์ใชก้ ับการศึกษาสงั คมมนุษยใ์ นเวลาต่อมา อีกท้ังความเชื่อเกี่ยวกับการค้นหาความรคู้ วามจริงดว้ ยกระบวนทศั น์การวจิ ยั ตา่ งๆ ยงั ส่งผลถงึ ระเบยี บวิธีการวิจัยและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู ทีห่ ลากหลายเกดิ ขึ้น นกั ศึกษาท่เี รียนรายวิชานี้จงึ จาเปน็ ตอ้ งได้รับปูพ้ืนฐานวิธีการคดิ แบบเป็นวิทยาศาสตร์คือ การระบุประเด็นปญั หาและการกล่ันกรองเพื่อเลือกปัญหาทาการวิจัยท่ีเกย่ี วข้องกบั การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การออกแบบวจิ ัยที่เหมาะสมเพ่ือให้ได้คาตอบของประเด็นปญั หาการวจิ ัย การต้ังสมมตุ ฐิ านและการทดสอบสมมุติฐาน การวิเคราะห์ข้อมูล และการรายงานผลการวจิ ัย ซึง่ หากนักศึกษาไม่เขา้ ใจกระบวนการดงั กล่าวจะทาให้เกิดความเบื่อหน่าย ไม่เกิดความกระตอื รือร้นในการเรียน ไมย่ อมลงมือทาวจิ ัยดว้ ยตนเองแต่แก้ปัญหาโดยการลอกผลงานวิจัยของผู้อ่ืนมาส่งเป็นการบ้าน และผลลัพธ์สุดท้ายคือผู้เรียนไม่เข้าใจกระบวนการวิจัย ซึ่งถือว่าไม่บรร ลุวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนรูใ้ นรายวิชานี้ รูปแบบการเรียน การสอนรายวิชา 441-411 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุร กิจ ของหลักสูตรบริหารธุรกิจ จ ะเปิดโอกาสให้อาจารย์ทุกคน ในสาขาได้สอน เนื่องจากเป็นวิชาหลักทางกา รบริหารธุรกิจและตอ้ งการใหน้ กั ศึกษาไดล้ งมือปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัยทกุ คน โดยกาหนดรับจานวนนักศึกษาในแตล่ ะกลมุ่ ผู้สอนในจานวนท่ีเทา่ ๆ กัน ดฉิ นั เร่มิ รบั ผิดชอบรายวิชาดังกล่าวคร้ังแรกในปีการศึกษา2558 โดยมงุ่ สอนแบบบรรยายในทุกหัวข้อตามทก่ี าหนดไว้ใน มคอ 3 จากน้ันมอบหมายให้ผู้เรียนพฒั นาโครงการวจิ ยั (Proposal) ตามหัวข้อที่ตนเองสนใจแลว้ จดั ส่งตามกาหนดเวลา ปัญหาท่ีพบคือนักศกึ ษาไมส่ ามารถระบหุ ัวขอ้ ที่ตนเองสนใจได้ จึงทาให้ผู้เรียนต้งั คาถามกบั ผู้สอนว่าควรทาวิจัยเรื่องอะไรดี ทาวจิ ัยไปทาไม ซงึ่ ปัญหาดงั กล่าวเกิดจากผูเ้ รยี นไมส่ ามารถเชื่อมโยงเนือ้ หาที่เรียนมาตลอดช้ันปีท่ี 1-3 กับประเด็นที่ตนเองสนใจเปน็ พเิ ศษ หรือประเดน็ ปัญหาดา้ นการจัดการทรัพยากรมนุษย์อันปรากฏผา่ นสอ่ื หรือข้อสะท้อนผ่านเวทีต่างๆ ได้ จุดอ่อนของการสอนในปีดังกล่าวคือผู้สอนได้มอบหมายงานเม่ือทาการสอนแล้วเสร็จในทุกหัวข้อแล้ว ทาให้ไม่สามาร ถติดตามการเขียน 31

โครงการวจิ ยั ไดใ้ นทกุ ระบวนการ เมือ่ ผเู้ รียนจดั สง่ โครงการวิจยั 3 บทต่อผู้สอน พบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่นางานวจิ ยั ของผู้อื่นที่จัดทาเสร็จสมบูรณ์ มาปรับเป็นงานวิจัยของตนเอง โดยปรับเปลี่ยนชว่ งเวลารวบรวมขอ้ มลู เปลี่ยนกลมุ่ ประชากร/กลุ่มตวั อยา่ ง การจัดการเรียนการสอนในรายวิชานี้ปีแรกจึงสรุปได้ว่าแม้ผู้สอนสามารถบรรยายเนื้อหาได้ครบถ้วน แต่ผู้เรียนยังไม่สามารถพัฒนาโครงการวิจัยจากประเด็นปัญหาหรือหัวข้อท่ีตนเองสนใจได้ ถือว่าการจัดการเรียนการสอนไม่บรรลุผลลัพธ์การเรยี นรขู้ องรายวิชาดังกลา่ ว จงึ นาไปสู่การวางแผนแก้ไขปญั หาในปีการศึกษา 2559-25605. เปา้ หมาย/วัตถปุ ระสงค์ของการจัดการเรียนการสอนที่นาเสนอ เป้าหมายการจัดการเรียนการสอน 441-411 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ ของหลักสูตรบรหิ ารธุรกิจบณั ฑิตม่งุ ใหน้ กั ศึกษาไดเ้ ข้าใจถึงหลกั การวจิ ยั ธรุ กจิ ระเบยี บวิธีวิจัย การกาหนดปัญหาการออกแบบการวิจยั การรวบรวมข้อมลู และการนาเสนอผลการวิจยั โดยผลลพั ธ์การเรียนรู้ท่ีสาคัญ(Learning Outcome) คือนักศึกษาสามารถจัดทาโครงร่างการวจิ ัยไดถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบวิธีการวิจัยผู้สอนได้รับผดิ ชอบรายวชิ าน้ีครง้ั แรกในปกี ารศึกษา 2558 พบว่านักศึกษาไม่เขา้ ใจการออกแบบวิจัยมกี ารลอกงานวิจัยอ่นื มาสง่ ดงั นน้ั ในปกี ารศกึ ษา 2559 ผสู้ อนจึงวางแผนการสอนใหม่โดยกาหนดหวั ขอ้ วจิ ัยกว้างๆ แก่ผู้เรียนก่อนเลือกกลุ่มลงทะเบียน ปรับรูปแบบการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางโดยเน้นการฝกึ ปฏิบัตใิ นทกุ หัวข้อการสอนโดยแบง่ ผเู้ รียนเป็นกลุม่ ละ 3 คน และจัดทาวิจัยในชั้นเรยี นเพื่อเปรียบเทยี บสัมฤทธิผลกอ่ นและหลังเรยี นในหัวข้อการออกแบบการวิจัย ผลลัพธ์การเรยี นรูจ้ งึ สงู ข้ึนกว่าปีการศกึ ษา 2558 โดยนกั ศึกษาท้งั 6 กลมุ่ สามารถทาวิจยั ได้ถกู ต้องตามระเบียบวธิ ีการวจิ ยั และแลว้ เสรจ็ 5 บท ต่อมาในปีการศกึ ษา 2560 ผ้สู อนไดพ้ ฒั นาการจัดการเรียนการสอนโดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนให้น้อยลงเป็นกลุ่มละ 2 คน เพื่อเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัตกิ ารวจิ ยั ทกุ ข้นั ตอน รบั ผิดชอบงานร่วมกนั ในปีการศึกษานี้จงึ มงี านวจิ ัยของนักศึกษาแล้วเสร็จ5 บท จานวน 8 กลุ่ม ส่วนผู้สอนได้จัดทาวิจัยในชั้นเรียนเก่ียวกับการป้องกันการลอกเลียนวรรณกรรมโดยใช้เกมออนไลน์มาให้นกั ศกึ ษาไดเ้ รยี นรเู้ พิ่มเติม ดังนัน้ การปรบั กระบวนการ เรียนการสอนทีเ่ น้นการฝกึ ปฏิบัตใิ นรายวิชาระเบียบวิธีการวิจัยส่งผลให้ผู้เรียนมีความเข้าใจอย่างแท้จริงสามารถทาวิจัยไดอ้ ยา่ งถกู ต้องโดยผูส้ อนคอยกระตุ้น ติดตาม ให้กาลังใจในทุกข้ันตอน ทาให้งานสามารถแล้วเสร็จภายในภาคการศึกษา สว่ นผูส้ อนก็มีการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยใช้การวจิ ยั ในชัน้ เรียน6. วิธีแก้ไข ปรบั ปรุง ออกแบบกระบวนการ (Intervention) 6.1 วธิ กี าร Approach และ Deploy จากการประเมินปัญหาท่เี กดิ ขึ้นในการจดั การเรยี นการสอนในปกี ารศึกษา 2558 นาไปสู่การกาหนดวธิ กี ารการแกไ้ ขปัญหาในปีการศึกษา 2559 ดว้ ยการนาเสนอให้กาหนดประเด็น/หัวข้อวิจัยที่ผู้สอนแตล่ ะกลุม่ สนใจ/ถนดั ต่อทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนได้คานึงถึงความสนใจของตนเองกอ่ นเลอื กลงทะเบยี นเรียนกับผู้สอนในแต่ละกลุ่ม และเป็นวิธีการกลั่นกรอง 32

ผู้เรียนเขา้ กลมุ่ เรยี นเบ้ืองตน้ ในปดี งั กลา่ วน้ีมนี กั ศึกษาลงทะเบยี นในกลุม่ ท่ดี ิฉันรับผิดชอบจานวน 18คน จากน้นั ดิฉันได้ประมวลปัญหาที่พบในการจดั การเรียนการสอนในปกี ารศกึ ษา 2558 และปรับกลยทุ ธ์การสอนเพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเข้าใจกระบวนการวจิ ยั ในทุกขั้นตอน โดยนาการสอนแบบฝึกปฏิบัติ ตามรปู แบบการสอนตามทฤษฎกี ารสบื เสาะหาความรู้เป็นกลุ่มของจอห์น ดิวอ้ี (John Dewey: GroupInvestigation Model) จดั กระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การปฏิบตั ิจริงในรูปแบบกลุม่ โดยการแบ่งนกั ศกึ ษาเป็นกล่มุ ๆ ละ 3 คน กาหนดโจทย์วจิ ยั ทท่ี างกลุ่มสนใจรว่ มกัน แล้วจดั การเรียนการสอนโดยใหผ้ ูเ้ รยี นรว่ มกันฝกึ ปฏบิ ตั ิการในทกุ ขั้นตอนของกระบวนการวิจัยตั้งแต่การเรียนในคาบแรก ท้ังนี้ดฉิ นั จะสอนเน้อื หาดว้ ยการบรรยายนา ใชผ้ ลงานวิจยั ของตนเองเป็นตวั อยา่ งในการจัดการเรียนการสอน เช่น การสอนเรื่องการเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปญั หาการวิจยั ผสู้ อนได้ยกตัวอย่างการเขยี นจากงานวจิ ัยเร่ือง “ความรนุ แรงและผลกระทบจากการดื่มสรุ า: ประมวลขา่ วในรอบ 10 ปี”ทน่ี าเสนออนั ตรายทเี่ กดิ ขนึ้ จากการดืม่ สุราดว้ ยข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก งานวิจัยในฐานข้อมูลนานาชาติ และงานวจิ ยั ในประเทศไทย และวธิ สี รุปความในยอ่ หนา้ สดุ ท้ายทชี่ ีใ้ ห้เหน็ ความจาเป็นของการทาวิจัยเรือ่ งนี้ หรอื การสอนในหัวข้อการทบทวนวรรณกรรมท่ีเน้นให้ผู้เรียนทบทวนวรรณกรรมแบบปรทิ ศั น์พรรณนา โดยผู้สอนได้นาเสนอถึงขอบเขตเน้ือหาท่ีจาเป็นต้องนาเสนอ วิธีการเข้าถึงแหลง่ ขอ้ มลู ฐานข้อมลู ระดบั นานาชาติและระดับชาติ รวมถึงการนาข้อมูลที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมมาเขียนเปน็ บทความปริทัศน์ หรือบทความวิชาการ โดยยกผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาตขิ องผสู้ อนเรือ่ ง “พฤติกรรมไม่เหมาะสมทางวิชาการ: รปู แบบ สาเหตุ ตัวแปร และแนวทางแก้ไข” จากนน้ั กระตนุ้ การมสี ว่ นร่วมของนักศึกษาด้วยการต้ังคาถามนาเพ่ือประเมินความรู้ความเข้าใจของผเู้ รียนเบ้ืองต้น หากผู้เรยี นมีความรใู้ นเร่อื งน้ันแล้วก็สามารถให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติได้ แต่หากผเู้ รียนไม่เคยรู้หรือยังไม่เข้าใจ ผสู้ อนก็ยงั คงมหี น้าท่ถี ่ายทอดความรใู้ นชว่ ง 1-2 คาบแรก หลังจากนนั้ จึงมอบหมายให้ผ้เู รียนแต่ละกล่มุ ฝกึ ปฏบิ ัติแล้วส่งผู้สอนกอ่ นการเรยี นในวันหยุด เพื่อผู้สอนจะได้ตรวจสอบความถูกต้องของงาน แล้วใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั ก่อนการเรยี นในหัวข้อถดั ไป อย่างไรกต็ าม การจดั การเรียนการสอนในแตล่ ะสัปดาห์แม้จะมีเนื้อหาต่อเน่ืองเชื่อมโยงกัน หากแตผ่ ูเ้ รียนจะเข้าใจวา่ การเรียนแตล่ ะสปั ดาห์เปน็ คนละหัวขอ้ จึงลงมือปฏบิ ัติการวิจัยในแต่ละหวั ขอ้ ท่ีไมเ่ ก่ียวขอ้ งกนั เช่น เม่ือเขียนความเปน็ มาของปญั หาการวจิ ัยแล้วเสร็จ กลับต้ังวั ตถุประสงค์การศึกษาทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกนั หรือตัง้ วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั ในหัวข้ออื่นๆ ดงั นัน้ ผสู้ อนจงึ จดั ทาวิจัยในช้ันเรียนเร่ือง “ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการออกแบบวิจัย สาหรับนกั ศกึ ษารายวชิ า 441-411 ระเบยี บวิธีวิจัยทางธุรกิจ” มีวัตถุประสงค์สาคัญเพอ่ื ให้ผ้เู รียนสามารถเช่อื มโยงการเขียนโครงร่าง/โครงการวิจัยในแต่ละหัวข้อได้ อันประกอบด้วยหัวข้อวิจัย (Research Topic) ปัญหาการวิจัย (Research Problems) ชื่อเร่ืองวิจัย (ResearchTitle) วัตถุปร ะสงค์การ วิจัย ( Research Objectives) และระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ ( ResearchMethodology) โดยการเปรยี บเทยี บคะแนนสัมฤทธิผลกอ่ นเรยี นและหลังเรียน ผลการศึกษา พบว่าวิธกี ารจดั การเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน เรือ่ งการออกแบบวิจัย ทาให้คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบ 33

หลังจัดการเรยี นร้มู ีคา่ สูงกวา่ คะแนนเฉลย่ี ของการทดสอบก่อนจัดการเรยี นรู้ อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ(p<0.05) และมีคะแนนเพม่ิ สัมพทั ธ์รอ้ ยละ 73.66 ผลลพั ธท์ ีไ่ ดจ้ ากการเรียนการสอนในปีการศกึ ษา 2559 พบวา่ นกั ศกึ ษาสามารถจดั ทาวิจัยแลว้ เสรจ็ ถกู ต้องตามระเบยี บวิธีวิจยั ทกุ กลมุ่ (รวม 6 กลุ่ม) และงานวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง “ผลการจดั การเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐานทมี่ ตี อ่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการออกแบบวิจัย สาหรับนกั ศึกษารายวิชา 441-411 ระเบยี บวิธีวิจยั ทางธรุ กิจ” พบว่าการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลางเร่ืองการออกแบบวิจัยทาให้ผ้เู รยี นมคี วามเข้าใจมากขึ้น ปกี ารศกึ ษา 2560 ผูส้ อนไดน้ าผลประเมนิ การจดั การเรยี นการสอนท้ังจากนักศึกษาและผู้สอนมาวางแผนปรบั รปู แบบการสอนมากข้ึน ทงั้ น้ี ผลลพั ธ์จากรแู บบการสอนแบบเนน้ ฝกึ ปฏิบัติในปีการศึกษา 2559 สง่ ผลใหผ้ เู้ รียนมคี วามเข้าใจในระเบียบวิธีวิจยั และสามารถทาวิจัยได้ดี จึงยั งคงใช้รปู แบบดังกล่าวเปน็ หลกั อย่างไรก็ตาม การแบง่ กลุ่มฝกึ ปฏบิ ัติกลุม่ ละ 3 คน ในปกี ารศึกษา 2559 มีนักศึกษาบางคนท่ีให้ความร่วมมอื กับกลุ่มระดบั น้อย เพราะเห็นว่าเพื่อนอีกสองคนในกลุ่มสามารถทางานไดโ้ ดยไมต่ อ้ งอาศยั ตนเอง แต่การวัดผลสัมฤทธ์โิ ดยใชผ้ ลงานของกลุ่มเป็น หลักทาให้เกิดความไมเ่ ปน็ ธรรม ดงั นั้น ในปกี ารศึกษา 2560 ผสู้ อนจึงยังคงเน้นการทางานเป็นกลุ่ม แต่แบ่งจานวนสมาชกิ น้อยลงใหเ้ หลือเพียง 2 คน เพือ่ จะได้ช่วยกันลงมือปฏิบัติร่วมกันทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันผูส้ อนได้วางแผนทาวจิ ัยในชั้นเรียนเรื่อง “ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้เร่ืองการป้องกันการลอกเลียนวรรณกรรมในการวิจัยทางธรุ กิจดว้ ยเกมออนไลนข์ องนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์” เพือ่ เสริมความรู้ความเข้าใจเรื่องการทาวิจัยทางธรุ กจิ โดยไม่ลอกเลยี นผลงาน การเขียนเรียบเรียงด้วยตนเอง การอ้ างอิงผลงานผู้อ่ืนอย่างถูกวิธีผลลัพธท์ ี่ไดจ้ ากการเรยี นการสอนในปีการศกึ ษา 2560 พบว่านกั ศกึ ษาสามารถจัดทาวิจัยแล้วเสร็จถกู ต้องตามระเบียบวธิ ีวจิ ยั ทุกกลมุ่ (รวม 8 กลมุ่ ) และมงี านวิจยั ในชน้ั เรียนจานวน 1 เร่ือง 6.2 งบประมาณที่ใช้ในการจดั โครงการ-กิจกรรม (ถ้าม)ี 1) ปีการศึกษา 2559 ได้รับทนุ สนบั สนุนการวิจัยเรอ่ื ง “ผลการจัดการเรียนร้โู ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐานทม่ี ตี อ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเรอ่ื งการออกแบบวิจัย สาหรับนักศึกษารายวิชา 441-411ระเบียบวิธวี ิจัยทางธุรกิจ” จากกองทุนวจิ ยั วิทยาเขตปัตตานี จานวน 20,000 บาท ส่วนนักศึกษาได้รับเงินสนบั สนนุ การวิจัยจากกองทุนวิจยั วิทยาเขตปตั ตานกี ลุม่ ละ 3,000 บาท จานวน 5 กลุ่ม (อีก1 กลุม่ ไมส่ ่งหลักฐาน) 2) ปีการศกึ ษา 2560 ได้รับทุนสนับสนนุ การวิจัยเรื่อง “ผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้เรื่องการป้องกันการลอกเลียนวรรณกรรมในการวจิ ยั ทางธุรกจิ ด้วยเกมออนไลนข์ องนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์” จากกองทุนวจิ ัยวิทยาเขตปัตตานีจานวน 12,000 บาท สว่ นนกั ศึกษาไดร้ ับเงินสนบั สนนุ การวิจยั จากกองทุนวิจัยวทิ ยาเขตปัตตานีกลุ่มละ 3,000 บาท จานวน 6 กลุ่ม (อีก 2 กลุ่มไม่ส่งหลกั ฐาน) 34

3) งบประมาณส่วนตัวของผู้สอนสนับสนุนการเดินทางลงพ้ืนท่ีรวบรวมข้อมูล และคา่ อาหารในการนัดพบปะนกั ศึกษานอกเวลา ประมาณภาคการศึกษาละ 6,000 บาท7. การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measure) แสดงระดบั แนวโนม้ ข้อมลู เชงิ เปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรอืเปรียบเทยี บกับหน่วยงานภายใน/ภายนอกประเดน็ ปกี ารศกึ ษา 2558 ปกี ารศึกษา 2559 ปีการศกึ ษา 25601) จานวนงานวจิ ัยในชั้นเรยี น 0112) จานวนผลงานวิจัยของนักศึกษาที่แลว้ เสร็จ 0 6 8(5 บท) (กลุม่ ละ 3 คน) (กลุม่ ละ 2 คน)3) ระดบั ความพงึ พอใจของนักศกึ ษา ไมส่ ามารถ 4.46 4.03 ตรวจสอบจาก (ผ้เู รยี นประเมิน (ผ้เู รียนประเมิน ระบบได้ 100%) 62.50%)8. การเรียนรู้ (Study/ Learning) 8.1 แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต 1) จากผลการวจิ ยั เรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรอื่ งการออกแบบวิจัย สาหรับนกั ศึกษารายวิชา 441-411 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจผู้สอนนาวธิ กี ารสอนเรอ่ื งการออกแบบวจิ ัย สาหรบั นกั ศึกษารายวิชา 441-411 ระเบียบวิธีวิจัยทางธรุ กิจ” พบวา่ การสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักศกึ ษาได้ฝึกปฏิบัติอออกแบบการวิจัยให้สอดคลอ้ งเชื่อมโยงระหว่างหวั ข้อวิจัย ปญั หาการวจิ ยั ช่อื เรื่องวจิ ยั วัตถุประสงคก์ ารวิจยั และระเบียบวธิ ีวจิ ยั นนั้ ทาใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถออกแบบวจิ ยั ไดถ้ ูกต้องมากขน้ึ ผ้สู อน จึงยังคงใช้รูปแบบการสอนน้ีต่อไป โดยกาหนดหัวข้อวจิ ยั ให้หลากหลายมากข้ึน เพ่ือผู้วิจัยสามารถออกแบบการวิจัยได้เองในอนาคตเมือ่ เข้าสู่งานประจา 2) ผลการวิจยั เรื่อง “ผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนร้เู รือ่ งการปอ้ งกนั การลอกเลียนวรรณกรรมในการวจิ ยั ทางธรุ กจิ ดว้ ยเกมออนไลนข์ องนักศกึ ษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์” พบว่านักศกึ ษามีความเขา้ ใจเร่ืองการลอกเลียนวรรณกรรมมากขึ้นและสามารถนาไปปฏบิ ตั ิในการทาวิจัยไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง มกี ารเรยี บเรียงรายงานด้วยภาษาของตนเองและทาอ้างอิงอย่างถูกต้อง อย่างไรก็ตาม เกมท่ีนักศึกษาเรียนรู้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นเกมของตา่ งประเทศทใ่ี ช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก ดังนัน้ ผ้สู อนจึงวางแผนพัฒนาเกมออนไลน์ท่ีเหมาะสมกับบรบิ ทประเทศไทยทม่ี ีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3) เนอื้ หาทใ่ี ช้สอนในชัน้ เรยี นอยใู่ นรูป Power Point โดยผู้สอนได้สร้างกลุ่มเพื่อส่ือสารกับผูเ้ รียนใน Facebook แลว้ แขวนไฟลเ์ หลา่ นก้ี อ่ นการจัดการเรียบการสอน ขณะเดียวกันผู้สอนคน้ หาบทความวชิ าการ ตารา เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษาอ่านประกอบด้วย อยา่ งไรกต็ าม สอื่ ในรูปแบบนี้ยังเน้นเนอื้ หาด้วยตัวอกั ษรเปน็ หลกั ผู้เรียนไมส่ ามารถสร้างปฏิสมั พันธก์ บั ส่อื ได้ ขา ดภาพประกอบที่ชัดเจน 35

ดังนน้ั การจดั เรียนการสอนในภาคการศึกษาหน้าผ้สู อนจะพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบวิดีโอ ท่ีมีตวั อยา่ งประกอบมากขึน้ และวางไวใ้ นสอื่ ออนไลนท์ ผี่ เู้ รยี นสามารถเขา้ ถึงได้ตลอดเวลา 4) การท่ีผู้สอนสามารถกระตุ้นผู้เรียนสรา้ งผลงานได้สงู กวา่ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ คือสามารถทางานวจิ ัยได้แล้วเสร็จอย่างถกู ต้องทงั้ 5 บทน้นั ส่ิงทีย่ งั ต้องทาต่อเน่ืองในกระบวนการวิจัยคือการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ซ่ึงไมส่ ามารถทาได้ให้ทันในภาคการศึกษาน้ี ดังนั้น ผู้สอนจึงวางแผนเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รกาหนดกจิ กรรมเสริมหลักสูตร หรือกา หนดรายวิชาต่อเนื่องเพื่อให้ผเู้ รยี นได้ออกไปนาเสนอผลงานวิจยั ของตนเองในเวทีต่างๆ 5) ผ้สู อนตอ้ งเข้ารับการอบรมเพือ่ เพิม่ พูนความรู้ดา้ นการวิจัยและลงมอื ทาวิจัยของตนเองอย่างต่อเนื่องทกุ ปี เนื่องจากองคค์ วามรดู้ า้ นการวิจัย นโยบายการพฒั นาประเทศ นโยบายการการให้ทุนสนบั สนุนของแตล่ ะแหลง่ ทนุ ความรเู้ ฉพาะทางทผี่ สู้ อนใหค้ วามสนใจมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาผู้สอนจงึ จาเปน็ ต้องพัฒนาตัวเองเพอ่ื นาความรทู้ ี่ทันสมยั มาถา่ ยทอดใหก้ ับนักศกึ ษาได้ 8.2 จดุ แขง็ (strength) หรือสิ่งทท่ี าได้ดใี นประเดน็ ทนี่ าเสนอ ผสู้ อนมีการประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนเป็นรายบุคคลและระดับชั้นเรียนในทุกสัปดาห์ และเมอื่ สิน้ สุดภาคการศกึ ษาจะมีการสรปุ ประเดน็ ปัญหาสาคญั ท่ีไม่สามารถทาให้การจัดการเรียนการสอนบรรลเุ ป้าหมายได้ จากนนั้ กาหนดวธิ กี ารแก้ไขปัญหาก่อนการเปิดภาคการศึกษา ซึ่งผสู้ อนได้นาเสนอประเดน็ ปญั หาและวิธีการแกไ้ ขปัญหาต่อท่ีประชุมคณะกรรมการประจาหลักสูตรและนามาเป็นแนวทางในการกาหนดแผนการสอน วิธกี ารจดั การเรยี นการสอน และวางแผนทาวิจัยในชนั้ เรยี นเพือ่ ค้นหาแนวทางทด่ี ีทจ่ี ะนาไปสผู่ ลสมั ฤทธิต์ ามแผนทีว่ างไว้ จากปัญหาท่ีผู้สอนพบในปีการศึกษา 2558 จงึ สามารถกาหนดวิธีการแก้ไขปัญหาด้วยการทาวิจัยในช้ันเรียน และเปลี่ยนกระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญด้วยวิธกี ารทหี่ ลากหลายทั้งการสอนท่ีเน้นการฝึกปฏิบัติ การใช้เกมออนไลน์ และการกระตุน้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองโดยผู้สอนช่วยชี้แนะแหล่งขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิ์ท่เี กิดข้ึนในปีการศกึ ษา 2559-2560 นักศึกษาทุกกล่มุ สามารถจัดทาวิจัยแล้วเสรจ็ ไดท้ กุ กระบวนการตามแผนการสอนทว่ี างไว้ นอกจากน้ีการท่ีผู้สอนได้ทาวิจัยของตนเองอย่างตอ่ เนอื่ งทาใหไ้ ด้ยกระดับความรู้ ตดิ ตามความก้าวหน้าด้านการวิจัยอย่างสม่าเสมอจึง สามารถชแี้ นะแนวทางแก่นักศกึ ษาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 8.3 กลยทุ ธห์ รือปจั จยั ทนี่ าไปสู่ความสาเร็จ 1) การจัดลาดบั ความสาคัญของรายวชิ าระเบียบวิธีวิจยั ทางธุรกิจเป็นลาดับต้นทั้งผู้สอนและผเู้ รียน โดยกาหนดเปน็ ขอ้ ตกลงรว่ มกนั ตัง้ แตค่ าบแรก เนอ่ื งจากในแต่ละภาคการศึกษา ผู้สอนจะได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบรายวิชาประมาณ 3-4 รายวิชา ส่วนผู้เรียนตอ้ งลงเบียนเรยี นประมาณ 7รายวิชา ดังนนั้ การเรยี นการสอนในรายวชิ าระเบยี บวิธวี จิ ยั ทางธุรกิจที่ผู้สอนออกแบบให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติในทกุ หนว่ ยการเรยี นนน้ั ส่งผลให้ผู้เรียนจะต้องแบ่งเวลานอกเหนือจากเวลาเรียนปกติไป 36

ทางานกล่มุ ตอ่ เพ่อื ใหแ้ ล้วเสร็จตามเป้าหมายทกุ สัปดาห์ แล้วจะต้องส่งผสู้ อนในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ขณะเดยี วกันผู้สอนก็ตอ้ งแบ่งเวลาในวันหยดุ หรือชว่ งเวลากลางคืนตรวจงานนักศึกษาทุกกลุ่มในทุกสัปดาห์เพ่อื ให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลับวา่ นักศึกษาควรปรบั ปรุงงานในส่วนใด และส่วนใดท่ีทาได้ดีแล้ว ซึ่งหากลุ่มใดทางานได้ดใี นหัวขอ้ ใด กจ็ ะมอบหมายให้ชว่ ยอธบิ าย/สอนงานให้เพ่อื นๆ กลุ่มอื่นด้วย (บางสปั ดาหผ์ สู้ อนตอ้ งตรวจงานกลุ่ม 2-3 ครั้ง เน่ืองจากนกั ศึกษาในกลมุ่ ทีข่ ยันทางานจะสง่ งานมากกว่า 1ครั้งต่อสปั ดาห์ โดยจะแกไ้ ขงานทนั ทที ผ่ี ู้สอนส่งกลบั ซง่ึ ผู้สอนกต็ ้องตรวจงานใหด้ ้วยเช่นกัน) ส่วนวิชาอื่นๆ ตอ้ งออกแบบการเรยี นการสอนทีต่ า่ งกนั ออกไป ไม่สามารถใช้เทคนิคการสอนแบบลงมือปฏิบัติได้เหมือนเช่นรายวชิ านี้ เพราะจะสง่ ผลต่อการบริหารจดั การเวลา 2) การใหก้ าลังใจแก่นักศกึ ษาใหเ้ ชื่อมนั่ ในความสามารถของตนเองในการทาวิจัย โดยยกตัวอย่างแนวปฏบิ ัตทิ ี่ดดี ้านการวิจัยของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี (ระดบั เดียวกบั ผ้เู รียน) ท่ีทาวิจัยแลว้ เสร็จ และในบางโอกาสได้เชิญนกั ศึกษาทไี่ ดร้ ับรางวัลจากการวิจัยมาเล่าถึงกระบวนการวิจัยที่ตนเองไดล้ งมอื ทาสาเร็จมาแลว้ และให้กาลังใจเพอ่ื นทเ่ี รยี นวชิ าน้ี 3) การสรา้ งความสมั พนั ธไ์ ม่เปน็ ทางการกับนักศึกษา เปดิ โอกาสให้นักศึกษาได้โทรศั พท์หรือสง่ ขอ้ ความสอบถามถงึ ปัญหาการลงมอื ทาวจิ ยั ไดต้ ลอดเวลา ซึ่งหากนักศึกษาไม่สามารถแก้ไขปัญหาหรอื ทาความเข้าใจไดด้ ้วยตนเอง ผู้สอนต้องลงมือสอนนกั ศกึ ษาทันที เพื่อให้งานของนักศึกษาดาเนนิ ตอ่ เนือ่ งกนั ไปได้ทันที ไม่หยุดชะงัก เพราะหากผ้สู อนไม่สามารถช้ีแนะหรือแก้ไข ปัญหานั้นได้นักศกึ ษาก็จะทอ้ แท้ หมดกาลงั ใจ ไม่อยากทาตอ่ ผลงานกไ็ ม่แล้วเสร็จตามเป้าหมาย ข้อค้นพบของผูส้ อนอกี ประการจากการสอนวิชาน้ีพบวา่ การสร้างบรรยากาศการพูดคุยท่ีไม่เป็นทางการ การใช้สถานที่นดั หมายทหี่ ลากหลาย ไมเ่ น้นพบกนั เฉพาะในชน้ั เรียน หรอื ในมหาวิทยาลยั จะทาให้นักศึกษาสามารถเล่าถึงปญั หาการทางานไดอ้ ย่างผ่อนคลาย ทาให้ผสู้ อนได้เข้าใจถึงวิธีการคิดและการทางานของนกั ศึกษามากข้นึ 4) ผ้สู อนใช้ผลงานวิจัยของตนเองมาประกอบการจัดการเรียนการสอนโดยยกตัวอย่างประกอบ แนะนาวิธีการที่ดี ปญั หาอุปสรรคทใี่ นแตล่ ะขัน้ ตอน จุดอ่อนและจุดแข็งของงานวิจัยตามทศั นะของผทู้ รงคุณวุฒิ การทผี่ ู้สอนสามารถอธบิ ายกระบวนการวิจยั เหลา่ นีต้ อ่ ผเู้ รียนได้อย่างละเอียดทุกขัน้ ตอนทาให้ผู้เรยี นเขา้ ใจไดด้ ียงิ่ ข้นึ ซงึ่ ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 2558-2560 ผู้วิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากทงั้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยจานวน 6 เรื่อง มีผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ท้ังระดับชาติและนานาชาติจานวน 20 เร่ือง ทาใหส้ ามารถถ่ายทอดทั้งองค์ความรู้และวธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี9. บทสรปุ นกั ศกึ ษาทลี่ งทะเบียน 441-411 ระเบยี บวิธีวจิ ัยทางธุรกิจ ไดเ้ รยี นรู้กระบวนการวิจัยผ่านการฝกึ ปฏิบตั ใิ นทุกขน้ั ตอน ทาให้นกั ศกึ ษามคี วามเข้าใจถงึ ระเบียบวธิ ีวิจัยอย่างแท้จริง สามารถปฏิบัติได้สามารถขอรับทุนสนับสนนุ การทาวจิ ัยของวิทยาเขตปัตตานไี ด้ทุกกลมุ่ ทาให้นักศึกษามีขวัญกาลังใจในการเรียน สามารถนาประสบการณ์วิจัยไปใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ โดยนักศกึ ษาที่ผ่านการเรียน 37

วชิ านแ้ี ล้วบางส่วนไดท้ างานเป็นผู้ช่วยวิจัยทั้งที่ยังไม่สาเร็จการศึกษา (ภาคการศึกษาท่ี 2 ของนกั ศึกษาชัน้ ปที ี่ 4 นกั ศึกษาลงทะเบยี นเรยี นไม่ก่ีวชิ า) และบางส่วนเม่ือสาเรจ็ การศึกษาแล้วสามารถเขา้ ทางานเป็นผู้ช่วยนักวิจัย หรือลงภาคสนามเก็บข้อมูลได้ทันทีเพราะมีประสบการณ์มาก่อนขณะเดียวกันผ้สู อนกไ็ ด้คน้ พบวธิ กี ารสอนท่ีเหมาะสมกบั นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรีด้วยการทาวิจัยในชั้นเรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซง่ึ ผลการวจิ ัยนอกจากนามาใชใ้ นการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนในวชิ านแ้ี ลว้ ยังสามารถประยุกตใ์ ชก้ บั รายวิชาอ่ืนๆ ได้ และเป็นประโยชน์ต่อผู้รับผิดชอบหลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ ท่จี ะนาผลการวิจัยไปขยายผลในรายวิชาอ่นื ในหลกั สตู รด้วย10. เอกสารอา้ งอิง/เอกสารประกอบการนาเสนอ 10.1 มคอ 3 รายวิชา 441-411 ระเบยี บวิธีวิจยั ทางธุรกิจ 10.2 ตัวอย่างเอกสารประกอบการสอนรายวชิ า 441-411 ระเบยี บวิธีวจิ ยั ทางธรุ กจิ 10.3 ผลประเมนิ การสอนโดยนักศกึ ษารายวชิ า 441-411 ระเบียบวิธีวิจยั ทางธุรกจิ ปกี ารศกึ ษา2559-2560 10.4 บทความวิจยั เรื่อง ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นร้เู รอื่ งการป้องกนั การลอกเลยี นวรรณกรรมด้วยเกมออนไลนใ์ นรายวิชาระเบยี บวิธวี ิจัยทางธรุ กิจ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา-นครินทร์ 10.5 รายงานการวิจัยเรือ่ ง ผลสมั ฤทธิ์การเรียนรู้เรอื่ งการป้องกันการลอกเลียนวรรณกรรมในการวจิ ยั ทางธุรกจิ ดว้ ยเกมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 10.6 รายงานการวิจัยเรอ่ื ง ความรุนแรงและผลกระทบจากการดมื่ สรุ า: ประมวลขา่ วในรอบ 10 ปี 10.7 รายงานการวิจยั เร่ือง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นฐานที่มีต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเรือ่ งการออกแบบวิจยั สาหรบั นักศกึ ษารายวิชา 441 -411 ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ ปีการศึกษา2559 10.8 บทความวจิ ัยเรอ่ื ง การจัดการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐานทม่ี ีต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนในรายวชิ าระเบยี บวิธีวิจยั ทางธรุ กิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 10.9 บทความวจิ ัยเร่อื ง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการฝึกอบรม การจัดการความรู้ และสมรรถนะของผ้รู ับผิดชอบงานประกนั คุณภาพในสถาบนั อุดมศึกษา 10.10 รายงานการวจิ ัยของนักศึกษา ปกี ารศึกษา 2559 เรือ่ ง ความต้องการสวสั ดกิ ารสินเชื่อของผสู้ ูงอายจุ งั หวัดนราธิวาส: การศกึ ษาทฤษฎีฐานราก 10.11 รายงานการวจิ ัยของนกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2559 เร่ือง การสารวจความต้องการสวัสดิการสนิ เช่ือของผ้สู งู อายุ: กรณศี กึ ษาจังหวัดนราธวิ าส 10.12 รายงานการวจิ ยั ของนกั ศึกษา ปีการศึกษา 2560 เรอ่ื ง สวัสดิการแรงงานต่างด้าวทที่ างานในเขตอุตสาหกรรมอาเภอเมอื ง จังหวดั ปัตตานี 38

10.13 รายงานการวจิ ยั ของนักศึกษา ปีการศึกษา 2560 เรื่อง ความต้องการสวัสดิการของผสู้ งู อายใุ นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลแหลมโพธิ์ อาเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี 39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook