Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารหารเพื่อสุขภาพ

อารหารเพื่อสุขภาพ

Published by KANYARAT.NANZ26, 2020-03-19 08:00:02

Description: อารหารเพื่อสุขภาพ

Keywords: สุขภาพ อาหาร

Search

Read the Text Version

GSCI 2202 อาหารเพ่ือสขุ ภาพ (Food for Health) ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2559 นักสิทธ์ิ ปัญโญใหญ่ (PhD. Food Science) ภาควิชาอตุ สาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร E-mail: [email protected]

คำอธิบำยรำยวิชำ ความสมั พนั ธข์ องอาหารเพ่อื สุขภาพ อาหารและโภชนาการสาหรบั บุคคลในวยั ต่างๆ อาหาร บาบดั โรคหรอื โภชนาบาบดั อาหารและผลติ ภณั ฑอ์ าหารเพอ่ื สขุ ภาพ ภมู ปิ ัญญาอาหารพน้ื บ้าน การเลอื กบรโิ ภคอาหารและการอ่านฉลากโภชนาการ โรคและอนั ตรายท่เี กดิ จากการบรโิ ภค อาหารไม่ปลอดภยั อาหารล้างพษิ อาหารชะลอความชราและต้านอนุมูลอสิ ระ และการเลอื ก บรโิ ภคผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร จดุ มงุ่ หมำยของรำยวิชำ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั อาหารเพ่อื สุขภาพ 2. วเิ คราะหแ์ ละใชค้ วามรใู้ นการเลอื กบรโิ ภคอาหารเพ่อื สุขภาพ 3. สรา้ งสุขนสิ ยั ทด่ี ใี นการบรโิ ภคอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ต่อสขุ ภาพ 4. นาความรเู้ กย่ี วกบั อาหารเพอ่ื สุขภาพไปดแู ลสุขภาพของตนเองและบคุ คลอ่นื ได้ 5. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน้ ขอ้ มลู ทางดา้ นอาหารเพ่อื สุขภาพ

จำนวนชวั ่ โมงเรียน/ภำคกำรศึกษำ แผนกำรเรยี นกำรสอน บรรยำย สอนเสริม กำรศึกษำ สปั ดำหท์ ่ี เนื้อหำ ด้วยตนเอง 1 บทท่ี 1 บทนา 45 ชวั่ โมง ตามความ ต้องการ 90 2-3 บทท่ี 2 อาหารสาหรบั บุคคลวยั ต่างๆ ของนักศกึ ษา ชวั่ โมง 4 บทท่ี 3 ภูมปิ ัญญาอาหารพน้ื บา้ น 5 บทท่ี 4 อาหารเพ่อื สขุ ภาพ กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน 6-7 บทท่ี 5 อาหารชะลอความชรา ตา้ นและบาบดั โรค สอบกลำงภำค 1.การบรรยาย 2.การคน้ ควา้ อภปิ ราย วเิ คราะห์ 9-10 บทท่ี 6 อาหารลา้ งพษิ ตา้ นอนุมูลอสิ ระ และอาหารอนิ ทรีย์ (ต่อ) และกรณีศกึ ษา 11 บทท่ี 7 ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร 3. การนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น 12 บทท่ี 8 การอ่านฉลากโภชนาการ และการตดั สนิ ใจเลอื กบรโิ ภคอาหาร 13 บทท่ี 9 โรคและอนั ตรายทเ่ี กดิ จากการบรโิ ภคอาหารไมป่ ลอดภยั 14 การนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น (ครงั้ ท่ี 1) 15 การนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น (ครงั้ ท่ี 2) สอบปลำยภำค

แผนกำรประเมินผลกำรเรยี นรู้ เกณฑก์ ารประเมินผล กิจกรรมที่ วิธีกำรประเมิน สดั ส่วนของ ไดค้ ะแนนตงั้ แตร่ อ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป ได้ A กำรประเมินผล ไดค้ ะแนนระหวา่ งรอ้ ยละ 75-79 ได้ B+ 1 รายงานและ 30% ไดค้ ะแนนระหวา่ งรอ้ ยละ 70-74 ได้ B งานทไี่ ด้รบั มอบหมาย 15 % ไดค้ ะแนนระหว่างรอ้ ยละ 65-69 ได้ C+ 10% 2 การนาเสนอผลงาน 20% ไดค้ ะแนนระหว่างรอ้ ยละ 60-64 ได้ C และการตอบคาถาม 25% ไดค้ ะแนนระหว่างรอ้ ยละ 55-59 ได้ D+ 3 การประเมนิ พฤตกิ รรมนักศกึ ษา ไดค้ ะแนนระหวา่ งรอ้ ยละ 50-54 ได้ D 3 สอบกลางภาค ไดค้ ะแนนต่ากว่ารอ้ ยละ 50 ได้ F 4 สอบปลายภาค

ข้อควรปฏิบตั ิสำหรบั นักศึกษำ 1. เวลาในการเขา้ เรยี น เชค็ ช่อื และการส่งงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหเ้ ป็นไปตามท่อี าจารยผ์ ู้สอนกาหนด การมาสายหรอื ขาดเรยี นและการส่งงานล่าชา้ จะมผี ลตอ่ คะแนนความประพฤติ 2. แต่งกายใหส้ ภุ าพตามระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั ทงั้ การเรยี นและการสอบ 3. รกั ษาความสะอาดของหอ้ งบรรยาย หา้ มนาอาหาร เคร่อื งดม่ื เขา้ มารบั ประทานในหอ้ งบรรยายและงด การโทรศพั ทแ์ ละคุยกนั ในระหวา่ งการบรรยาย หา้ มลมื ปิดไฟ เครอ่ื งปรบั อากาศ พดั ลมหลงั เลกิ เรยี น 4. นกั ศกึ ษาตอ้ งเขา้ สอบทงั้ การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาคจงึ จะมสี ทิ ธไิ ดร้ บั การประเมนิ ผล 5. นกั ศกึ ษาทป่ี ่วยหรอื มเี หตขุ ดั ขอ้ งเขา้ สอบไมไ่ ดต้ อ้ งแจง้ อาจารยผ์ สู้ อนภายใน 1 สปั ดาห์ หลงั วนั สอบ พรอ้ มทงั้ สง่ เอกสารหลกั ฐานประกอบ เช่นใบรบั รองแพทย์ ถ้าตดิ ต่อชา้ หรอื ไม่มหี ลกั ฐานประกอบจะถือ วา่ ขาดสอบ

กำรติดต่ออำจำรยผ์ สู้ อน... (เน่ืองจำกอำจำรยผ์ สู้ อนไมไ่ ด้ประจำอย่ใู นวิทยำเขตเวียงบวั ) 1. ใหต้ ดิ ตอ่ ตามชอ่ งทางทอ่ี าจารยผ์ สู้ อนกาหนดใหค้ อื อเี มลล์ 2. กรณีตดิ ต่อตามชอ่ งทางในขอ้ ท่ี (1) ไมไ่ ด้ ใหไ้ ปฝากเร่อื งไวท้ ่ี หอ้ งประสานงานคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร ชนั้ 1 อาคาร 5 ตกึ จตุรคาร ใกลก้ บั หอ้ งพยาบาล 3. การส่งงานนอกเหนือจากในชวั ่ โมงเรยี นใหส้ ง่ ทต่ี ลู้ อ๊ คเกอรห์ น้าหอ้ งประสานงานคณะในข้อ (2) ในกรณที จ่ี ะตดิ ต่ออาจารยใ์ นขอ้ ท่ี (2) (3) กรุณาจาช่อื อาจารยผ์ สู้ อนใหถ้ กู ตอ้ งดว้ ย

อาหารคืออะไร? Source: Alif Silpachai, Thai Languages with Alif, 2010 ของกินหรือเครอ่ื งคา้ จนุ ชีวิต (พระราชบญั ญตั อิ าหาร พ.ศ. 2522) 1.วตั ถุทุกชนิดทคี่ นกนิ ด่มื อม หรอื นาเขา้ สู่รา่ งกายดว้ ยวธิ ี อน่ื ๆ หรอื ในรปู ลกั ษณะใดๆ แต่ไมร่ วมถงึ ยา วตั ถุออกฤทธิ์ ต่อจติ ประสาท หรอื ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนัน้ แลว้ แต่กรณี 2. วตั ถุทม่ี ุง่ หมายสาหรบั ใช้ หรอื ใช้เป็นสว่ นผสมในการ ผลติ อาหาร รา่รวงมกถงึ าวตัยถตุเจอื้อปนงอกาหาารร อสี แาลหะเคารรอ่ื งปเพรุงแื่อต่ง…กลนิ่ รส 1. ใหไ้ ดพ้ ลงั งานและความรอ้ น ซง่ึ จาเป็นสาหรบั การทางานของ อวยั วะภายใน เช่น การสูบฉีดโลหิต การหายใจและการยอ่ ยอาหาร หรอื ใชใ้ นการทากจิ กรรมภายนอก เชน่ การทางาน การเดิน และการ เล่น เป็นตน้ 2. ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตโดยเฉพาะในเด็ก และช่วยซ่อมแซม สว่ นท่สี กึ หรอ 3. ชว่ ยใหส้ ุขภาพแขง็ แรงโดยช่วยป้องกนั และตา้ นทานโรค 4. ช่วยควบคุมปฏิกิรยิ าเคมีต่างๆ ในร่างกาย และการทางานของ อวยั วะ

อาหารแบง่ ออกตามลกั ษณะการควบคมุ ได้ 4 ประเภท ได้แก่ 1. อาหารควบคมุ เฉพาะ อาหารทีม่ คี วามเสย่ี งต่อสุขภาพ หากผลิตออกมาไม่ได้คุณภาพมาตรฐานตามท่กี ระทรวงสาธารณสุข กาหนดไว้ จาเป็นต้องประเมนิ ความปลอดภยั อยา่ งเขม้ งวด เชน่ น้าบรโิ ภคในภาชนะทปี่ ิดสนิท น้าแขง็ นมโค นมเปรย้ี ว ผลติ ภณั ฑน์ ม ไอศกรมี เป็นตน้ 2. อาหารท่ีกาหนดคณุ ภาพหรือมาตรฐาน การกาหนดคณุ ภาพมาตรฐานเชน่ เดยี วกบั อาหารกลุม่ 1 แต่การขออนุญาตผลติ อาหารจะมคี วามเข้มงวด น้อยกวา่ อาหารกลุ่ม 1 เชน่ ขา้ วเตมิ วติ ามนิ น้ามนั และไขมนั น้าปลา น้าสม้ สายชู เกลอื บรโิ ภค ชา กาแฟ เป็นต้น 3. อาหารที่ต้องมีฉลาก อาหารทกี่ าหนดขอ้ ความรายละเอยี ดทต่ี ้องแจง้ บนฉลาก เพอ่ื เป็นการเลอื ก เชน่ ขนมปัง หมากฝรงั่ และลกู อม และผลติ ภณั ฑจ์ ากเน้อื สตั ว์ เป็นต้น 4. อาหารทวั่ ไป อาหารนอกเหนือจากอาหาร 3 กลุม่ ขา้ งตน้ เชน่ น้าพรกิ กะปิ น้าตาล แป้งทาขนม เครอ่ื งเทศ แคบหมู กะละแม

สารอาหาร ( nutrients) • สารเคมที ปี่ ระกอบอยใู่ นอาหารทใี่ หค้ ณุ คา่ ตอ่ รา่ งกายในดา้ น ตา่ งๆ ได้แก่ คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ไขมนั (ให้พลงั งาน) วิตามิน แร่ธาตุ และน้า (ไม่ให้พลงั งาน) • อาหารแต่ละอยา่ งประกอบดว้ ยสารอาหารหลายๆอยา่ งใน ปรมิ าณไมเ่ ทา่ กนั • สารอาหารแตล่ ะอยา่ งใหป้ ระโยชน์แกร่ า่ งกายแตกต่างกนั • ไมม่ อี าหารชนดิ ใดทป่ี ระกอบไปดว้ ยสารอาหารทุกอยา่ งท่ีรา่ งกาย ต้องการในปรมิ าณเพยี งพอและไดส้ ดั สว่ น • การแบง่ อาหารหลกั ทค่ี วรบรโิ ภคออกเป็นหมตู่ ามสารอาหารทม่ี ี อยมู่ ากในอาหารหมนู่ นั้ เพอ่ื ให้สามารถพจิ ารณาได้วา่ รับประทาน อาหารครบถว้ นเพยี งพอกบั ความต้องการของรา่ งกาย “อาหารหมตู่ ่างๆ น้ีจะรบั ประทานทดแทนกนั ไม่ได”้ “นอกจากจะรบั ประทานอาหารในหมู่เดียวกนั ทดแทนกนั เท่านัน้ ”



กิจกรรมที่ 1 แนวทางการกินอาหารที่ดีต่อสขุ ภาพ • จบั กลมุ่ นกั ศกึ ษา 4-5 คน ทน่ี งั ่ ใกลก้ นั • แนะนาตวั (ช่อื สาขา คณะทเ่ี รยี น คนจงั หวดั ไหน) • รว่ มกนั วเิ คราะหป์ ระเดน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี (เวลา 5 นาท)ี (1) การกินอาหารเก่ียวข้องกบั รายงานคนไทยเสียชีวิต จากโรครา้ ยต่างๆ หรอื ไม่ เพราะอะไร (2) การกินอาหารอย่างไรท่ีจะส่งผลดีต่อสขุ ภาพและ ลดความเส่ียงจากการเสียชีวิตจากโรคดงั กล่าว • ส่งตวั แทนหน่ึงคนออกมานาเสนอประเดน็ ที่สอง เพียงหน่ึงแนวทางและกล่มุ ที่นาเสนอลาดบั ถดั ไปต้อง นาเสนอแนวทางที่ไมซ่ า้ กบั กล่มุ ที่นาเสนอก่อนหน้า ใช้เวลากล่มุ ละ 1-2 นาที

หลกั โภชนบญั ญตั ิ 9 ประกำร (สานกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข, 2551) ขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการรบั ประทานอาหารทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ สขุ ภาพ 1. รบั ประทานอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมใู่ ห้มคี วามหลากหลาย และหมนั่ ดแู ลน้าหนกั ตวั 2. รบั ประทานขา้ วเป็นอาหารหลกั สลบั กบั อาหารประเภทแป้งเป็นบางมอ้ื 3. รบั ประทานผกั ให้มากและรบั ประทานผลไมเ้ ป็นประจา 4. รบั ประทานปลา เน้อื สตั วไ์ มต่ ดิ มนั ไข่ และถวั่ เมลด็ แห้งเป็นประจา 5. ด่มื นมใหเ้ หมาะสมตามวยั 6. รบั ประทานอาหารทม่ี ไี ขมนั พอควร 7. หลกี เลย่ี งการรบั ประทานอาหารรสหวานและเคม็ จดั 8. รบั ประทานอาหารทส่ี ะอาด ปราศจากการปนเป้ือน 9. งด (ลด) เคร่อื งด่มื มนึ เมา

Vocabulary Heart attack Diabetes Arthritis Sleep disorders Depression Cancer Allergies Life expectancy Lifespan Heartburn Calories

1. รบั ประทำนอำหำรครบ 5 หมู่ แต่ละหม่ใู ห้มคี วำมหลำกหลำย และหมนั ่ ดแู ลน้ำหนักตวั ใน 1 วนั เราควรรบั ประทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่ ดงั นี้ อำหำรหม่ทู ่ี 1 ไดแ้ ก่ เนอื้ สตั วต์ ่างๆ เคร่อื งในสตั ว์ ไข่ นม ถวั่ เมลด็ แหง้ ผลติ ภณั ฑจ์ ากนม อำหำรหมทู่ ี่ 2 ไดแ้ ก่ ขา้ วต่างๆ อาหารทาจากแป้ง เผอื ก มนั อำหำรหมทู่ ่ี 3 ไดแ้ ก่ ผกั ใบเขยี วและผกั ต่าง ๆ อำหำรหม่ทู ่ี 4 ไดแ้ ก่ ผลไมต้ า่ งๆ อำหำรหมทู่ ี่ 5 ไดแ้ ก่ ไขมนั จากสตั วแ์ ละไขมนั จากพชื เราควรเลอื กรบั ประทานอาหารในแตล่ ะหมู่ใหห้ ลากหลายไม่ซ้าซอ้ น และท่สี าคญั คอื ควรหมนั่ ดแู ลน้าหนกั ตวั ใหอ้ ยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานใหเ้ หมาะสมตามวยั ท่ีมำ: นฤมล จนั ทรส์ รุ นิ ทร,์ การเลอื กบรโิ ภคอาหาร, 2557

http://www.lovefitt.com ค่ำดชั นีมวลกำย (Body Mass Index: BMI) คา่ ทอ่ี าศยั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งน้ำหนกั ตวั และส่วนสงู มาเป็นตวั ชวี้ ดั สภาวะของรา่ งกาย วา่ มคี วามสมดุลของน้าหนกั ตวั ตอ่ สว่ นสูงอยใู่ นเกณฑท์ ่เี หมาะสมหรอื ไม่ คา่ ดชั นีมวลกายสามารถคานวณไดโ้ ดยนาน้าหนกั ตวั (หน่วยเป็นกโิ ลกรมั ) หารดว้ ย สว่ นสงู กาลงั สอง (หน่วยเป็นเมตร) นำ้ หนกั ตวั (������������) ������������������������������������������������������ 21.46 ������������/������2 65(������������) ������������������ = (สว่ นสงู 2) (������2) = (1.742) (������2) Underweight Normal weight Slightly Overweight Overweight Extremely Overweight



2. รบั ประทานข้าวเป็นอาหารหลกั สลบั กบั อาหารประเภทแป้งเป็นบางมอ้ื ขา้ วจดั เป็นอาหารหลกั ของคนไทย ซ่งึ มคี ุณค่าทางโภชนาการมาก โดยเฉพาะขา้ วทผ่ี า่ นการขดั สนี ้อย เช่น ขา้ วซอ้ มมอื หรอื ทป่ี ัจจุบนั เรยี กวา่ “ขา้ วกลอ้ ง” ซ่งึ นอกจากใหส้ ารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรตแลว้ ยงั มวี ติ ามนิ ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ร่างกายมากอกี ดว้ ย หากเบ่อื ขา้ วกส็ ามารถรบั ประทานอาหารประเภทแป้งอ่นื ๆ สลบั เป็นบางมอ้ื ได้ เช่น ก๋วยเตยี๋ ว บะหม่ี ขนมปัง เป็นตน้ แต่คณุ ค่าของอาหารเหลา่ นีจ้ ะน้อยกวา่ การไดร้ บั จากขา้ ว

3. รบั ประทานผกั ให้มากและ รบั ประทานผลไมเ้ ป็นประจา พชื ผกั และผลไมเ้ ป็นอาหารทใ่ี หส้ ารอาหารท่จี าเป็นแกร่ า่ งกาย คอื วติ ามนิ และแรธ่ าตุ เป็นอาหารทช่ี ว่ ยในการป้องกนั โรค นอกจากน้ยี งั มใี ยอาหารทใ่ี หป้ รมิ าณสูง ชว่ ยทาใหข้ บั ถา่ ยสะดวก ชว่ ยกวาดเศษอาหารในสาไสอ้ อกมาลดการบดู เน่า และชว่ ยใหท้ อ้ งไมผ่ กู

4. รบั ประทานปลา เนื้อสตั ว์ไม่ติดมนั ไข่ และ ถวั ่ เมลด็ แห้งเป็นประจา อาหารขา้ งตน้ เป็นอาหารทใ่ี หส้ ารอาหารโปรตนี เป็นสาคญั ซ่งึ ชว่ ยใน การเจรญิ เตบิ โตและซ่อมแซมส่วนท่สี ึกหรอ เป็นสารอาหารท่จี าเป็น อยา่ งยง่ิ ของเดก็ ในวยั เรยี น หากขาดโปรตนี แลว้ จะมีผลกระทบต่อการ เจรญิ เตบิ โตทงั้ รา่ งกายและสมอ อาหารมงั สวิรตั ิ จะแบง่ ออก 4 ประเภทด้วยกนั ดงั นี้ 1.มงั สวิรตั ิ (Vegetarian) งดเวน้ เน้อื สตั วท์ กุ อยา่ ง ไมว่ า่ จะเป็นสตั วบ์ ก สตั วป์ ีก สตั ว์น้า 2. ก่ึงมงั สวิรตั ิ (Semi-Vegetarian) เลอื กรบั ประทานเน้อื สตั ว์เฉพาะเน้ือปลาหรอื เน้ือจากสตั วป์ ีก และหลกี เล่ยี งการรบั ประทานเน้ือจากสตั วใ์ หญ่ 3. มงั สวิรตั ินม (Latco-Vegetarian) รบั ประทานผลติ ภณั ฑท์ ท่ี าจากนม ยกเวน้ เจลาตนิ ซง่ึ เป็นสารทม่ี าจากเย้อื บุผวิ กระเพาะของสตั ว์ 4. มงั สวิรตั ิไข่ (Ovo-Latco Vegetarian) ไมร่ บั ประทานเน้อื สตั วท์ กุ ชนิด จะเลอื กทานแตไ่ ขแ่ ละนมเทา่ นัน้ Source: Fooducate, What is a Protein’s Biological Value and Why is it important?, 2014

5. ด่ืมน้านมให้เหมาะสมตามวยั นมเป็นอาหารท่มี ปี ระโยชนต์ งั้ แต่วยั ทารก เป็นอาหารท่ียอ่ ยงา่ ย อดุ มไปดว้ ยสารอาหารท่มี ปี ระโยชนต์ อ่ รา่ งกาย เช่น โปรตนี แคลเซยี ม วติ ามนิ ต่าง ๆ เดก็ ในวยั เรยี นมคี วามตอ้ งการสารอาหารเหล่านี้มาก เพราะอยใู่ นวยั เจรญิ เตบิ โต รา่ งกายตอ้ งนาไปสรา้ งกระดูก ฟัน กลา้ มเนอ้ื เป็นตน้

6. รบั ประทานอาหารที่มีไขมนั พอควร ไขมันจากพืชและสัตว์เป็ นสารอาหารท่ีให้พลังงานท่ีสูงท่ี สุดแก่ ร่างกาย และเป็นตวั ละลายวิตามนิ เอ ดี อี และเค ใหแ้ ก่ร่างกาย นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ แต่ตอ้ งรบั ประทานในปริมาณท่พี อเหมาะ ควร ใช้ไขมนั จากพืชในการปรงุ อาหารมากกว่าไขมนั จากสตั ว์?? และ ไม่ควรเกนิ 3 ชอ้ นโต๊ะตอ่ วนั หากรบั ประทานไขมนั ในปริมาณท่มี าก เกนิ ไปจะทาใหเ้ กดิ การสะสมในรา่ งกาย โดยถา้ สะสมในหลอดเลอื ดจะ ทาให้เกิดไขมันอุดตันในเส้นเลือด เป็ นอันตรายต่อหัวใจและ สมอง และถา้ สะสมตามร่างกายจะทาใหเ้ กดิ โรคอว้ นได้

7. หลีกเล่ียงการรบั ประทานอาหารรสหวานและเคม็ จดั อาหารทม่ี รี สหวานจดั นนั้ มนี ้าตาลเป็นส่วนประกอบของอาหารมาก การรบั ประทานน้าตาลในปรมิ าณมาก จะทาใหร้ า่ งกายเสย่ี งต่อการเกดิ โรค เช่น โรคอว้ น โรคเบาหวาน เช่นเดยี วกบั การรบั ประทานอาหารรสเคม็ จดั ซ่งึ มสี ่วนประกอบของเกลอื โซเดยี มสงู อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย ต่อไตและผปู้ ่วยโรคความดนั เลอื ดสงู ดว้ ย

8. รบั ประทานอาหารท่ีสะอาด ปราศจาก การปนเปื้ อน นอกจากอาหารจะมปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกายแลว้ ถา้ อาหารเหล่านนั้ เกดิ การปนเปื้อนจากเชอื้ โรคและสารเคมตี ่างๆ ก็จะทาให้เกิด โทษตอ่ ร่างกายได้ ดงั นนั้ เราควรเลือกรบั ประทานอาหารท่ีปรุง สุกใหม่ๆ สดสะอาด ปราศจากสัตว์นาโรค และแมลงวัน ตอม รวมทงั้ อาหารท่มี สี สี นั ฉูดฉาด กไ็ ม่ควรรบั ประทานเช่นกนั

9. งด(ลด) เคร่อื งด่ืมมนึ เมา เค ร่ือ ง ด่ืม แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ เ ช่ น สุ ร า ย า ดอง เหล้า เบียร์ ไวน์ ซ่ึงเป็นอนั ตรายต่อ สุขภา พอ ย่า งยิ่ง ทาให้เป็ นโ รคพิษสุ ร า เร้ือรัง มะเร็งตับ เป็นต้น จึงควรเลือกด่ืม เฉพาะเคร่อื งด่มื ท่มี ปี ระโยชน์เทา่ นัน้ เชน่ น้าผกั น้าผลไม้ เป็นตน้ นิสยั นกั ดื่ม จนเครยี ดกเ็ หลา้ ขาว ปวดรา้ วกเ็ หล้าสี ไดล้ กู กเ็ หล้ารี เมยี หนีกห็ งสท์ อง เบยี รส์ ิงเม่อื อา้ งวา้ ง เบียรช์ ้างเม่อื ฉลอง เม่อื ยลา้ กย็ าดอง แค่ลองกเ็ หล้าโรง ด่มื พลนั กห็ รรษา แมน้ ว่าจะตายโหง ศพตงั้ อยโู่ ลง่ โจง้ ขา้ งโลงยงั เช่ียงชนุ

ทำไมต้องกินอำหำรให้หลำกหลำยในแต่ละกลุ่มอำหำร กนิ อาหารใหห้ ลากหลาย หมายความวา่ กนิ อาหารหลาย ๆ ชนิดในแต่ ละกลมุ่ หมุนเวยี นกนั ไป ไมก่ นิ ซ้าจาเจเพยี งชนิดใดชนดิ หน่งึ เพ่อื (1) ใหไ้ ดส้ ารอาหารต่าง ๆ ครบถว้ น และ (2) หลกี เลย่ี งการสะสมพษิ ภยั จาก ทพุ โภชนำกำร (Malnutrition) การปนเปื้อนในอาหารชนดิ ใดชนดิ หน่งึ ทก่ี นิ เป็นประจา ภำวะโภชนำกำรที่ไม่ดี ซึ่งแบง่ เป็น 2 ประเภทด้วยกนั ดงั นี้ (1) ภำวะขำดสำรอำหำร (Undernutrition) ภาวะทเ่ี กดิ จากการบรโิ ภคอาหารหรอื สารอาหารท่ไี ม่ไดส้ ดั ส่วนปรมิ าณ หรือหลากหลายเพียงพอกบั ความตอ้ งการของร่างกายซ่งึ มีผลทาให้ รา่ งกายมสี ุขภาพไม่แขง็ แรง อาจก่อใหเ้ กดิ โรคตา่ งๆ ไดง้ ่าย (2) ภำวะโภชนำกำรเกิน (Overnutrition) ภาวะท่ีเกิดจากการบริโภคอาหารหรือสารอาหารท่ีเกินต่อความ ตอ้ งการของรา่ งกาย เช่น บรโิ ภคอาหารท่ใี หพ้ ลงั งานเกนิ กวา่ ท่ีร่างกาย จะใช้ หรอื การไดร้ บั วติ ามินมากเกินไป เช่น วิตามินเอ วิตามินดี อาจ กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ร่างกายได้

กินถกู หลกั กบั ธงโภชนำกำร กินถกู หลกั กบั ปิ รำมิดอำหำร

โรคท่ีเกิดจำกกำรรบั ประทำนอำหำรที่ไม่ได้สดั ส่วนตำมท่ีรำ่ งกำยต้องกำร โรคที่เกิดจำกกำรขำดแร่ธำตุ โรคที่เกิดจำกกำรขำดวิตำมิน • ขาดธาตเุ หลก็ ทาใหเ้ ป็นโรคโลหติ จาง • ขาดวติ ามนิ เอ ทาใหเ้ ป็นโรคตาฟาง • ขาดธาตุไอโอดนี ทาใหเ้ ป็นโรคคอพอก สตปิ ัญญาเส่อื ม • ขาดวติ ามนิ บ1ี ทาใหเ้ ป็นโรคเหน็บชา • ขาดธาตุโซเดยี ม ทาใหเ้ บ่อื อาหาร เป็นตะครวิ ชกั • ขาดวติ ามนิ บ2ี ทาให้เป็นโรคปากนกกระจอก • ขาดธาตแุ มกนีเซยี ม ทาใหก้ ลา้ มเน้ือกระตุก • ขาดวติ ามนิ ซี ทาให้เป็นโรคลกั ปิดลกั เปิด โรคที่เกิดจำกกำรขำดโปรตีน • ขาดวติ ามนิ ดี ทาใหเ้ ป็นโรคกระดกู ออ่ น • ร่างกายออ่ นแอเจรญิ เตบิ โตชา้ • ภูมติ า้ นทานต่าตดิ โรคไดง้ ่าย • ขาดวติ ามนิ เค ทาให้เป็นโรคเลอื ดแขง็ ตวั ชา้ • พฒั นาการทางดา้ นสตปิ ัญญาลา่ ชา้ ตำฟำง เหน็บชำ ปำกนกกระจอก ลกั ปิ ดลกั เปิ ด ขำโก่ง คอพอก โลหิตจำง

กำรรบั ประทำนอำหำรให้ถกู สดั ส่วน • พลงั งานของร่างกายไดม้ าจากอาหาร ปรมิ าณอาหารท่เี รารบั ประทาน จงึ มคี วามสมั พนั ธก์ บั พลงั งานทร่ี ่างกายตอ้ งการ ในแ ต่ละวันเ รา จึงต้อ งกา รพ ลังงา นจ า ก สารอาหาร •เพ่อื นาไปใชใ้ นการทากจิ กรรมตา่ งๆ ในปรมิ าณทแ่ี ตกตา่ งขน้ึ อยกู่ บั เพศ วยั สภำพร่ำงกำย และกิจกรรมของแต่ละบคุ คล เพ่อื สุขภาพท่แี ขง็ แรงสมบรู ณ์

สรปุ ควำมร้ทู ่ีได้จำกห้องเรียนวนั นี้

Website: http://www.thaihealth.or.th สำนักงำนกองทนุ สนับสนุนกำรสรำ้ งเสริมสขุ ภำพ (สสส.) เป็ นห น่ วยงานขอ งรัฐ ท่ีมิใช่ส่ วนรา ชการห รือ รัฐวิสา ห กิจ มี นายกรฐั มนตรีเป็นประธานกองทุน จดั ตงั้ ข้ึนตามพระราชบัญญัติ กองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2544 โดยมหี น้าท่ีรเิ ร่ิม ผลกั ดนั กระตุ้น สนบั สนุน และร่วมกบั หน่วยงานต่างๆ ในสงั คม ใน การขบั เคล่อื นกระบวนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ เพ่อื ใหค้ นไทยมสี ุขภาพดี ครบ 4 ดา้ น กาย จติ ปัญญา สงั คม และรว่ มสรา้ งประเทศไทยใหน้ ่าอยู่ วิสยั ทศั น์ “ทุกคนบนแผน่ ดนิ ไทยมขี ดี ความสามารถ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม ท่เี ออ้ื ตอ่ สุขภาวะ” ท่ีมำของเงินทนุ เงนิ ทนุ หลกั ไดจ้ ากเงนิ บารุงกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพซง่ึ มาจาก ภำษีที่รฐั จดั เกบ็ จำกผ้ผู ลิตและนำเขำ้ สรุ ำและยำสบู ในอตั รำ ร้อยละ 2 ของภำษีท่ีต้องชำระ

ทดสอบความเขา้ ใจในเนื้อหา 1. สารอาหารในขอ้ ใดทร่ี า่ งกายตอ้ งการในปรมิ าณน้อยแต่ถา้ รา่ งกายไดร้ บั ไมเ่ พยี งพอกจ็ ะทาใหเ้ กดิ อาการผดิ ปกตไิ ด้ A น้าและแรธ่ าตุ B วติ ามนิ และแรธ่ าตุ C ไขมนั แรธ่ าตุ วติ ามนิ D คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมนั

2. สารอาหารประเภทใดทจ่ี าเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของสมองของทารกใน ครรภ์ A โปรตนี B แรธ่ าตุ C วติ ามนิ D คารโ์ บไฮเดรต

3. โรคขาดสารอาหารและวธิ ปี ้องกนั และแกไ้ ขโดยการรบั ประทานอาหารขอ้ ใดไมถ่ กู ตอ้ ง A โรคกระดกู ออ่ น - น้ามนั ตบั ปลา B โรคเหน็บชา - ตบั ไข่ ขา้ วซอ้ มมอื C โรคโลหติ จาง - เน้อื สตั ว์ ไขแ่ ดง เครอ่ื งใน สตั ว์ D โรคคอพอก - เน้อื หมู ตบั ถวั ่ ต่างๆ

4. จงพจิ ารณาโรคต่างๆดงั ต่อไปน้ี 1 โรคเลอื ดออกตามไรฟัน 2 โรคปากนกกระจอก 3 โรคเบาหวาน 4 โรคไขมนั ในเสน้ เลอื ด โรคใดถอื วา่ เป็นโรคขาดสารอาหาร A 1 และ 2 B 2 และ 3 C 3 และ 4 D 4 และ 1

5. ทาไมผสู้ งู อายตุ อ้ งการโปรตนี ลดลง A เพราะรา่ งกายมภี ูมติ า้ นทางเพยี งพอแลว้ B เพราะระบบการยอ่ ยโปรตนี เสอ่ื มทาใหย้ อ่ ยยาก C เพราะรา่ งกายใชโ้ ปรตนี ทส่ี ะสมอยมู่ ากในสว่ นต่างๆ D เพราะไมต่ อ้ งการสรา้ งสรา้ งเซลลเ์ น้อื เย่อื ในการ เจรญิ เตบิ โตอกี

6. นายณเดช อายุ 20 ปี ซง่ึ มสี ว่ นสงู เทา่ กบั 180 เซนตเิ มตร น้าหนัก 75 กโิ ลกรมั จะมคี วามตอ้ งการพลงั งานขนั้ พน้ื ฐานเทา่ กบั เทา่ ไหร่ จากสตู ร ผหู้ ญงิ : BMR = 655+(9.6xนน.)+(1.8xสว่ นสงู )-(4.7xอายุ) ผชู้ าย : BMR = 66+(13.7xนน.)+(5 xสว่ นสงู )-(6.8xอายุ) A 1993.5 กโิ ลแคลอร่ี B 1857.5 กโิ ลแคลอร่ี C 1791.5 กโิ ลแคลอร่ี D 1803.0 กโิ ลแคลอร่ี

7. บคุ คลทเ่ี สยี เลอื ดมาก ๆ เชน่ สตรหี ลงั มปี ระจาเดอื น หรอื หลงั จากการ ผา่ ตดั เน่อื งจากอบุ ตั เิ หตุ ควรรบั ประทานอาหารจาพวกใด A ไขไ่ ก่ นมสด หวั หอมเลก็ B ถวั ่ งอก ปทู ะเล กงุ้ ทะเลสด C เคร่อื งในสตั ว์ มะเขอื พวง ถวั่ เหลอื ง D เนยแขง็ ผกั คะน้า ปลาชอ่ น

8. ถา้ ตอ้ งการเพม่ิ แคลอรใี หแ้ กร่ า่ งกาย ควรเลอื กรบั ประทานอาหารในขอ้ ใด A ไกย่ า่ ง สม้ ตา B ขา้ วไกท่ อด ขนมปังสงั ขยา C แกงเหลอื ง ปลาน่งึ มะนาว D ขนมจนี น้าเงย้ี ว

9. นางสาวดาวิกา อายุ 30 ปี มนี ้าหนักตวั เท่ากบั 42 กโิ ลกรมั และสูง เท่ากบั 147 เซนติเมตร อยากทราบว่านางสาวพรบิ พราวมคี ่าดชั นีมวล กาย (BMI) เทา่ กบั เทา่ ไหร่ [BMI = น้าหนกั (กก.) / สว่ นสงู 2 (ม.)] A 23.43 กก./ตร.ม. B 17.58 กก./ตร.ม. C 29.39 กก./ตร.ม. D 19.44 กก./ตร.ม.

10.ในภาวะปัจจบุ นั อาหารพวกเน้อื สตั วม์ รี าคาแพงซง่ึ อาจทาให้การบรโิ ภค ไมเ่ พยี งพอต่อคามตอ้ งการของรา่ งกายโดยเฉพาะครอบครวั ทม่ี รี ายไดน้ ้อย นกั ศกึ ษาคดิ ว่าปัญหาดงั กล่าวป้องกนั หรอื แกไ้ ขไดอ้ ยา่ งไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook