Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

Published by ronnapoj.lamom, 2020-08-29 00:23:58

Description: หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

๒๕๖๓ หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนเทศบาลสันป่ ายางหน่อม เทศบาลเมอื งลาพนู 29/08/63

ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ 1. วทิ ยาศาสตร์ “SCIENCE“ วทิ ยาศาสตร์ “Science“ มาจากคาวา่ Scientic ในภาษาลาตนิ แปลวา่ ความรู ้ (Knowledge) ฉะนัน้ วทิ ยาศาสตรค์ อื ความรทู ้ ั่วไป เกย่ี วกับ ธรรมชาตทิ ม่ี นุษย์ สะสมมาแตอ่ ดตี ปัจจบุ ัน และ อนาคต อยา่ งไมร่ จู ้ ักจบสนิ้ (ทบวง, 2533) นอกจากนย้ี ังกลา่ วไดว้ า่ วทิ ยาศาสตร์ คอื องคค์ วามรทู ้ ม่ี รี ะบบและจดั ไวอ้ ยา่ งมรี ะเบยี บแบบแผน โดยท่ัวไปกระบวนการหาความรทู ้ าง วทิ ยาศาสตร์ (The Process of Science) ประกอบดว้ ย - ระเบยี บวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) - เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Attitude) ระเบยี บวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็ นการแกป้ ัญหาทางวทิ ยาศาสตรม์ ี 5 ขนั้ ตอน 1. การสงั เกตและการตัง้ ปัญหา 2. การตงั้ สมมตุ ฐิ าน เป็ นการคาดคะเนอยา่ งมเี หตผุ ล 3. การศกึ ษาคน้ ควา้ และรวบรวมขอ้ มลู 4. การทดลองเพอ่ื ตรวจสอบสมมตุ ฐิ าน 5. การสรปุ ผล เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Attitude) เจตคตเิ ป็ นองคป์ ระกอบสง่ เสรมิ กระบวนการแสวงหา ความรู ้ ทท่ี บวงกาหนดมี 6 กระบวนการ 1. มเี หตผุ ล 2. อยากรยู ้ ากเห็น 3. ใจกวา้ ง 4. ชอื่ สตั ยใ์ จเป็ นกลาง 5. ความเพยี รพยายาม 6. ละเอยี ดรอบคลอบ ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ความรทู ้ างวทิ ยาศาสตรเ์ ป็ นผลติ ผล (Product) ทางวทิ ยาศาสตรจ์ ากกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ (The Science Process) ซง่ึ เป็ นความรทู ้ ถ่ี อื วา่ เป็ นความรู ้ ทาง วทิ ยาศาสตร์ จะตอ้ ง ทดสอบยนื ยันไดว้ า่ ถกู ตอ้ งจากการ ทดสอบหลายๆ ครัง้ ความรทู ้ างวทิ ยาศาสตร์ อาจแบง่ เป็ น 6 ประเภท 1. ขอ้ เท็จจรงิ ทางวทิ ยาศาสตร์ เป็ นความรทู ้ างวทิ ยาศาสตร์ ทส่ี งั เกตไดโ้ ดยตรง และ จะตอ้ งมคี วามเป็ นจรงิ สามารถ ทดสอบแลว้ ไดผ้ ลเหมอื นกันทกุ ครัง้ 2. ความคดิ รวบยอดหรอื มโนทศั นท์ างวทิ ยาศาสตร์ เกดิ จากการนาเอาขอ้ เท็จจรงิ หลายๆ สว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง มาผสมผสานเกดิ ความรใู ้ หม่ 3. ความจรงิ หลักหรอื หลักการ คอื กลมุ่ ของความคดิ รวบยอดทเ่ี ป็ นความรหู ้ ลักทั่วไป สามารถใชอ้ า้ งองิ ได ้ คณุ สมบัตขิ องหลกั การ คอื จะตอ้ งสามารถ นามาทดลองซ้า ไดผ้ ล เหมอื นเดมิ 4. กฎ คอื หลกั การอยา่ งหนง่ึ แตเ่ ป็ นขอ้ ความทเี่ นน้ ความ สมั พันธร์ ะหวา่ งเหตผุ ล มักแทน ความสมั พันธ์ ในรปู สมการ 5. สมมตุ ฐิ าน เป็ นคาอธบิ ายซง่ึ เป็ นคาตอบลว่ งหนา้ กอ่ นทจี่ ะ ดาเนนิ การทดลอง เพอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง เป็ นจรงิ ในเรอื่ ง นัน้ ๆ

6. ทฤษฎี คอื ความรทู ้ เ่ี ป็ นหลักการกวา้ งๆ ประโยชนข์ องวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรม์ ปี ระโยชนต์ อ่ มนุษย์ และมบี ทบาทสาคญั ตอ่ การพัฒนาประเทศ ผลของ การศกึ ษาคน้ ควา้ ทาง วทิ ยาศาสตร์ เกยี่ วโยงกับความเจรญิ ในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การแพทย์ การ สอ่ื สารคมนาคม การเกษตร การศกึ ษา การอตุ สาหกรรม การเมอื ง การเศรษฐกจิ 2. วทิ ยาศาสตรบ์ รสิ ทุ ธ์ิ (PURE SCIENCE) 1. วทิ ยาศาสตรบ์ รสิ ทุ ธิ์ (Pure Science) วทิ ยาศาสตรบ์ รสิ ทุ ธ์ิ คอื ความรพู ้ น้ื ฐาน ไดแ้ ก่ ขอ้ เท็จจรงิ ความคดิ รวบยอด หลักการ กฎ และทฤษฎตี า่ งๆ ทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่ ฟิสกิ ส์ เคมี ชวี วทิ ยา และคณติ ศาสตร์ เป็ น ตน้ นักวทิ ยาศาสตรท์ ที่ าการคน้ ควา้ หาความรเู ้ หลา่ นี้ เราเรยี กวา่ นักวทิ ยาศาสตร์ บรสิ ทุ ธ์ิ (Pure Scientist) เชน่ เซอร์ ไอแซค นวิ ตัน, ไมเคลิ ฟาราเดย์ ภาพ เซอร์ ไอแซค นวิ ตัน ภาพ ไมเคลิ ฟาราเดย์ ผคู ้ น้ พบกฎแรงโนม้ ถว่ ง ผคู ้ น้ พบอานาจของ สนามแมเ่ หล็ก 3. วทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ตห์ รอื เทคโนโลยี (APPLIED SCIENCE OR TECHNOLOGY) 2. วทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ตห์ รอื เทคโนโลยี (Applied Science or Technology) วทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ตห์ รอื เทคโนโลยี คอื ความรทู ้ มี่ งุ่ นาไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ การดารงชวี ติ ในสงั คม โดยนาความรขู ้ นั้ พนื้ ฐานหรอื วทิ ยาศาสตรบ์ รสิ ทุ ธไิ์ ปคดิ สงิ่ ประดษิ ฐ์ ตา่ งๆ นักวทิ ยาศาสตรผ์ คู ้ ดิ ประดษิ ฐส์ งิ่ ตา่ งๆ เราเรยี กวา่ นักวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ (Applied Scientist) เชน่ ทอมสั อลั วา เอดสิ นั , ไมเคลิ ฟาราเดย์

ภาพ ทอมสั อลั วา เอดสิ นั ภาพ ไมเคลิ ฟาราเดย์ ผปู ้ ระดษิ ฐเ์ ครอื่ งกาเนดิ ผปู ้ ระดษิ ฐห์ ลอดไฟฟ้า เครอื่ งเลน่ จานเสยี ง ไฟฟ้า (ไดนาโม) 4. ลกั ษณะของนกั วิทยาศาสตร์ ลกั ษณะสาคญั ทางวิทยาศาสตร์ คอื ความรูต้ า่ งๆ ทนี่ กั วิทยาศาสตรค์ น้ พบนนั้ สามารถเปลย่ี นแปลงได้ เม่ือมหี ลกั ฐาน และขอ้ มลู เพิ่มเตมิ เนื่องจากความเจรญิ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทาใหน้ กั วทิ ยาศาสตรม์ เี ครอ่ื งมอื และวิธีการ ทนั สมยั ในการคน้ ควา้ และศกึ ษาจนไดข้ อ้ มลู ใหมซ่ ึ่งเป็นท่ียอมรบั มากขนึ้ กวา่ เดมิ การดารงชีวติ ของมนษุ ยใ์ นทกุ วนั นไี้ ดร้ บั ความสะดวกสบายตา่ งๆ มากมาย เชน่ ไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปหาเพือ่ นไกลๆ เพ่ือ ถามขา่ วคราวจากเพือ่ น เพียงใชโ้ ทรศพั ทห์ รอื อินเทอรเ์ น็ตก็สามารถตดิ ตอ่ กบั เพือ่ นได้ นอกจากนยี้ งั มเี ครอื่ งอานวยความ สะดวกอืน่ ๆ ทงั้ ในบา้ นและนอกบา้ น เช่น ตเู้ ย็น โทรทศั น์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ เครอื่ งบนิ ดาวเทียม นกั เรยี นคดิ วา่ สง่ิ อานวย ความสะดวกหรอื ความรูต้ า่ งๆ เหลา่ นี้ นกั วทิ ยาศาสตรค์ น้ พบมาไดอ้ ยา่ งไร และนกั วิทยาศาสตรม์ ลี กั ษณะนสิ ยั แตกตา่ งไป จากบคุ คลอาชีพอ่นื หรอื ไม่ อยา่ งไร ลกั ษณะของนักวทิ ยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1) เป็นคนชา่ งสงั เกต 2) เป็นคนชา่ งคดิ ชา่ งสงสยั 3) เป็นคนมีเหตมุ ีผล 4) เป็นคนมคี วามพยายามและอดทน 5) เป็นคนมีความคดิ รเิ รม่ิ 6) เป็นคนทางานอยา่ งมีระบบ

5. ชา่ งสงั เกต 1.4.1 การเป็ นคนช่างสังเกต การสงั เกต หมายถงึ การใชป้ ระสาทสมั ผสั อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ หรอื ประสาทสมั ผสั ทงั้ 5 คือ ตา หู จมกู ปาก และกาย เขา้ ไปสารวจวตั ถุ หรอื ปรากฏการณต์ า่ งๆ ในธรรมชาตหิ รอื จากการทดลอง โดยไมใ่ สห่ รอื เพิม่ ความคดิ เหน็ ของผสู้ งั เกตลง ไป เชน่ ในขณะจดุ เทียนไข เดก็ ชายธาวิต บนั ทกึ วา่ ผลการสงั เกตคือ “มแี ก๊สเกิดขนึ้ ” ขอ้ ความนจี้ ดั เป็นการสงั เกต แตถ่ า้ เขาบนั ทกึ วา่ “มีแก๊สเกิดขนึ้ และแก๊สนนั้ เป็นแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด”์ ขอ้ บนั ทกึ นไี้ มจ่ ดั เป็นการสงั เกต เพราะเดก็ ชายธา วิตเพม่ิ เตมิ ความรูเ้ รอื่ งแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ซง่ึ เป็นประสบการณเ์ ดิมหรอื ความคดิ เห็นลงไป ภาพ ประสาทสมั ผสั ทงั้ 5 (ตา หู จมูก ปาก กายสมั ผสั ) กาลเิ ลโอ มชี ื่อเตม็ วา่ กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอี (Galileo Galilei) เป็น นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวอิตาลี มชี ีวติ อยรู่ ะหวา่ ง พ.ศ. 2107–2185 ไดส้ งั เกตการแกวง่ ไป มาของโคมไฟในโบสถแ์ ละจบั เวลาในการแกวง่ แตล่ ะรอบ โดยเทยี บกบั การเตน้ ของชีพ จรของเขา เขาพบวา่ การแกวง่ ไปมาของโคมไฟแตล่ ะรอบใชเ้ วลาเทา่ กนั แมว้ า่ ชว่ งกวา้ ง ของการแกวง่ จะตา่ งกนั ตอ่ มาจงึ มผี นู้ าหลกั การนไี้ ปประดษิ ฐ์นาฬกิ าลกู ตมุ้ ขนึ้ ภาพ กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอี อารค์ ีมีดิส (Archemedes) คน้ พบวธิ ีพสิ จู นค์ วามบรสิ ทุ ธิ์ของมงกฎุ ทองคา จากการสงั เกตนา้ ท่ีลน้ ออกจากขณะที่เขากาลงั อาบนา้ ซงึ่ นาไปสู่ ความรูเ้ กย่ี วกบั ความหนาแนน่ ความถ่วงจาเพาะ การจมการลอยการหา ปรมิ าตรโดยการแทนทน่ี า้ ภาพ อารค์ ีมดี ิส

6. การเป็ นคนชา่ งคดิ ชา่ งสงสยั และการเป็ นคนมี เหตผุ ล 1.4.2 การเป็ นคนชา่ งคดิ ชา่ งสงสยั การเป็ นคนชา่ งสงสยั คอื เป็ นผพู ้ ยายามมองเห็นปัญหาจากการสงั เกตวา่ เกดิ อะไร ขน้ึ เพราะเหตใุ ดจงึ เป็ นเชน่ นัน้ เชน่ มอี ะไรเกดิ ขน้ึ ทาไมจงึ เกดิ ขน้ึ ได ้ และเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร ความสงสยั จะทาใหน้ ักวทิ ยาศาสตรพ์ ยายามศกึ ษาคน้ ควา้ หาเหตผุ ลดว้ ยกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ ทาใหไ้ ดค้ วามรใู ้ หมท่ างวทิ ยาศาสตร์ เซอร์ ไอแซก นวิ ตนั (Sir Isaac Newton) เป็ นนักวทิ ยาศาสตรผ์ มู ้ ชี อื่ เสยี งคนหนง่ึ ขององั กฤษ มชี วี ติ อยรู่ ะหวา่ ง พ.ศ. 2185 – 2270 นวิ ตนั คน้ พบความรทู ้ างวทิ ยาศาสตร์ มากมาย เชน่ ทฤษฎเี กยี่ วกับการหักเหของ แสง กฎการเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุ กฎความโนม้ ถว่ ง ครัง้ หนงึ่ นวิ ตันนั่งอยใู่ ตต้ น้ แอปเปิ้ล เขา เห็นลกู แอปเปิ้ลตกลงสพู่ นื้ ดนิ นวิ ตันเกดิ ความ สงสยั วา่ เมอื่ แอปเป้ิลหลดุ จากตน้ ทาไมจงึ ตกลงสู่ พนื้ ไมล่ อ่ งลอยไปในอากาศ ความสงสยั ดังกลา่ ว ทาให ้ นวิ ตันศกึ ษาคน้ ควา้ หาเหตผุ ลและเขา้ ใจ ภาพ เซอร์ ไอแซก นวิ ตัน วา่ แอปเปิ้ลตกลงสพู่ นื้ ดว้ ยแรงดงึ ดดู ของโลก และตอ่ มาไดส้ รปุ เป็ นกฎแรงดงึ ดดู ซง่ึ ใชเ้ ป็ นกฎ สากล เรยี กวา่ “กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของ นวิ ตัน” เซอร์ อเลกซานเดอร์ เฟลม มงิ่ สงสยั วา่ ทาไมแบคทเี รยี ทม่ี เี ชอ้ื ราขน้ึ อยู่ ใกลๆ้ จงึ ตายหมด ซงึ่ นาไปสกู่ ารคน้ พบ ยาเพนนซิ ลิ นิ 1.4.3 การเป็ นคนมเี หตผุ ล ภาพ เซอร์ อเลกซานเดอร์ เฟ ลมมงิ่ คนมเี หตผุ ล คอื ผทู ้ เ่ี ชอื่ วา่ เมอื่ มผี ลหรอื สง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ เกดิ ขนึ้ ยอ่ มตอ้ งมสี าเหตทุ ท่ี าให ้ เกดิ นักวทิ ยาศาสตรม์ วี ธิ คี น้ ควา้ หาความรอู ้ ยา่ งมเี หตผุ ล โดยใชว้ ธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์

7. การเป็ นคนมคี วามพยายามและความอดทน 1.4.4 การเป็ นคนมคี วามพยายามและความอดทน ความพยายามและความอดทน เป็ นลักษณะสาคัญอกี ประการหนงึ่ ของ นักวทิ ยาศาสตร์ คอื ความเป็ นผมู ้ จี ติ ใจแน่วแน่ ไมท่ อ้ ถอย แมว้ า่ จะใชเ้ วลานานเพยี งใดก็ตามก็ ยงั คงคดิ ศกึ ษาอยจู่ นพบความสาเร็จ ตวั อยา่ งนักวทิ ยาศาสตรท์ มี่ คี วามพยายามและความอดทน แลว้ ทาใหไ้ ดค้ น้ พบความรตู ้ า่ งๆ ทเ่ี ป็ นประโยชนต์ อ่ โลก คอื 1) ทอมสั อัลวา เอดสิ นั 2) มารี กู รี 3) เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซมั เนอร์ เป็ นตน้ ทอมสั แอลวา เอดสิ นั (Thomas Alva Edison) เป็ นนักวทิ ยาศาสตรท์ ยี่ ง่ิ ใหญข่ องโลกผหู ้ นงึ่ ซงึ่ เป็ นผู ้ ประดษิ ฐ์ หลอดไฟฟ้าทที่ าใหท้ ั่วโลกสวา่ งไสวในยามคา่ คนื ภาพ ทอมัส แอลวา เอดิ สนั ในการประดษิ ฐห์ ลอดไฟฟ้านัน้ เขาไดน้ า วสั ดเุ กอื บ ทกุ อยา่ งทพี่ บเห็นมาทดลองทาไสห้ ลอดไฟฟ้า เขา คร่าเครง่ ทดลองครัง้ แลว้ ครัง้ เลา่ โดยไมท่ อ้ ถอยเป็ นเวลานานถงึ ปี กวา่ จงึ ประสบความสาเร็จ มารี กรู ี (Marie Curie) เป็ นนักวทิ ยาศาสตรท์ สี่ าคญั ภาพ มารี กรู ี อกี คนหนงึ่ ไดค้ น้ พบธาตเุ รเดยี มซง่ึ เป็ นธาตทุ ใ่ี หก้ มั มันตภาพรังสี โดยใชเ้ วลานานถงึ เกอื บ 4 ปีในการแยกธาตนุ ี้ ตอ่ มาธาตเุ รเดยี ม ไดถ้ กู นาไปใชอ้ ยา่ งกวา่ งขวางในการรักษาโรงบางชนดิ เชน่ มะเร็ง

เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซมั เนอร์ (James Batcheller Sumner) เป็ นนักวทิ ยาศาสตร์ ชาวอเมรกิ นั ดา้ นชวี เคมี ทสี่ ญู เสยี แขนซา้ ยทเี่ ขา ถนัดไป เนอ่ื งจากอบุ ตั เิ หตุ ในปี พ.ศ.2447 แตเ่ ขาก็ยังมี พยายาม และอดทนไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ ชะตาชวี ติ พยายาม ภาพ เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซมั คน้ ควา้ วจิ ัย เนอร์ ทางดา้ นชวี เคมตี อ่ ไป จนไดร้ ับรางวลั โนเบล สาขา เคมี รว่ มกบั นักวทิ ยาศาสตรอ์ กี 2 คน ใน พ.ศ. 2489 คนมเี หตผุ ล คอื ผทู ้ เี่ ชอื่ วา่ เมอื่ มผี ลหรอื สงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ เกดิ ขน้ึ ยอ่ มตอ้ งมสี าเหตทุ ท่ี าให ้ เกดิ นักวทิ ยาศาสตรม์ วี ธิ คี น้ ควา้ หาความรอู ้ ยา่ งมเี หตผุ ล โดยใชว้ ธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 1.4.4 การเป็ นคนมคี วามพยายามและความอดทน ความพยายามและความอดทน เป็ นลักษณะสาคญั อกี ประการหนงึ่ ของ นักวทิ ยาศาสตร์ คอื ความเป็ นผมู ้ จี ติ ใจแน่วแน่ ไมท่ อ้ ถอย แมว้ า่ จะใชเ้ วลานานเพยี งใดก็ตามก็ ยังคงคดิ ศกึ ษาอยจู่ นพบความสาเร็จ ตวั อยา่ งนักวทิ ยาศาสตรท์ ม่ี คี วามพยายามและความอดทน แลว้ ทาใหไ้ ดค้ น้ พบความรตู ้ า่ งๆ ทเ่ี ป็ นประโยชนต์ อ่ โลก คอื 1) ทอมสั อัลวา เอดสิ นั 2) มารี กู รี 3) เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซมั เนอร์ เป็ นตน้ ทอมสั แอลวา เอดสิ นั (Thomas Alva Edison) เป็ นนักวทิ ยาศาสตรท์ ย่ี ง่ิ ใหญข่ องโลกผหู ้ นง่ึ ซงึ่ เป็ นผู ้ ประดษิ ฐ์ หลอดไฟฟ้าทท่ี าใหท้ ่ัวโลกสวา่ งไสวในยามคา่ คนื ภาพ ทอมัส แอลวา เอดิ สนั ในการประดษิ ฐห์ ลอดไฟฟ้านัน้ เขาไดน้ า วสั ดเุ กอื บ ทกุ อยา่ งทพ่ี บเห็นมาทดลองทาไสห้ ลอดไฟฟ้า เขา

คร่าเครง่ ทดลองครัง้ แลว้ ครัง้ เลา่ โดยไมท่ อ้ ถอยเป็ นเวลานานถงึ ปี กวา่ จงึ ประสบความสาเร็จ มารี กรู ี (Marie Curie) เป็ นนักวทิ ยาศาสตรท์ ส่ี าคัญ ภาพ มารี กรู ี อกี คนหนง่ึ ไดค้ น้ พบธาตเุ รเดยี มซง่ึ เป็ นธาตทุ ใ่ี หก้ ัมมนั ตภาพรังสี โดยใชเ้ วลานานถงึ เกอื บ 4 ปีในการแยกธาตนุ ี้ ตอ่ มาธาตเุ รเดยี ม ไดถ้ กู นาไปใชอ้ ยา่ งกวา่ งขวางในการรักษาโรงบางชนดิ เชน่ มะเร็ง เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซมั เนอร์ (James Batcheller Sumner) เป็ นนักวทิ ยาศาสตร์ ชาวอเมรกิ ัน ดา้ นชวี เคมี ทสี่ ญู เสยี แขนซา้ ยทเี่ ขา ถนัดไป เนอื่ งจากอบุ ตั เิ หตุ ในปี พ.ศ.2447 แตเ่ ขาก็ยงั มี พยายาม และอดทนไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ ชะตาชวี ติ พยายาม ภาพ เจมส์ แบตเชลเลอร์ ซมั คน้ ควา้ วจิ ัย เนอร์ ทางดา้ นชวี เคมตี อ่ ไป จนไดร้ ับรางวลั โนเบล สาขา เคมี รว่ มกับนักวทิ ยาศาสตรอ์ กี 2 คน ใน พ.ศ. 2489 8. การเป็ นคนมคี วามพยายามและความอดทน 1.4.5 การเป็ นคนมคี วามพยายามและความอดทน คนทมี่ คี วามคดิ รเิ รม่ิ หมายถงึ ผทู ้ ม่ี คี วามกลา้ ทจ่ี ะคดิ และทาสง่ิ ทผี่ ดิ แปลกไปจาก ทผี่ อู ้ นื่ คดิ หรอื ทาอยแู่ ลว้ โดยเป็ นสง่ิ ทท่ี าใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสว่ นรวม ลักษณะการ เป็ นผมู ้ คี วามคดิ รเิ รมิ่ เป็ นลกั ษณะสาคัญของนักวทิ ยาศาสตร์ เพราะจะทาใหค้ น้ พบและประดษิ ฐ์ สงิ่ ใหมๆ่ อยตู่ ลอดเวลา

ตัวอยา่ งเชน่ เครอื่ งบนิ ทใี่ ชป้ ระโยชนอ์ ยทู่ กุ วนั นน้ี ัน้ ผลจากความคดิ รเิ รม่ิ ของบคุ คล ตอ่ ไปนี้ โรเจอร์ เบคอน (Roger Bacon) นักวทิ ยาศาสตรช์ าวอังกฤษ มคี วามคดิ ฝันวา่ มนุษย์ นัน้ สามารถทจ่ี ะบนิ ไดเ้ หมอื นนก ถา้ ตดิ ปีกทม่ี รี ปู รา่ ง ลักษณะคลา้ ยปีกนก และกระพอื ปีกไดแ้ บบ เดยี วกบั นก ตอ่ มา ลโี อนาโด ดาวนิ ซี (Leonardo da Vince) ไดน้ าความคดิ นไ้ี ปวาดเป็ นภาพ จาลองแบบตา่ งๆ ของสงิ่ ทจี่ ะชว่ ยใหค้ นบนิ ได ้ แตก่ ็ยังไมม่ กี ารสรา้ งขน้ึ มา จนกระท่ัง เซอร์ ยอรจ์ เคยล์ ยี ์ ไดบ้ กุ เบกิ สรา้ งเครอ่ื งรอ่ น ภาพวาดของลโี อนาโด ดาวนิ ซี ภาพ เครอื่ งรอ่ น จนถงึ สมยั ของ วลิ เบอรแ์ ละออรว์ ลิ ไรต์ (Wilbur and Oriville Wright) ซง่ึ มคี วาม สนใจในเรอ่ื งของการบนิ จงึ ศกึ ษาขอ้ มลู เกยี่ วกบั การรอ่ นและการบนิ และไดท้ ดลองสรา้ งเครอ่ื ง รอ่ นพรอ้ มทัง้ ปรับปรงุ ใหด้ ขี นึ้ จนกลายเป็ นเครอ่ื งบนิ หลงั จากนัน้ ไดม้ ผี พู ้ ัฒนาเครอ่ื งบนิ มาโดย ตลอดจนไดเ้ ครอ่ื งบนิ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมาก ดังเชน่ เครอื่ งบนิ ไอพน่ ในปัจจบุ ัน ภาพ วลิ เบอร์ และ ออรว์ ลิ ไรต์ 9. การเป็ นคนทางานอยา่ งมรี ะบบ 1.4.6 การเป็ นคนทางานอยา่ งมรี ะบบ คนทางานอยา่ งมรี ะบบ คอื บคุ คลทท่ี างานอยา่ งมขี นั้ ตอนหรอื มรี ะบบการทางาน เพอ่ื คน้ ควา้ หาความรู ้ หรอื เพอ่ื แกป้ ัญหาตา่ งๆ เรยี กขนั้ ตอนของการทางานวา่ วธิ กี ารทาง

วทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ มขี นั้ ตอนดังน้ี 1) ระบปุ ัญหา 2) ตงั้ สมมตุ ฐิ าน 3) ทดลอง 4) สรปุ ผล ภาพขนั้ ตอนของวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 10. ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ักั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skill) เป็ นความสามารถใน การใช ้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ เป็ นเครอื่ งมอื แสวงหาคาตอบของปัญหา แบง่ ออกเป็ น 2 ประเภท คอื ทกั ษะขนั้ พน้ื ฐาน 8 ทักษะ และทักษะขนั้ บรู ณาการ 5 ทักษะ รวมเป็ น 13 ทักษะ ดงั นี้ 1.3.1 ทักษะการสงั เกต (Observation) ทักษะการสงั เกต เป็ นความสามารถในการใช ้ ประสาทสมั ผัสทัง้ 5 อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรอื หลายอยา่ งรวมกัน ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ลน้ิ และผวิ กาย เขา้ ไปสมั ผสั โดยตรงกบั วตั ถหุ รอื เหตกุ ารณท์ ่ี เกดิ ขน้ึ เพอื่ ใหไ้ ดม้ าซงึ่ ขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งตาม ความเป็ นจรงิ เหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยไมไ่ ดใ้ ชป้ ระสาทสมั ผัสไมถ่ อื วา่ เป็ นการใชท้ ักษะการ สงั เกต เชน่ ลมพัด เมฆครมึ้ ฝนตกแน่ ๆ และไมม่ กี ารใสค่ วามคดิ เห็นของ ผสู ้ งั เกตลงไปดว้ ย ทักษะการสงั เกตมี 4 ประเภท ดังนี้ 1.3.1.1 การสงั เกตเชงิ คณุ ลกั ษณะ การสงั เกตเชงิ คณุ ลกั ษณะ เป็ นการสงั เกตทบี่ อก ลักษณะ รปู รา่ ง เชน่ ใหญ่ เล็ก หรอื บอกคณุ สมบตั เิ ฉพาะตวั เชน่ บอกสี กลนิ่ รส เสยี ง และความรสู ้ กึ ตอ่ กายสมั ผสั โดยไมบ่ อกปรมิ าณ 1.3.1.2 การสงั เกตเชงิ ปรมิ าณ การสงั เกตเชงิ ปรมิ าณ เป็ นการบอกรายละเอยี ด เกยี่ วกบั ปรมิ าณ ตา่ ง ๆ เป็ นตวั เลข และมหี น่วยกากับ เชน่ ความยาว สว่ นสงู น้าหนัก 1.3.1.3 การสงั เกตเชงิ เปรยี บเทยี บ การสงั เกตเชงิ เปรยี บเทยี บ เป็ นการสงั เกตสงิ่ หนงึ่ เปรยี บเทยี บกับอกี สงิ่ หนง่ึ ซงึ่ อาจระบเุ ป็ นตวั เลขหรอื ไมเ่ ป็ นตวั เลขก็ได ้ เชน่ แตงโม 1 ผล มี มวล ประมาณ 2.5 กโิ ลกรมั ฝรั่ง 4 ผล มมี วลประมาณ 2.3 กโิ ลกรัม 1.3.1.4 การสงั เกตเชงิ การเปลยี่ นแปลง การสงั เกตเชงิ การเปลยี่ นแปลง เป็ นการ สงั เกตสงิ่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ เมอ่ื เวลาผา่ นไป เชน่ ปลาดกุ กอ่ นยา่ ง มลี ักษณะแตกตา่ งจาก ปลา ดกุ หลงั ยา่ ง 11. ทกั ษะการวดั (MEASUREMENT) 1.3.2 ทักษะการวดั (Measurement) ทักษะการวดั เป็ นความสามารถในการเลอื กเครอื่ งมอื ที่ เหมาะสมกบั งานและใช ้ เครอ่ื งมอื ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แน่นอน แมน่ ยา โดยวดั ออกมาเป็ นตัวเลข มี หน่วยตามระบบ เอสไอ ก ากบั เหมาะสมกบั สง่ิ ทวี่ ดั และนาไปแสดงผลหรอื วเิ คราะหข์ อ้ มลู ได ้ กระบวนการวดั ขนึ้ อยกู่ ับสงิ่ สาคัญ ดังนี้ 1.3.2.1 ผวู ้ ดั ผวู ้ ดั จะตอ้ งมคี วามรคู ้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั

ปรมิ าณทตี่ อ้ งการวดั รจู ้ ัก เลอื กเครอื่ งมอื ใหเ้ หมาะสมกบั งาน สภาพรา่ งกายของผวู ้ ดั ตอ้ งอยใู่ น สภาพปกติ ไมง่ ว่ งนอน ไมม่ ปี ัญหา ทางสายตา มอื ไมส่ นั่ และมคี วามละเอยี ดรอบคอบไม่ ประมาทหรอื มกั งา่ ย 1.3.2.2 เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชว้ ดั เครอื่ งมอื ทใี่ ชว้ ดั ควรอยใู่ นสภาพทใ่ี ชง้ านได ้ ตามปกตไิ มม่ ี สว่ นหนง่ึ สว่ นใดชารดุ และไมเ่ กา่ จนเกนิ ไป ผวู ้ ดั ควรตรวจเครอื่ งมอื กอ่ นและหลัง ใชง้ านเสมอเพอ่ื ยนื ยนั วา่ เครอื่ งมอื อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน 1.3.2.3 สง่ิ แวดลอ้ มขณะวดั ซง่ึ อาจ มผี ลตอ่ การวดั ได ้ เชน่ ความชนื้ ของอากาศ อณุ หภมู ทิ สี่ งู หรอื ตา่ เกนิ ไป การสนั่ สะเทอื น เสยี งที่ รบกวนสมาธขิ องผวู ้ ดั ระดับความสงู ตา่ ของพนื้ ท่ี เป็ นตน้ สง่ิ ทกี่ ลา่ วมานม้ี สี ว่ นทาใหเ้ กดิ ความ คลาดเคลอ่ื นตอ่ การวดั ได ้ 12. ทกั ษะการคานวณ (USING NUMBER) 1.3.4 ทักษะการคานวณ (Using Number) ทักษะการค านวณ เป็ นความสามารถในการน าตวั เลขทไี่ ดจ้ ากการวดั การทดลอง การสงั เกต มาค านวณไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แสดงใหเ้ ห็นวธิ กี ารค านวณ การใชส้ ตู รอา้ งองิ เป็ นขนั้ ตอนได ้ อยา่ งแมน่ ยา โดยน ามา บวก ลบ คณู หาร หาคา่ เฉลย่ี เพอื่ ทจี่ ะแสดงคา่ ปรมิ าณของสงิ่ หนงึ่ สงิ่ ใด และ สอื่ ความหมายตรงตามตอ้ งการ เชน่ ไมอ้ ดั แผน่ หนงึ่ มขี นาดความกวา้ ง 120 cm ความยาว 240 cm นามาแบง่ ตัดเป็ นไมอ้ ดั แผน่ เล็ก รปู สเ่ี หลยี่ มผนื ผา้ มคี วามกวา้ ง 24 cm ความยาว 48 cm จะไดไ้ มอ้ ดั แผน่ เล็กกแ่ี ผน่ วธิ ที า พน้ื ทข่ี องไมอ้ ัดกอ่ นตดั แผน่ ใหญ่ = 120 x 240 cm 2 พน้ื ทขี่ องไมอ้ ดั หลังตดั แผน่ เล็ก = 24 x 48 cm 2 จานวนไมอ้ ัดทตี่ ัดแบง่ ได ้ = พน้ื ทไ่ี มอ้ ัด หลังตดั แผน่ ใหญ๋่ พน้ื ทไี่ มอ้ ัด หลงั ตัดแผน่ เล็ก = 120 x 240 24 x 48 = 25 ตอบ จานวนไมอ้ ัดทตี่ ัดแบง่ ได ้ = 25 แผน่ 13. ทกั ษะการหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปส และสเปสกบั เวลา (SPACE/SPACE RELATIONSHIP AND SPACE TIME RELATIONSHIP) 1.3.5 ทักษะการหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสและสเปสกบั เวลา (Space/Space Relationship and Space Time Relationship) ทักษะการหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปส

และสเปสกบั เวลา แบง่ ไดเ้ ป็ น 1.3.5.1 ความสามารถในการหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเปส กบั สเปสของวตั ถุ หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงมติ ขิ องวตั ถจุ ากมติ หิ นง่ึ เปลย่ี นเป็ นอกี มติ หิ นง่ึ เชน่ การเปลยี่ นจาก 2 มติ ิ เปลยี่ นเป็ น 3 มติ ิ 14. ทกั ษะการจดั กระทาและสอื่ ความหมายขอ้ มลู 1.3.6 ทักษะการจดั กระทาและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู ทักษะการจดั กระทาและสอ่ื ความหมาย ขอ้ มลู หมายถงึ การนาขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการ สงั เกต การวดั การทดลอง และจากแหลง่ อนื่ ๆ มา จัดกระทาใหม่ โดยการหาความถเ่ี รยี งลาดับ จัดแยก ประเภท หรอื ค านวณหาคา่ ใหมเ่ พอ่ื ให ้ ผอู ้ น่ื เขา้ ใจความหมายของขอ้ มลู นัน้ ดขี นึ้ โดยอาจเสนอในรปู ของตาราง แผนภมู ิ แผนภาพ สมการ ไดอะแกรม วงจร หรอื กราฟ ตัวอยา่ งเชน่ หากตอ้ งการจะ อธบิ ายเกยี่ วกับชว่ งชวี ติ ของ ยงุ ลาย ตงั้ แตเ่ กดิ จนตาย ถา้ จะเขยี นบรรยายเป็ นขอ้ ความอาจทาใหเ้ ขา้ ใจ ยาก จงึ ตอ้ งจดั กระทากับขอ้ มลู ใหมเ่ พอื่ สอี่ ความหมายใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยขนึ้ ในรปู ของวงชวี ติ 15. ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู (INFERRING) ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู (Inferring) ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู เป็ น ความสามารถในการอธบิ ายขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ า และเพมิ่ ความคดิ เห็นใหก้ ับขอ้ มลู อยา่ งมเี หตมุ ผี ลโดย อาศยั ความรหู ้ รอื ประสบการณ์เดมิ ทมี่ อี ยมู่ าชว่ ย เชน่ จากขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้ ตารางท่ี 4.2 การทดสอบการคดั ขนาดลาไย ครงั้ ที่ CB A AA ครง้ั ที่ 1 10 ครง้ั ที่ 2 10 10 10 10 ครงั้ ท่ี 3 10 ครงั้ ท่ี 4 9 10 10 10 ครง้ั ที่ 5 10 ครง้ั ท่ี 6 10 10 10 10 ครงั้ ท่ี 7 10 ครง้ั ท่ี 8 10 10 10 10 ครงั้ ที่ 9 10 ครง้ั ที่ 10 10 10 10 10 รอ้ ยละ 10 10 10 100 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 90 100 100 ประสทิ ธภิ าพการทางาน เทา่ กบั 97.5 จากตารางบนั ทกึ ผลพบวา่ ประสทิ ธภิ าพในการคดั ขนาดลาไยของเครอื่ งคัดขนาดลาไยประหยัด พลงั งาน ไดผ้ ลดงั น้ี 1. เครอื่ งเด็ดและคดั ขนาดลาไยประหยัดพลงั งาน มปี ระสทิ ธภิ าพในการคัดขนาดลาไย เกรด C

จากการทดลองทัง้ หมด 10 ลกู จานวน 10 ครัง้ โดยมจี านวน 9 ครัง้ ทล่ี าไยลงครบทกุ ลกู ซง่ึ มี ความแมน่ ยาในการคดั ขนาดลาไย รอ้ ยละ 90 2. เครอ่ื งเด็ดและคดั ขนาดลาไยประหยัดพลังงาน มปี ระสทิ ธภิ าพในการคัดขนาดลาไยเกรด B จากการทดลองทัง้ หมด 10 ลกู จานวน 10 ครัง้ โดยมจี านวน 10 ครัง้ ทลี่ าไยลงครบทกุ ลกู ซง่ึ มี ความแมน่ ยาในการคัดขนาดลาไย รอ้ ยละ 100 3. เครอื่ งเด็ดและคดั ขนาดลาไยประหยดั พลงั งาน มปี ระสทิ ธภิ าพในการคดั ขนาดลาไย เกรด A จากการทดลองทัง้ หมด 10 ลกู จานวน 10 ครัง้ โดยมจี านวน 10 ครัง้ ทล่ี าไยลงครบทกุ ลกู ซง่ึ มี ความแมน่ ยาในการคดั ขนาดลาไยรอ้ ยละ 100 4. เครอื่ งเด็ดและคดั ขนาดลาไยประหยดั พลังงาน มปี ระสทิ ธภิ าพในการคัดขนาดลาไย เกรด AA จากการทดลองทัง้ หมด 10 ลกู จานวนครัง้ 10 โดยมจี านวน 10 ครัง้ ทล่ี าไยลงครบทกุ ลกู ซง่ึ มี ความแมน่ ยาในการคดั ขนาดลาไยรอ้ ยละ 100 16.ดงั นน้ั ประสทิ ธภิ าพการทา ทกั ษะการพยากรณ์ (PREDICTION) และ ทกั ษะการตงั้ สมมตฐิ าน ทักษะการพยากรณ์ (Prediction) ทักษะการพยากรณ์ หมายถงึ การคาดคะเนคาตอบหรอื สงิ่ ที่ จะเกดิ ลว่ งหนา้ โดย อาศัยขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตหรอื ขอ้ มลู จากประสบการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ซ้า ๆ หลักการ กฎ หรอื ทฤษฎที มี่ ี อยแู่ ลว้ ในเรอื่ งนัน้ ๆ มาชว่ ย การท านายทแี่ มน่ ยาเป็ นผลจากการ สงั เกตทรี่ อบคอบ การวดั ทถี่ กู ตอ้ ง การบันทกึ และการจัดกระทากับขอ้ มลู อยา่ งเหมาะสม การ พยากรณเ์ กย่ี วกับตวั เลข ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู ทเี่ ป็ นตารางหรอื กราฟ ทาได ้ 2 แบบ คอื การพยากรณ์ ภายในขอบเขตของขอ้ มลู ทม่ี อี ยู่ (Interpolating) และการพยากรณ์ภายนอกขอบเขต ขอ้ มลู ทม่ี ี อยู่ (Extrapolating) ตัวอยา่ ง การพยากรณ์ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วกบั ตวั เลข โดยใชข้ อ้ มลู การเคลอ่ื นท่ี แบบเสน้ ตรงของวตั ถดุ ว้ ยความเร็วคงท่ี 1.3.9 ทักษะการตงั้ สมมตฐิ าน (Formulation Hypothesis) ทักษะการตงั้ สมมตฐิ าน เป็ น ความสามารถในการคาดเดา คดิ หาคาตอบลว่ งหนา้ โดยอาศัยขอ้ มลู ความรู ้ หรอื ประสบการณ์ เดมิ เป็ นพนื้ ฐาน ค าตอบทค่ี ดิ ลว่ งหนา้ นเ้ี ป็ นเรอ่ื งทย่ี ังไม่ ทราบ หรอื ยงั ไมเ่ ป็ นหลักการมากอ่ น ซงึ่ สมมตฐิ านมักกลา่ วเป็ นหลักการในลกั ษณะทบี่ อก ความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปรตน้ หรอื ตวั แปร อสิ ระกบั ตวั แปรตาม สมมตฐิ านทตี่ งั้ ไวอ้ าจถกู หรอื ผดิ ก็ได ้ โดยจะทราบไดภ้ ายหลงั การทดลอง 17. ทกั ษะการกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (DEFINING OPERATIONALLY) 1.3.10 ทกั ษะการกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Defining Operationally) ทกั ษะการ กาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร หมายถงึ การกาหนดความหมายและ ขอบเขต หรอื ใหค้ า จากดั ความของคาตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการทดลองเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตรงกนั ถงึ สงิ่ ที่ จะ

ทาการทดลอง ซง่ึ สามารถทาการทดสอบได้ เชน่ ตอ้ งการศกึ ษาเปรยี บเทยี บความ แข็งแรงของ อฐิ มอญทมี่ สี ว่ นผสมของขเ้ี ลอ่ื ย และความแข็งแรงของอฐิ มอญทม่ี ี สว่ นผสมของแกลบ จะตดั สนิ วา่ อฐิ มอญดงั กลา่ วมคี วามแข็งแรงมากนอ้ ยตา่ งกนั เพยี งใด อาจนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารความแข็งแรงไดว้ า่ เมอื่ นาอญิ มอญทมี่ สี ว่ นผสมของข้ี เลอ่ื ยและอฐิ มอญทมี่ สี ว่ นผสมของแกลบทม่ี ขี นาดเทา่ กนั คอื กวา้ ง 4 นวิ้ ยาว 6 นวิ้ และ หนา 3 นว้ิ สามารถเปรยี บเทยี บความแข็งแรงโดยนากอ้ นวตั ถไุ ปกดทบั สามารถ ระบุ ความแข็งแรงได้ 3 ระดบั ดงั น้ี มคี วามแข็งแรงนอ้ ย หมายถงึ เมอื่ นาอฐิ มอญวางบน เครอ่ื งอดั ทมี่ กี อ้ นวตั ถมุ วลนอ้ ยกวา่ 2 กโิ ลกรมั กดทบั แลว้ อฐิ มอญนน้ั ไมแ่ ตกรา้ ว แตถ่ า้ กอ้ นวตั ถมุ วลตง้ั แต่ 2 กโิ ลกรมั ขนึ้ ไปกดทบั จะทาให้ อฐิ มอญนน้ั แตกรา้ ว (นากอ้ นวตั ถุ มวลมากกวา่ 2 กโิ ลกรมั ขนึ้ ไปกดทบั จะทาใหอ้ ฐิ มอญนน้ั แตกรา้ ว) มคี วามแข็งแรงปาน กลาง หมายถงึ เมอ่ื นาอฐิ มอญวางบนเครอ่ื งอดั ทมี่ กี อ้ นวตั ถุ มวลตง้ั แต่ 2 กโิ ลกรมั ถงึ 5 กโิ ลกรมั กดทบั แลว้ อฐิ มอญนน้ั ไมแ่ ตกหรอื รา้ ว แตถ่ า้ มากกวา่ 5 กโิ ลกรมั อฐิ มอญจะ แตกรา้ ว (นากอ้ นวตั ถมุ วลมากกวา่ 5 กโิ ลกรมั ขน้ึ ไปกดทบั จะทาใหอ้ ฐิ มอญนนั้ แตกรา้ ว) มคี วามแข็งแรงมาก หมายถงึ เมอื่ นาอฐิ มอญวางบนเครอื่ งอดั ทมี่ กี อ้ นวตั ถมุ วล ตง้ั แต่ 5 กโิ ลกรมั ขนึ้ ไปกดทบั แลว้ อฐิ มอญนนั้ ไมแ่ ตกรา้ ว (นากอ้ นวตั ถมุ วลมากกวา่ 5 กโิ ลกรมั ขน้ึ ไป กดทบั จะทาใหอ้ ฐิ มอญนน้ั ไมแ่ ตกรา้ ว) เป็ นตน้ 18. ทกั ษะการกาหนดและควบคมุ ตวั แปร (IDENTIFYING AND CONTROLLING VARIABLES) 1.3.11 ทักษะการก าหนดและควบคมุ ตวั แปร เป็ นการบง่ ชต้ี วั แปรตน้ ตัวแปรตาม และ ตวั แปรท่ี ตอ้ งควบคมุ ในการทดลอง หรอื สมมตฐิ านหนง่ึ ๆ ตัวแปรตน้ คอื สงิ่ ทเี่ ป็ นสาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ ผลตา่ ง ๆ หรอื เป็ นตวั แปรทตี่ อ้ งการ ศกึ ษาวา่ เป็ นสาเหตทุ กี่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลเชน่ นัน้ จรงิ หรอื ไม่ ตัว แปรตาม คอื สง่ิ ทเี่ ป็ นผลเนอื่ งมาจากตัวแปรตน้ เมอื่ ตวั แปรตน้ เปลย่ี นไป จะมี ผลใหต้ วั แปรตาม เปลยี่ นไปดว้ ย ตัวแปรควบคมุ คอื สง่ิ อนื่ ๆ ทน่ี อกเหนอื จากตวั แปรตน้ ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ตวั แปร ตาม จงึ ตอ้ งควบคมุ มฉิ ะนัน้ จะท าใหผ้ ลของการทดลองคลาดเคลอื่ นไป 19. ทกั ษะการทดลองและทกั ษะการตคี วามหมาย ขอ้ มลู และการลงขอ้ สรปุ 1.3.12 ทักษะการทดลอง (Experimenting) ทักษะการทดลอง เป็ นกระบวนการคน้ หาคาตอบ จากสมมตฐิ านทตี่ งั้ ไว ้ ในการ ทดลองประกอบดว้ ยกจิ กรรมหลัก 3 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 1) การ ออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองกอ่ นการทดลองจรงิ เพอ่ื กาหนดวธิ กี าร ทดลอง วสั ดุ อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการทดลอง รวมทัง้ การกาหนดตวั แปรตา่ ง ๆ ให ้ สอดคลอ้ งกบั การ ทดลอง 2) การปฏบิ ตั กิ ารทดลอง หมายถงึ การลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารทดลองจรงิ ๆ และใช ้ อปุ กรณ์ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3) การบันทกึ ผลการทดลอง หมายถงึ การจดบนั ทกึ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการ ทดลองซง่ึ อาจเป็ นผลมาจากการสงั เกต การวดั เป็ นตน้ 1.3.13 ทักษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และการลงขอ้ สรปุ (Interpreting Deta and Making Conclusion) ทักษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และการลงขอ้ สรปุ เป็ นความสามารถในการแปล ความหมาย หรอื การบรรยายลักษณะและสมบัตขิ องขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่ การตคี วามหมายขอ้ มลู จาเป็ น อาจ ตอ้ งใชท้ ักษะดา้ นอนื่ ๆ ชว่ ย เชน่ ทักษะการสงั เกต ทักษะการคานวณ เป็ นตน้ การลง ขอ้ สรปุ เป็ นการ บอกความสมั พันธข์ องขอ้ มลู ทัง้ หมด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook